ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 21

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 21

ชุดข้อมูลนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 (พ.ศ.2001-2100) โดยอักษรที่พบในช่วงนี้ได้แก่ อักษรไทยสุโขทัย อักษรขอมสุโขทัย อักษรไทยน้อย อักษรธรรมอีสาน อักษรธรรมล้านนา อักษรฝักขาม อักษรมอญโบราณ อักษรจีน และอักษรสิงหล สำหรับอักษรที่พบมากที่สุดในช่วงนี้ คือ อักษรฝักขาม

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2564 01:10:16 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2565 18:13:22 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกเจ้าเหนือหัวหมื่นพระญาสองแคว

ฝักขาม

พ.ศ. 2017 เจ้าสองแควเก่า ผู้ซึ่งพระเจ้าติโลกราชยกขึ้นเป็นลูก และให้เป็นเจ้าสี่หมื่นกินเมืองพะเยา มาสร้างบ้านพองเต่าให้เป็นที่อยู่

จารึกเจ้าเหนือหัวหมื่นพระญาสองแคว, ลพ. 24, ลพ./24, พช. 36, 333, ลพ. 24, ลพ./24, พช. 36, 333, จารึกพระยาสองแคว, หลักที่ 302 จารึกพระยาสองแคว, หลักที่ 302 จารึกพระยาสองแคว, พ.ศ. 2017, พุทธศักราช 2017, พ.ศ. 2017, พุทธศักราช 2017, จ.ศ. 826, จุลศักราช 826, จ.ศ. 826, จุลศักราช 826, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, อำเภอแม่ริม, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเหนือหรัว, เจ้าเหนือหัว, เจ้าสี่หมื่น, พระยาสองแควเก่า, พระเป็นเจ้า, เจ้ากินเมือง, เจ้าครองเมือง, เจ้าหมื่น, ช่างปู, พระยาสองแควยุธิษฐิระ, เจ้าเมืองพะเยา, พระยายุธิษฐิระ, พระเจ้าติโลกราช, เงินลาย, เมืองพะเยา, บ้านพองเต่า, พุทธศาสนา, สังฆาราม, อาราม, ปีมะเมีย, ปีกาบสง้า, ปีกาบซง้า, เดือนสราวัณ, เดือนเก้า, ออกเก้า, วันศุกร์, วันเต่าสี, ฤกษ์, วิสาขะ, วิศาขะ, ยามแตรเมื่อค่ำ, สาวนะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2017, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, เรื่อง-ผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-เจ้าสองแคว, บุคคล-พระเจ้าติโลกราช, บุคคล-เจ้าสี่หมื่น, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2017

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2009?lang=th

2

จารึกเจ้าเมืองเชริง

ฝักขาม

พ.ศ. 2079 เจ้าเมิงเชริง นางเมิง และมหาสามีเจ้า ได้อัญเชิญพระภิกษุสงฆ์และชักชวนชาวเมืองทั้งหลายให้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูป

จารึกเจ้าเมืองเชริงฯ, พย. 15, พย. 15, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, จ.ศ. 898, จุลศักราช 898, จ.ศ. 898, จุลศักราช 898, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมาชำรุด, ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, ไทยล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระภิกษุ, ชาวเมิง, ชาวเมือง, เจ้าเมืองเชริง, เจ้าแสนคำ, นางเมิง, นางเมือง, มหาสามีเจ้า, นักบุญ, ชาวเจ้า, สังฆะ, เจ้าไท, เจ้าหมื่นอางหนุ่ม, หมื่นกวาว, พันนาหลังสรีมา, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์ล ราศีมีน, พระจันทร์, พระราหู, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ปีระวายสัน, ออก, เม็ง, วันอาทิตย์, วันเมิงไส้, ยามกลองงาย, พระพุทธรูป, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเมืองเชริง, บุคคล-นางเมิง, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2079

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1643?lang=th

3

จารึกเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายสร้างพระพุทธรูป

ฝักขาม

ใน พ.ศ. 2027 พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายได้มาสร้างพระพุทธรูปในไว้ถ้ำนี้ ทั้งยังได้ชักชวนให้บรรดาข้าราชการทั้งหลายให้อุทิศข้าพระ ที่ดิน และเงิน ไว้เป็นของบูชาแด่พระพุทธรูป

จารึกเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายสร้างพระพุทธรูป, ลพ. 21, ลพ./21, พช. 16, 331, ลพ. 21, ลพ./21, พช. 16, 331, ศิลาจารึก ลพ./21 อักษรไทย ภาษาไทย, ศิลาจารึก ลพ./21 อักษรไทย ภาษาไทย, หลักที่ 66 ศิลาจารึกดอยถ้ำพระ จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 846 (พ.ศ. 2027), หลักที่ 66 ศิลาจารึกดอยถ้ำพระ จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 846 (พ.ศ. 2027), พ.ศ. 2027, พุทธศักราช 2027, พ.ศ. 2027, พุทธศักราช 2027, จ.ศ. 846, จุลศักราช 846, จ.ศ. 846, จุลศักราช 846, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ถ้ำพระ, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมูยเชียงราย, พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงราย, พ่ออยู่หัวเจ้าเมืองท้าวมูยเชียงราย, พ่ออยู่หัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงราย, พระพุทธเจ้า, นักบุญ, เจ้าหมื่นขวาทอง, เจ้าหมื่นซ้าย, อ้ายพ่อหญัวเจ้า, อ้าพ่ออยู่หัวเจ้า, ข้าพระ, เจ้ายีทอง, นางอาม, ยีห่อ, ญาณสังกา, เชียงดาย, ท่านสา, ท่านกุน, ชาวเพ็ง, เจ้าขุน, พระเป็นเจ้า, เงิน, เบ้, เบี้ย, บ้านถ้ำ, นาเก่า, เกินหรืนปูน, พุทธศาสนา, อุทิศข้าพระ, ถวายข้าพระ, อุทิศที่นา, ถวายที่นา, อุทิศที่ดิน, ถวายที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระจันทร์, พระเกตุ, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีตุล, พระราหู, ราศีมีน, ปีกาบสี, เดือนเจียง, เพ็ง, เม็ง, วันพุธ, วันกัดไส้, ฤกษ์, โรหิณี, เรือน, ครัว, มอญ, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม และคงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2027, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-พ่อหญัวเจ้าเมือง, บุคคล-ท้าวมุยเชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2027

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2000?lang=th

4

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของสมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2, จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2, จารึกวัดมหาธาตุ, กพช. 54/2499, กพช. 54/2499, พจ. 3, พจ. 3} พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, ม.ศ. 1426, มหาศักราช 1426, ม.ศ. 1426, จุลศักราช 1426, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดพิจิตร, ไทย, อยุธยา, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จบพิตร, สมเด็จพระสังฆราชบพิตร, พระวรประสิทธิ, พระคุรุ, สัทธรรมธรรมโมลีศรีราชบุตร, พุทธศาสนา, พุทธฎีกา, สุพรรณบัฎ, อายุ-จารึก พ.ศ.2047, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลียม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรููปสี่เหลียมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2047

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/619?lang=th

5

จารึกเจ้าหัวแสนญาณกัลยา

ฝักขาม

พ.ศ. 2047 พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา เจ้าเมืองพะเยา ได้ให้ฝังศิลาจารึกไว้เพื่อประกาศห้ามไม่ให้ผู้ที่กระทำความผิด เข้าไปในวัด

จารึกเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, พย. 29, พย. 29, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดร้าง, ตำบลแม่ต๋ำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, เจ้าเมืองพญาว, เจ้าเมืองพยาว, เจ้าเมืองพะเยา, เจ้าเมิงพญาว, เจ้าเมิงพยาว, เจ้าเมิงพะเยา, พ่ออยู่หัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, มหาสามีเจ้า, นายวัด, หมื่นนา, จ่าเมิง, จ่าเมือง, เจ้าผู้กินเมือง, เจ้าผู้กินเมิง, ผู้ครองเมือง, กำแพง, พุทธศาสนา, ฝังหินจารึก, ฝังศิลาจารึก, ปีกาบไจ้, เดินหก, เดือนหก, เดินสี่, เดือนสี่, วันศุกร์, วันเปิกสัน, ฤกษ์, อุตรผลคุนะ, คลองเมิง, คลองเมือง, ครรลองเมือง, เม็ง, อุตรผลคุณี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2047, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2047

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1726?lang=th

6

จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงมาเป็นเจ้าสี่หมื่น

ฝักขาม

ครั้นเมื่อเจ้าหมื่นเลี้ยงได้เป็นเจ้าสี่หมื่นปกครองเมืองพะเยา พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูป อุทิศที่ดินและข้าพระจำนวนมากให้แก่วัดแห่งหนึ่งซึ่งเป็นสาขาของวัดสุวรรณมหาพิหาร

จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงมาเป็นเจ้าสี่หมื่น, พย. 47, พย. 47, จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงเป็นเจ้าสี่หมื่นเมืองพยาว, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 2104, พุทธศักราช 2104, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, หินทราย, รูปใบเสมา, โรงเรียนบุญสิทธิ์, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นเลี้ยง, เจ้าสี่หมื่น, ท้าว, พระยา, หมื่นน้อยหน่อ, มหาราชเทวี, ขุน, หม้อเพจี, สมบัติ, เมิงพยาว, เมืองพยาว, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, เมิงคน, เมิงฟ้า, เมืองคน, เมืองมนุษย์, เมืองสวรรค์ ศาสนา: พุทธศาสนา, วัดสุวันมหาพิหาร, วัดสุวรรณมหาพิหาร, วัดสุวันมหาวิหาร, วัดสุวรรณมหาวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, กะทำพระเจ้า, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, โอยทาน, ให้ทาน, เที่ยงวันจันทร์, เดือนสิบเอ็ด, เดินสิบเอ็ด, ออกอื่นๆ: ที่นา, ปีรวงเหม้า, เม็ง, ปีเถาะ, ปีโถะ, ข้าว, บ้าน, มอญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2014

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1759?lang=th

7

จารึกเจ้าหมื่นลอมงคล

ฝักขาม

พ.ศ. 2044 เจ้าหมื่นลอมงคลได้สร้างพระมหาเจดีย์ไว้เพื่อประดิษฐานพระสรีรธาตุ สร้างพระพุทธรูปจำนวนมาก และบริจาคข้าพระจำนวนหนึ่งไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระมหาเจดีย์และพระพุทธรูปดังกล่าว

ศิลาจารึกเจ้าหมื่นลอมงคล, พย. 28, พย. 28, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา ชำรุด, เมืองโบราณ (เมืองลอ), อำเภอจุน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ล้านนา, พระพุทธเจ้า, เจ้าหมื่นลอมงคล, มหาเถรมธุรสเจ้า, นวารามาธิบดี, ประธาน, ซาวน้อย, ช่างน้อย, เอ้ยทุน, เอื้อยทุน, อ้ายคา, ปู่เกิด, พันชายคำบุญ, ห้าสิบชุม, ซาวมงคล, ชาวมงคล, พ่อแพง, ยีขุน, เชียงจัน, แก้วเต็มขัน, เจ้าหมื่นเทพ, พันน้อย, เจ้ามหาสามี, เจ้าป่าน้อย, มหาสามีเจ้าศรีชุม, มหาสามีเจ้าขอบแจ้ง, มหาเถรเจ้าป่าหลวง, มหาเถรเจ้าศรีเกิด, เจ้าหมื่นเชียงภูศีลคงคา, เจ้าหมื่นชลางทุน, เถ้าเมืองโสม, เถ้าเมืองพ่อน้อย, แสนข้าวศีลา, แสนข้าวคงคารู้, พันหนังสือสูวัน, พันหนังสือสุวรรณ, พันหนังสือญาณรังสี, ขันหนังสือ, เบี้ย, พุทธศาสนา, มหาเจติยะ, มหาเจดีย์, สร้างมหาเจดีย์, สร้างเจดีย์, ประดิษฐานพระสรีรธาตุ, ประดิษฐานพระธาตุ, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, สร้างพระพุทธรูป, หรคุณ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีพิจิก, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีกรกฎ, ปีกดสัน, เดินแปด, เดือนแปด, เพ็ง, วันเสาร์, กาบไจ้, รืก, ฤกษ์, วิสาขะ, พระพุทธรูป, ครัว, ทาน, หนี้, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2044, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-อุทิศข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-เจ้าหมื่นลอมงคล, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2044

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1723?lang=th

8

จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร

ฝักขาม

พ.ศ. 2019 เจ้าหมื่นคำเพชรขึ้นครองเมืองนคร ได้ยกพระธาตุเจ้าไว้ในลำพาง ก่อกำแพงแปลงวิหาร และสร้างพระพุทธรูป 1 องค์ จากนั้นได้จัดพิธีฉลองพระพุทธรุป ด้วยการอุทิศที่ดิน และข้าพระ โดยหวังจักได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในกาลภายหน้า

จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร, จารึกในจังหวัดลำปาง, หลักที่ 65 ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง, หลักที่ 65 ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2019, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2019, ลป. 1 จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร พ.ศ. 2019, ลป. 1 จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร พ.ศ. 2019, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, จ.ศ. 838, จุลศักราช 838, จ.ศ. 838, จุลศักราช 838, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนสตรีวัฒนา, เขตวัฒนา, กรุงเทพมหานคร, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนสตรีวัฒนา, เขตวัฒนา, กรุงเทพมหานคร, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นคำเพชร, พระพุทธเจ้า, สัปบุรุษ, น้ำทอง, ข้าวหนึ้ง, ข้าวเหนียว, เมืองนคร, ลำพาง, น้ำบ่อ, พุทธศาสนา, พระธาตุเจ้า, พระเจดีย์ศรีรัตนธาตุ, กินเมือง, ปกครองเมือง, ก่อกำแพง, แปลงวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, ฉลองพระพุทธรูป, แปลงศาลา, สร้างศาลา, อุทิศข้าพระ, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีรวายสัน, ปีระวายสัน, เดือนยี่, วันพุธ, เปลิกสง้า, เปิกซง้า, ฤกษ์, ปุนัพสุ, ครัว, บุญนวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2019, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-เจ้าหมื่นคำเพชร, บุคคล-เจ้าหมื่นคำเพชร

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 2019

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2035?lang=th

9

จารึกเจ้าสี่หมื่นสร้างพระพุทธรูปและเจ้ามหาราชอุทิศที่นา

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงเจ้าสี่หมื่นที่ได้สร้างพระพุทธรูป และเจ้ามหาราชกับมหาเทวีที่ได้ทำทานด้วยการอุทิศที่นา ในปีรวงเหม้า

จารึกเจ้าสี่หมื่นสร้างพระพุทธรูปและเจ้ามหาราชอุทิศที่นา, พย. 44, พย. 44, จารึกเจ้าสี่หมื่น กระทำพระ, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, วัดสวนดอก, บ้านห้วยลึก, ตำบลบ้านตุ่น, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าสี่หมื่น, พระญา, เจ้ามหาราช, เจ้ามหาเทวี, ขุนชื่อ, เมิงคน, เมืองคน, เมืองมนุษย์, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, พุทธศาสนา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, โอยทาน, ให้ทาน, สร้างพระพุทธรูป, ปีรวงเหม้า, ขอม, ปีเถาะ, ปีโถะ, ที่นา, เดิน, เดือน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2014

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1750?lang=th

10

จารึกเจ้าสี่หมื่นสร้างพระพุทธรูป

ฝักขาม

ครั้นเมื่อเจ้าหมื่นเลี้ยงได้เป็นเจ้าสี่หมื่นปกครองเมืองพะเยา พระองค์โปรดให้สร้างพระพุทธรูปเพื่อประดิษฐานไว้ และตกทอดแก่ลูกหลานผู้ที่จะมาปกครองบ้านเมืองต่อๆ ไป

จารึกเจ้าสี่หมื่นสร้างพระพุทธรูป, พย. 52, พย. 52, จารึกวัดห้วยนาคศักราช: พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954วัตถุจารึก: หินทรายลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: วัดลี, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นเลี้ยง, เจ้าสี่หมื่น, หลานเหลน, ท้าว, พระญา, มหาราชะ, มหาเทวี, ขุนมั่น, พระเจ้า, ต้นยางชื่อ, เมิงพยาว, เมืองพะเยา, เมืองพยาว, บ้าน, หม้อเพจี, นรก, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, เมืองสวรรค์, พุทธศาสนา, กะทำพระเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, กรวดน้ำ, หยาดน้ำ, โอยทาน, ให้ทาน, ปีรวงเหม้า, เม็ง, ปีโถะ, ปีเถาะ, พระพุทธรูป, วันเที่ยง, เดินสิบเอ้ด, เดือนสิบเอ็ด, ออก, วันจันทร์, ผลบุญ, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2014

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1782?lang=th

11

จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาวฝังเสมาวัดลี

ฝักขาม

พ.ศ. 2038 ครูพระเป็นเจ้าสี่หมื่นพยาวได้ให้เอาหินมาปักปันที่ดิน แล้วฝังหินพัทธสีมาให้เป็นโบสถ์ของวัดลี ข้อความตอนท้ายของด้านที่ 1 เป็นรายนามของพระสงฆ์ที่อยู่ประจำวัด ข้อความจารึกด้านที่ 2-4 เป็นรายนามผู้บริจาคเงินและสิ่งของแก่วัด

จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาวฝังเสมาวัดลี, พย. 27, พย. 27, จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาว (วัดลี), พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดลี, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ครูพระเป็นเจ้าสี่หมื่นพยาว, ครูพระเป็นเจ้าสี่หมื่นพะเยา, พระมหาเถรเจ้าประหญาวังสเจ้า, พระมหาเถรเจ้าปัญญาวังสเจ้า, เถรเจ้าตนน้อง, เถรญาณทัดสีเจ้า, เถรสวรเทพเจ้า, เถรพุทธิมาเจ้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระสงฆ์, มหาสามีญาณเทพเจ้า, มหาสามีนนประหญา, มหาสามีนนปัญญา, มหาเถรสุวันเจ้า, มหาสามีนนวัดพระยาร่วง, เจ้าเถรญาณมงคล, เจ้าเถรญาณสุนทรวัดท่า, เจ้ากูพระสังฆะ, พระพุทธเจ้า, มหาสังฆราชาพุธาธินน, คนสินทาน, เจ้าหมื่นเจ็ดเชียงแสน, ล่ามแก้ว, นางเจ้าทิป, หล้าพระยา, หล้าบ้านหนาม, เชียงลอ, พันน้อยแก้ว, ปู่น้อย, สามมงคล, ล่ามอ้าย, เชียงยี, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, อาจารบารมี, อาจารย์บารมี, บาสกเจ้ากู, มหาราชเจ้าเจ้าแผ่นดิน, ช่างฟอง, หมื่นนาหลังสิบวัด, เถ้าเมืองขวัญ, เถ้าเมิงขวัญ, พันนน, ปากอารี, ปากญาเทพ, พันสิน, พันอิน, หนังสือเมิงปากน้ำหนอง, หนังสือเมืองปากน้ำหนอง, พระเจ้าเมืองเชียงราย, พระเจ้เมิงเชียงราย, ปากญง, คนพันนนต่างเมิง, คนพันนนต่างเมือง, อุบาสก,พระสงฆ์, ศรีพัด, สุวรรณ, เบ้, เบี้ย, แก้ว, เงิน, เกลือชื่อ, คามเขต, ปริมณฑล, ท่าผา, บ้านหนองสูงเหนือมงคล, นาบ้าน, บ้านดอน, บ้านอิน, สวนไม้, บ้านใหม่นารายณ์, บ้านหัวหนอง, บ้านใหม่นายอินทร์, พุทธศาสนา, อุโบสถ, วัดลี, อาราม, วัดมหาพล, วัดหลวง, ผูกพัทธสีมา, วัดป่า, วัดใหม่,นาหนองเทง, ปากเบงครำ, นาทัน, นาอู่น้ำ, ฝังหินพัทธสีมา, ฝังกดหมายที่ดิน, ปักปันที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีตุล, พระพุธ, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีสิงห์, ปีเถาะ, ปีดับเหม้า, เดินเชษฐะ, เดือนเชษฐะ, เดินเก้า, เดือนเก้า, ออก, วันกดยี, เม็ง, วันอาทิตย์, ริก, ฤกษ์, บุพผลคุนี, น้ำ, อธิบดี, อาธิกัมม์, อธิกรรม, วินัยสิกขาบท,9 ผลบุญ, บุรพผลคุนี, ข้าว, อุปัฏฐาก, ครัว, ร่, พรหมสวร, ทาน, จารึกบนใบเสมา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การรังวัดที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การรังวัดที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, ตำบลเวียง

พิพิธภัณฑ์เวียงพยาว (วัดลี) ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2038

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1714?lang=th

12

จารึกเจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยง

ฝักขาม

พ.ศ. 2033 เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยงได้ขึ้นปกครองเมืองพะเยา เห็นเสมาเก่าหักมานาน จึงให้เอาออก แล้วทำเสมาอันใหม่ให้มั่นคงแข็งแรงขึ้น

จารึกเจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยง, พย. 46, พย. 46, จารึกเจ้าสี่หมื่นฯ ให้จารสีมาใหม่, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, หินทราย, แผ่นรูปใบเสมา, วัดดงแล, วัดร้าง, ตำบลบ้านใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยงพระเป็นเจ้า, เจ้าเมิงพิง, เจ้าเมืองพิง, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นอาวเลี้ยงปู่พระ, มหาราชะ, มหาราชา, มหาเทวี, ผ้าขาว, หลานเชียง, เค้า, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, เจ้าขุน, พระเจ้า, กล้วย, เมิงพญาว, เมืองพญาว, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, ทำสีมาใหม่, พุทธศาสนา, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองเมือง, ปกครองบ้านเมือง, ปีกดเส็ด, ขอม, ปีจอ, ออก, อารุณ, อรุณ, หรคุณ, ชระมัว, เม็ง, มอญ, สิทธิ, วันเต่าซง้า, ริกษ, ฤกษ์, อัศวันนี, โบราณ, อัศวินี, สิโนทก, ที่นา, ข้าว, พระพุทธรูป, อาธรรม, อธรรม, คำสาบาน, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างใบเสมา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2033

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1756?lang=th

13

จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่

ฝักขาม

พ.ศ. 2033 เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยงของกษัตริย์เมืองเชียงใหม่ ได้ขึ้นครองเมืองพะเยาสืบต่อจากพระเจ้าสามฝั่งแกน เห็นสีมาเก่าหักแล้วก็ให้ฟันออก แล้วทำสีมาใหม่มาใส่

จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่, พย. 3, พย. 3, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่, พ.ย./3, พ.ย./3, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, ศิลา, หินทราย, สีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดดงแล, วัดร้าง, ตำบลบ้านใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยง, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นอาวเลี้ยงปู่พระแต่โบราณ, พระเป็นเจ้าเมิงพิง, พระเป็นเจ้าเมืองพิง, มหาราช, มหาเทวี, พระเจ้ายอดเชียงราย, พระเจ้าสามฝั่งแกน, บุตรหลาน, ลูกหลาน, เจ้าญาณสุนทร, เจ้าญาณสุนธร, มหาเถรสียาเจ้า, มหาเถรสิยาเจ้า, อีแม่ทุน,พระพุทธเจ้า, เจ้าขุน, เงิน, กล้วย, เมิงพิง, เมืองพิง, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, เมิงพญาว, เมืองพญาว, พุทธศาสนา, ขันธสีมา, ขันทเสมา, ใส่สีมา, ใส่เสมา, หยาดน้ำสิโนทก, อยาดน้ำสิโนทก, กรวดน้ำสิโนทก, ปีกดเส็ด, ขอม, ปีจอ, เม็ง, มอญ, วันอาทิตย์, ไทยสิทธิ, วันเต่าซง้า, วันเต่าสะง้า, อัศวนี, แผ่นดิน, นา, พระพุทธรูป, คำโอยพร, คำอวยพร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฝังสีมา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2033

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1557?lang=th

14

จารึกเจ้าศรีฯ

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุดมาก ข้อความที่เหลืออยู่กล่าวถึงบุคคลผู้หนึ่ง ชื่อ ศรี ได้มีใจศรัทธาบริจาคข้าพระไว้ปฏิบัติดูแลวัดและพระพุทธรูป

จารึกเจ้าศรีฯ, พย. 16, พย. 16, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยมปลายมน, วัดศรีโคมคำ, ตำบลในเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้า, ราชา, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, ประหญา, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, ทิดพา, หมื่นอาคม, เลา, พุทธศาสนา, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, พระอาทิตย์, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีมีน, ปีระวายสี, ปีระวายไจ้, ปีรวายสี, ปีรวายไจ้, วันกาไส้, พระศรีรัตนตรัยเจ้า, พระรัตนตรัย, พระพุทธรูป, วันผัด, วันพฤหัสบดี, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-ศรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-26, ไฟล์; PY_1601_p และ PY_1602_p)

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1646?lang=th

15

จารึกเจ้าพันมหาดฯ

ฝักขาม

พ.ศ. 2053 เจ้าพันมหาดรับคำสั่งจากเจ้าเมือง ให้มาฝังศิลาจารึกหลักนี้ เพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ได้รับมอบหมายให้ปฎิบัติดูแลวัดและพระพุทธรูป

จารึกเจ้าพันมหาดฯ, พย. 49, พย. 49, พ.ศ. 2053, พุทธศักราช 2053, พ.ศ. 2053, พุทธศักราช 2053, จ.ศ. 872, จุลศักราช 872, จ.ศ. 872, จุลศักราช 872, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดประตูโขง, ตำบลวังทอง, จังหวัดพะเยา, ตำบลท่าวังทอง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพันมหาด, เชียง, พระเป็นเจ้า, ข้าพระ, จอม, จอน, สารอด, ซาว, ผาจอม, ยาจอน, ผัน, ยามี, เหม, อุ่น, อ่อน, สม, บ้าน, พุทธศาสนา, อาราม, ฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีกันย์, พระราหู, ราศีพิจิก, ปีมะเมีย, กดซง้า, เดินสิบเอ็ด, เดือนสิบเอ็ด, อาชญา, ครัว, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2053, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าพันมหาด, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2053

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1769?lang=th

16

จารึกเจ้าธรรมรังสี

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ข้อความจารึกอักษรขอม ภาษาบาลี ขึ้นต้นด้วย “อะมะอุ” และพระไตรลักษณ์ คือ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา ต่อจากนั้นเป็นคำนมัสการพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และอาจารย์ ซึ่งความเหมือนกับจารึกวัดตาเถรขึงหนัง สท. 16 ส่วนข้อความจารึกอักษรไทย ภาษาไทย ได้กล่าวถึงเจ้าธรรมรังสี สร้างพระพุทธรูป อันกอรปไปด้วยอสีตานุพยัญชนะทั้ง 32 นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึง แท่งศิลาจารึกนี้ว่า ได้มาจากพระขพงหลวง

จารึกเจ้าธรรมรังสี, สท. 43, สท. 43, หลักที่ 98 ศิลาจารึกวัดเชตุพน, หลักที่ 98 ศิลาจารึกวัดเชตุพน, ศิลาจารึกเจ้าธรรมรังสี พุทธศักราช 2507, ศิลาจารึกเจ้าธรรมรังสี พุทธศักราช 2057, พ.ศ. 2057, พุทธศักราช 2057, พ.ศ. 2057, พุทธศักราช 2057, หินชนวน, แท่งสี่เหลี่ยมปลายแหลม, ปลีพระเจดีย์, จำหลักพุทธปฏิมากร, มีเดือยสำหรับสวม, วัดพระเชตุพน, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, เจ้าธรรมรังสีภิกษุ, เจ้าไท, พระศาสดาจารย์บพิตร, อาริยสงฆ์, พระพุทธเจ้า, พระสงฆ์, อาจารย์, ศัตรู, คันธมาลา, บิณฑิบาตพระ, พระพุทธาสนะ, เขาพระขพงหลวง, ผนวช, สร้างพระพุทธรูป, วันศุกร์, เดือนอ้าย, ออกใหม่, จอนักษัตร, ปีจอ, พระฉอศก, อสีตานพยัญชนะ, พระพุทธปฏิมานทอง, เทพดา, เทวดา, ทาน, สมบัติ, เสบียง, นิพพาน, วัตถุ, ศีรษะ, พระรัตนตรัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2057, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยมปลายแหลม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านหลวงรัตถรักษา พิษณุโลก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าธรรมรังสี

บ้านหลวงนรัตถรักษา หน้าสนามบิน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

พุทธศักราช 2057

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/238?lang=th

17

จารึกเจดีย์วัดมหาธาตุ

ขอมสุโขทัย

สภาวะธรรมที่เป็นกุศล สภาวะธรรมที่เป็นอกุศล และสภาวะธรรมที่เป็นกลาง นั้นมีสาเหตุจากหลายปัจจัย

จารึกเจดีย์วัดมหาธาตุ, สท. 30, สท. 30, ศิลา, แผ่นสี่เหลี่ยม, เจดีย์ด้านเหนือวัดมหาธาตุ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, กุศล, อกุศล, ธรรม, อวิชชา, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, สฬายตนะ, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรามรณะ, มาติกา 3, มาติกา 3, สังคหมาติกา, อสังคหมาติกา, สังคหิเตน, สังคหิตมาติกา, ขันธบัญญัติ, อายตนบัญญัติ, ธาตุบัญญัติ, สัจจบัญญัติ, อินทรียบัญญัติ, บุคคลบัญญัติ, ปรมัตถ์, อรรถ, พระปรวาทยาจารย์, ขันธ์ 5, ขันธ์ 5, รูปขันธ์, เวทนาขันธ์, สัญญาขันธ์, สังขารขันธ์, วิญญาณขันธ์, อายตน 12, อายตน 12, จักขวายตนะ, โสตายตนะ, ฆานายตนะ, ชิวหายตนะ, กายายตนะ, มนายตนะ, รูปายตนะ, สัททายตนะ, คันธายตนะ, รสายตนะ, โผฎฐัพพายตนะ, ธัมมายตนะ, ธาตุ 3, ธาตุ 3, จักขุธาตุ, โสตธาตุ, วิญญาณธาตุ, สัจจะ 3, สัจจะ 3, ทุกขสัจจะ, ทุกขสมุทยสัจจะ, มัคคสัจจะ, สังขาร 3, สังขาร 3, กายสังขาร ,วจีสังขาร, จิตตสังขาร, อนุสัย 2, อนุสัย 2, กามราคานุสัย, อวิชชานุสัย, ยมก 3, ยมก 3, จิตตยมก, ธรรมยมก, อินทรียยมก, เหตุปัจจัย, เหตุ 6, เหตุ 6, โลภะ, โทสะ, โมหะ, อโลภะ, อโทสะ, อโมหะ, อารัมมณปัจจัย, อารมณ์ 6, อารมณ์ 6, รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส, รูปารมณ์, อธิปติปัจจัย, ฉันทะ, วิริยะ, จิตตะ, วิมังสา, อนันตรปัจจัย, อาวัชชนจิต, ปัญจวิญญาณ, สัมปฏิจฉันนจิต, สันติรณจิต, โวฏฐวนจิต, สมนันตรปัจจัย, อนันตรปัจจัย, สหชาตปัจจัย, จิต, เจตสิก, สหชาตรูป, ภูตรูป, อุปาทายรูป, กัมมัชรูป, วิบากขันธ์, ปฏิสนธิ, อัญญมัญญปัจจัย, มหาภูตรูป, กัมมัชรูป, วิบากขันธ์, ปฏิสนธิขณะ, นิสสยปัจจัย, ปสาทรูป, อุปนิสสยปัจจัย, ปุเรชาตปัจจัย, ปสาทรูป, หทยรูป, อารมณ์ 5, อารมณ์ 5, รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส, ปัจฉาชาตปัจจัย, อาเสวนปัจจัย, กัมมปัจจัย, วิปากปัจจัย, วิบาก, กรรม, อาหารปัจจัย, ผัสสาหาร, มโนสัญเจตนาหาร, วิญญาณาหาร, กวฬิงการาหาร, อินทรียปัจจัย, อินทรีย์ 20, อินทรีย์ 20, อิตถินทรีย์, ปุริสินทรีย์, ฌานปัจจัย, องค์ฌาณ 7, องค์ญาณ 7, วิตก, วิจาร, ปีติ, เอกัคคตา, โสมนัส, โทมนัส, อุเปกขา, มัคคปัจจัย, มรรค 12, มรรค 12, สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสมาธิ, สัมมัตตนิยม, มิจฉัตตนิยม 4, มิจฉัตตนิยม 4, มิจฉาทิฏฐิ, มิจฉาสังกัปปะ, มิจฉาวายามะ, มิจฉาสมาธิ, สัมปยุตตปัจจัย, นามขันธ์ 4, นามขันธ์ 4, วิปปยุตตปัจจัย, จักขวาทิวัตถุ 6, จักขวาทิวัตถุ 6, ปุเรชาตรูป, สหชาตรูป, อัตถิปัจจัย, รูปธรรม, นัตถิปัจจัย, วิคตปัจจัย, นัตตถิปัจจัย, อวิคตปัจจัย, อวิคตะ 5, อวิคตะ, สหชาตอวิคตะ, ปุเรชาตอวิคตะ, อาหารอวิคตะ, อินทรียอวิคตะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 21

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/95?lang=th

18

จารึกเจดีย์น้อย

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ถวายคำสัตย์ต่อสมเด็จเจ้าพระยา

จารึกเจดีย์น้อย, สท. 14, สท.14, หลักที่ 40, หลักที่ 40 พิเศษ, ศิลาจารึกเจดีย์น้อย พุทธศตวรรษที่ 20-21, หลักที่ 40 ศิลาจารึกเจดีย์น้อยวัดพระมหาธาตุ, หลักที่ 40, หลักที่ 41 พิเศษ, ศิลาจารึกเจดีย์น้อย พุทธศตวรรษที่ 20-21, หลักที่ 40 ศิลาจารึกเจดีย์น้อยวัดพระมหาธาตุ, หินแปร, แผ่นสี่เหลี่ยม, เจดีย์น้อย, เจดีย์ 5 ยอด, เจดีย์ 5 ยอด, วัดพระมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระยา, สมเด็จเจ้าพระยา, มนตรีกวีราช, พระยาบรเทศ, ปู่พระยา, น้าพระยาพระมหาสวามีศรีสังฆราช, พระมหาเถรธรรมทัสสี, มนตรี, กวีราช, บริพาร, หรรษาธิบดี, สมเด็จพระมหาธาตุ, มหาธรรมราชาธิราชบพิตร, สงฆ์, เจ้าไทย, สาธุสัตบุรุษ, น้าพระยา, พระศรีรัตนตรัยบพิตรเป็นเจ้า, ท้าว, ปู่พระยา, ราชา, หม้อน้ำ, สำนัก, ประเทศเจ้าพระยา, ขุนเขาเมรุ, ยโสธร, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, พระศรีรัตนมหาธาตุเจ้า, อเวจี, สงคราม, สรรพโทษา, พระสัตย์ประฎิชญา, คามวาสี, อรัญวาสี, พระมหาสุพรรณบัฏ, ปรโลก, หนทางทุรคติ, บาป, บุญ, ศีล, บิณฑิบาต, กุศล, ปทโมกษ์, อพิจี, นรก, ไพศาขบูรมีศรีศุภฤกษ์วิศาข, พระจันทร์, ภพ, ดวงดาว, อนันตริยกรรมห้า, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศตวรรษ 20-21

สันสกฤต,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/180?lang=th

19

จารึกอาคันตุกะอาราม

ฝักขาม

หมื่นจ่าบ้านกับบรรดานักบุญได้ร่วมกันสร้างอาคันตุกะอารามแห่งนี้ให้เป็นที่พำนักแก่พระภิกษุสงฆ์ที่จะมาจากทั้งสิบทิศตลอดจนเทวดา มนุษย์ และสัตว์โลกทั้งหลาย หวังผลบุญนั้นจะบันดาลให้กษัตริย์เมืองเชียงใหม่และกษัตริย์ทั้งหลายในจักรวาลได้ถึงซึ่งนิพพาน

ชม. 31 จารึกวัดอาคันตุกอาราม, ชม. 31 จารึกวัดอาคันตุกอาราม, ชม. 31 จารึกอาคันตุกะอาราม พ.ศ. 2010, ชม. 31 จารึกอาคันตุกะอาราม พ.ศ. 2010, ชม. 31, ชม. 31, วัดสวนดอก (พระอารามหลวง) ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2010, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หมื่นจ่าบ้าน, มีภาพจำลองอักษร, 2) ภาพจำลองอักษร : พงศธร บัวคำปัน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศักราช 2010

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14439?lang=th

20

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม

จีน

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็ง โดยชาวจีนแซ่ตั้ง แซ่เอี้ยและแซ่อื่นๆ ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20-22

จีน

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1956?lang=th

21

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ ในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ

จีน

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็งด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ไต้เหม็ง, พระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20-22

จีน

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1954?lang=th

22

จารึกหัวแสนญาณกัลยากินเมืองพยาว

ฝักขาม

กล่าวถึงพ่ออยู่หัวแสนญาณกัลยา กินเมืองพะเยา และทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา แล้วได้กล่าวถึงชื่อ ตำแหน่งข้าราชการในครั้งนั้น เช่น เจ้าพันสีนาค พันมงคล หมื่นนาหลัง เป็นต้น ความจารึกในตอนสุดท้าย กล่าวถึง ถ้าผู้ไทยใด ไม่ไว้คนในจารึก ตามอาชญาพระเป็นเจ้า และกลับทำลายเสีย ขอให้มีแต่ความหายนะ ตายไปขอให้ตกนรก เรื่องที่ได้จากจารึกหลักนี้ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเมืองพะเยา ที่มีเจ้าเมืองครอบครองอยู่ใน พ.ศ. 2045 มีชื่อว่า แสนญาณกัลยา ระยะเวลาดังกล่าวนี้ เป็นรัชสมัยพระเมืองแก้ว ดังนั้น “ตามอาชญาพระเป็นเจ้า” ก็หมายถึงพระเมืองแก้ว เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ อันเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาสมัยนั้น

จารึกหัวแสนญาณกัลยากินเมืองพยาว, ลพ. 19, ลพ./19, พช. 32, 332, ลพ. 19, ลพ./19, พช. 32, 332, ศิลาจารึก ลพ./19 อักษรไทยฝักขาม, ภาษาไทย, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดบุญนาค, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหัวแสนญาณกัลยา, นายหลาลี, สามเกิง, ฉางเลา, ปากโสม, ญาแก้ว, ญาแก่น, ญาอาบ, คำเหลา, ทิดสิน, เงิน, อัวมัน, อ้ายพั้น, อรรถทัสสี, สามลอด, บูน, นางลูน, สามจันทร์, เจ้าหมื่นนาหลัง, ญาแทนคำ, เจ้าปากวัน, ปากแก้ว, ปากสินพินเมือง, เจ้าพันศรีทาด, พันมงคล, พวกมงคล, ปากอานนท์, ปากสวนพสิม, หนังสือแคว้น, เฒ่าเมืองเกต, เฒ่าเมืองสิน, เจ้าไท, เคล้า, เค้า, เจ้าพันศรัทธา, เจ้าพันตูบเจียนสุวรรณ, เจ้าพันญางญากุน, เจ้าหัวแสนพะเยา, พุทธศาสนา, กินเมือง, กินเมิง, ปกครองบ้านเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, ลัคนา, ราศีกันย์, ปีเต่าเส็ด, เม็ง, มอญ, วันจันทร์, ฤกษ์, อุตตรภัทรปท, อุตตรภัทรบท, ราศีตุล, ราศีพฤษภ, ราศีสิงห์, ราศีเมถุน, ราศีเมษ, ราศีมังกร, ปีระวายยี่, ปีระวายยี, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา-แสนญาณกัลยา, บุคคล-พ่ออยู่หัวแสนญาณกัลยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557)

พุทธศักราช 2045

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1997?lang=th

23

จารึกหริปุญชปุรี

ฝักขาม

ในด้านที่ 1 บรรทัดแรกใช้คำว่า “ศุภมัศตุ” เป็นคำขึ้นต้นเรื่อง กล่าวถึงสมเด็จบพิตรมหาราชเจ้าตนเป็นอธิบดีในศรีพิงคราษฎร์เชียงใหม่ ได้ฐาปนาเหิงธรรมกับพระกรรโลงรักอัครราชมาดา มีศรัทธาในพระศาสนามากนัก มักให้มั่นคงลงเป็นเค้าเป็นมูงใน “หริบุญชบุรี” อวยไอสวรรย์สมบัติพัศดุฯ ทั้งหลาย มีต้นว่า “สัปตรัตนะ” นำมาบูชาพระมหาธาตุเจดีย์อันเป็นเหง้าเป็นเค้าแก่พสุธา จากนั้นได้พรรณนาสืบไปว่า สมเด็จพระองค์มหาราชเจ้าทั้งสองให้สร้างพระธรรมมณเฑียร อันอาเกียรณ์ไปด้วยคำมาสฯ ให้สร้างพระธรรม 8 หมื่น 4 พันพระธรรมขันธ์ และคันถสัตตปกรณ์ สาตถกถา ฎีกา อนุฎีกา คณนาได้ 420 คัมภีร์ ให้สร้างสุพรรณพุทธรูปเจ้า แล้วให้นำมาถาปนาไว้ ณ พระธรรมมณเฑียร พ.ศ. 2043 นี้ยังอยู่ในรัชกาลพระเมืองแก้ว จารึกหลักนี้ควรประดิษฐานอยู่ที่วัดพระธาตุหริภุญไชยนี้เอง แสดงว่า พระเมืองแก้วกับพระราชมารดาของพระองค์ได้ร่วมกันบำเพ็ญพระราชกุศลอันยิ่งใหญ่ สถาปนาหอพระไตรปิฎก ซึ่งท่านเรียกของท่านในสมัยนั้นว่า “พระธรรมมณเฑียร” เป็นสถานที่เก็บรักษาคัมภีร์พระไตรปิฎก ครบทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์ อันพร้อมทั้ง อรรถกถา ฎีกา และอนุฎีกา รวมทั้งสิ้นเป็นคัมภีร์ 420 พระคัมภีร์ บรรดาพระคัมภีร์ทั้งนี้ต้องเป็นใบลานทั้งหมด นอกจากนั้นยังทรงสร้างพระพุทธรูปทองคำประดิษฐานประจำอยู่ที่ “พระธรรมมณเฑียร” จารึกหลักนี้ ถ้อยคำที่จารึกมีลักษณะเป็นร้อยกรองทำนองร่าย เป็นที่น่าสังเกตที่เรียกชื่อเมืองลำพูนโบราณว่า “หริบุญชบุรี” ซึ่งคงจะสืบมาแต่คำว่า “หริภุญชัย” โดยลำดับ

จารึกหริปุญชปุรี, ลพ. 15, ลพ./15, พช. 21, 327, หลักที่ 71 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, ลพ. 15, ลพ./15, พช. 21, 327, หลักที่ 71 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์พรหมยมราช, จตุโลกบาล, สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้า, อธิบดี, พระกรรโลง, อัครราชมาดา, ลูกหลานเหลน, นายหอปิฎก, นายนนทหน, พุทธรักขิตโพธิ, แก้วเสนาพุด, ญี่หมื่นอินหน, นารอดอุดมมงคล, โกวิทามงคล, สอยสารอด, พุทธคำเพียรสาม, จินดาหนสาม, ช่างอุ่นสุวรรณแก้ว, คนครบ, สมเด็จมหาราชเจ้า, ท้าวพระยา, สมเด็จพระธรรมมิกราชเจ้า, พระอัครราชมาดาบพิตร, สมเด็จพระบิดา, มหาอัยกะอัยยิกา, กัลปพฤกษ์, เครื่องสักการ, เครื่องคำ, กลวนน้ำนาก, กลวนน้ำนาค, น้ำต้นเงิน, น้ำซ่วยมือเงิน, มาลาเงิน, เงี่ยงเงิน, เงินจำนำ, ข้าวใส่บาตร, ข้าวบูชาพระธรรม, หมากเมี่ยง, บาตรเงิน, สิ่งของ, ทองคำ, กรณฑ, คนโทเงิน, กระโถนเงินชื่อ, ศรีพิงคราษฎร์เชียงใหม่, หริปุณชบุรี, พุทธศาสนา, บูชาพระมหาธาตุเจดีย์เจ้า, สร้างพระธรรม, บูชาพระธรรมเจ้า, อุทิศนา, อุทิศคน, อุทิศที่ดิน, อุทิศข้าพระ, อุทิศพระราชกุศลผลโกฐาส, วงดวงชาตา, ดิถี, ฤกษ์, นาที, โยค, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีมังกร, พระจันทร์, พระศุกร์, พระเกตุ, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีกันย์, พระราหู, ราศีมีน, กรณรสพัศ, ปีกดสัน, มฤคศิรมาศ, ปุรณมี, ไทยภาษา, เดือนเจียง, เพ็ง, เม็ง, วันจันทร์, วันดับเม็ด, พระแขไข, ภรณีนักษัตร, ปัณณรส, ฝ่าตีน, ญาณยุดวิสุทธศรัทธา, เป็นเค้า, เป็นประธาน, เป็นมูล, ไอศวรสมบัติพัสดุ, สัปตรัตนะ, เหง้าเกล้าพสุธา, สมเด็จพระองค์มหาราชเจ้า, พุทธวาจา, ขันธ์, คันถันตรปกรณ์, สาตถกถา, ฎีกานุฏีกา, อนุฎีกา, คัมภีร์, พระพุทธรูป, สุพรรณพุทธรูปเจ้า, สังขยา, ดอก, ปุณมี, มอญ, ดาวแม่ไก่, ดาวก้อนเส้า, พระราชอาชญา, นา, คน, อุปการ, พระธรรมมนเทียร, พระธรรมมณเฑียร, อดุลยบุญญาภิสนท์, อัชฌัตติกพาหิร, พระราชกุศล, ปรัชญา, อมรนิการ, มหานิโรธโพธิญาณ, ปริโยสาน, ส่วนบุญ, เทพคณา, เทพดา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอพระไตรปิฎก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ลำพูน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-หริบุญชบุรี, บุคคล-สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2043

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2074?lang=th

24

จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน

ฝักขาม

กล่าวถึงคำ “พระสัตย์ปฏิญาณ” ขอพระมหากษัตริย์ที่ได้ทรงรับสั่ง และทรงรับสั่งจากพระเชษฐาเกี่ยวกับการเสวยราชสมบัติและการรักใคร่สามัคคี ตามข้อความจารึกในตอนท้ายที่ว่า “หงศวดีสัตยาธิษฐาน” และ “วรสัตยาธิษฐาน”

จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน, ลพ. 13 จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน, ลพ. 13 จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน, ลพ. 13, ลพ./13, พช. 23, 348, หลักที่ 84 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันตกเฉียงเหนือ, ลพ. 13, ลพ./13, พช. 23, 348, หลักที่ 84 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันตกเฉียงเหนือ, หินทรายสีแดง, ชำรุด, หลักสี่เหลี่ยม, วัดแสนข้าวห่อ (วัดร้าง), จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, ราชสมบัติ, พระสัตย์ปฏิญาณ, โทษ, นรก, ประโคนสงสาร, วรสัตยาธิษฐาน, หลักโลก, มงคลจักรพาล, จักรวาล, เทวดา, สุข, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2508)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2088?lang=th

25

จารึกส่วนยอดของใบเสมา

ฝักขาม

เป็นวงดวงชาตาระบุฤกษ์, วันเดือนปีที่จารึก

จารึกส่วนยอดของใบเสมา, พย. 72, พย. 72, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035,หินทรายสีน้ำตาล, ใบเสมาชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, วัด, เจดีย์, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีกรกฎ, พระจันทร์, ราศีมีน, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีมังกร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2021-2035

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1881?lang=th

26

จารึกสร้างมหามณฑป (เมืองพยาว)

ฝักขาม

เป็นการจารึกบันทึกเรื่องการสร้างมหามณฑปที่เมืองพะเยา

จารึกสร้างมหามณฑป (เมืองพยาว), ลป. 12 จารึกการสร้างพระมหามณฑป (พะเยา) พ.ศ. 2078, ลป. 12 จารึกการสร้างพระมหามณฑป (พะเยา) พ.ศ. 2078, จารึกการสร้างมหามณฑป, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ลพ. 12, ลพ./12, พช. 15, 325, ลพ. 12, ลพ./12, พช. 15, 325, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าอยู่หัว, ชาวยอดขระหนานดาบเรือนจัน, เจ้าขุนเมืองพยาว, เชียงคง, ชาวดาบเรือน, สุวัน, ข้าพระ, ไพร่, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, วัด, ปลูกมหามณฑป, สร้างมหามณฑป, สร้างมณฑป, ปีดับเม็ด, ปีมะแม, เดือนภัทรมาส, ออก, ไทรวงเม็ด, ไทร้วงเม็ด, ติดถี, ดิถี, นาที, ฤกษ์, ยามตูดเช้า, พระราชโองการ, เรือน, พระอาชญา, มอญ, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2078, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างมณฑป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2078

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1993?lang=th

27

จารึกสร้างพระพุทธรูปวัดดอนยาง

ฝักขาม

พ.ศ. 2023 พระภิกษุมังคลเมธาวี อยู่เมืองฝาง สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ถวายแด่วัดดอนยาง

ชร. 11 จารึกสร้างพระพุทธรูปวัดดอนยาง พ.ศ. 2023, ชร. 11 จารึกสร้างพระพุทธรูปวัดดอนยาง พ.ศ. 2023, 1.4.1.1 จารึกวัดดอนยาง พ.ศ. 2023 (Wat Don yang A.D. 1480), 1.4.1.1 จารึกวัดดอนยาง พ.ศ. 2023 (Wat Don yang A.D. 1480), พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, หินทรายสีเทา, รูปครึ่งวงกลม, วัดปงสนุก, ตำบลเวียง, อำเภอเทิง, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพุทธโคดมเจ้า, พระพุทธโคตมเจ้า, เจ้าภิกขุ, สุมังคละเมธาวี, มหาสามีสุมังคละเมธาวี, เจ้าอินประหยา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, นักปราชญ์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อริยสัจ 4, อริยสัจ 4, นิพพาน, พระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2023, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกรูปครึ่งวงกลม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระภิกษุมังคลเมธาวี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2023

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1460?lang=th

28

จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพสร้างพิหารวัดกลาง

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พ.ศ. 2033 พระสงฆ์ทั้งหลาย ได้แก่ สมเด็จมหาสามีญาณเทพ เจ้าวัดมหาพน มหาสังฆราชาประหญา ได้เชิญชวนชาวเมืองร่วมบริจาคเงินเพื่อสร้างวิหารวัดกลาง

จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพสร้างพิหารวัดกลาง, จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพสร้างวิหารวัดกลาง, พย. 57, พย. 57, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดร้าง, วัดกลาง, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระสงฆ์, สมเด็จมหาสามีญาณเทพ, เจ้าวัดมหาพน, มหาสังฆราชาประหญา, มหาสังฆราชาปัญญา, ศีลวิสุทธิเจ้า, เจ้าพันฉางอารี, ชาวทา, ล่ามแก้ว, แม่มงคล, อุตตมปัญญา, ปริจาริกะ, บริจาริกา, เม, เมีย, ข้าครัว, ข้าพระพุทธเจ้า, ผู้ใหม่, วัว, โค, เงิน, ตะคัน, เครื่องบูชาพระพุทธเจ้า, ขันหมากเบงทอง, เครื่องพร้อม, ประทีปทอง, ประทีปเงิน, ผางธูปทอง, กโทงฉาง, แดนพญาว, แดนพะเยา, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, พุทธศาสนา, วัดกลาง, สร้างพิหาร, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัวบดี, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีมีน, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีธนู, ศรีสุทธวงศบวรพงศ์, พระพุทธะ, พระธัมมะ, พระธรรม, สังฆะ, ปูชนียานุเสฏโฐ, ศรีรัตนตรัย, วิวิธสุหิตนาโถ, บุญญัง, ปีกดเส็ด, มาสเกณฑ์, สังขาร, สมบัติ, นิพพาน, บุญ, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุคคล-สมเด็จมหาสามีญาณเทพ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2033

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1817?lang=th

29

จารึกสมิงสิริมะโนราชา

มอญโบราณ

พ.ศ. 2048 สมิงสิริมโนราชาและตะละสุวรรณวดีผู้เป็นภรรยา ได้สถาปนาพระฆรเจดีย์ขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ

จารึกสมิงสิริมะโนราชา, กท. 27, กท. 27, หลักที่ 53 จารึกแผ่นทองแดง อักษรและภาษามอญ, หลักที่ 53 จารึกแผ่นทองแดง อักษรและภาษามอญ, จารึกลานทองแดง อักษรและภาษารามัญ, พ.ศ. 2048, จ.ศ. 866, พ.ศ. 2048, จ.ศ. 866, พุทธศักราช 2048, จุลศักราช 866, พุทธศักราช 2048, จุลศักราช 866, ทองแดง, แผ่นทองแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พุกาม, พระเจ้าศรีตรีภูวนาทิตยบวรธรรมไตรโลกนาถชยธารวิสุทธรามภูมิบาลมหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระผู้มีพระภาคมหาโคตมศากยมุนี, พระบรมศาสดา, พระพุทธเจ้า, พระเจ้าธรรมรามาธิบดี (สมิงธร) ศรีบรมมหาธรรมราชาธิราช, สิริมะโนราชา, สิริมโนราชา, ตะละสุวรรณวดียศ, พระราชโอรส, กษัตริย์, ข้าหลวง, พระนครศรีหงสาวดี, พุทธศาสนา, ประเทศมอญ, พระฆรเจดีย์, เจติยฆร, การสถาปนาพระเจดีย์, การประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ, ปรินิพพาน, พระรัตนตรัย, ศีล, สมาธิ, ปัญญา, พระนิพพาน, กุศล, ฝ่ายโหรา, ฝ่ายศาสนา, จันทร์, พฤหัสบดี, พระเสาร์, ตรียางค์, นวางค์, สมิง, โพธิสมภาร, ภพ, ชาติ, พระไตรปิฎก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึก พ.ศ. 2048, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหงสาวดี, วัตถุ-จารึกบนทองแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่กองหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การสร้างเจดีย์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-สมิงสิริมโนราชา, บุคคล-ตะละสุวรรณวดี

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2048

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/553?lang=th

30

จารึกสถานที่ประดิษฐานพระธาตุ

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

กล่าวถึงสถานที่ที่ใช้ประดิษฐานพระธาตุ

จารึกสถานที่ประดิษฐานพระธาตุ, จารึกการประดิษฐานพระธาตุ, พย. 21, พย. 21, พ.ศ. 2066, พุทธศักราช 2066, พ.ศ. 2066, พุทธศักราช 2066, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, หินทรายสีแดงรูปใบเสมาหักชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถรโพธิสมภารอยู่หัว, สามี, เถรเจ้ามณีวัน, มหาเถรสิริสัทธรรมคีรี, เถรมณี, ราชา, พระเจ้า, พระสงฆ์, พระพุทธเจ้า, เจ้ากู, พระยาอะโส, พระยาอโส, พระเจ้ามือขวา, ดอยทอ, เมิงพยาว, เมืองพะเยา, เมืองพยาว, ลำปาง, กาหลง, เมิงพน, เมืองพน, ท่าสร้อย, ดอยเกิง, ละพูน, กู่คำ, กูมกาม, ลังกา, เชียงราย, ดอยเคื่อง, ดอยเขิง, เมืองลำพูน, เวียงกุมกาม, พุทธศาสนา, มหาเจดีย์หลวงเชียงใหม่, วัดเจดีย์เหลี่ยม, สำนักวัดป่าแก้ว, ประดิษฐานพระธาตุ, ธาตุดูกฝ่ามือซ้าย, ธาตุแขนขวา, ธาตุแขนซ้าย, ธาตุคอก้ำหน้า, ธาตุคอข้างหน้า, ธาตุคอด้านหน้า, ธาตุมือซ้าย, ธาตุข้อมือซ้าย, ธาตุหน้าผากก้ำซ้าย, ธาตุหน้าผากข้างซ้าย, ธาตุหน้าผากด้านซ้าย, ธาตุดูกคางขวา, ธาตุมือขวา, ธาตุย่อยบ่นิยม, ปีเปิกไจ้, ตำนานธาตุ, ฝ่ามือขวา, ธาตุขรมอม, ธาตุกระหม่อม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2066-2071

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1677?lang=th

31

จารึกวิหารวัดศรีบุญเรือง (แพร่)

ฝักขาม

เจ้าเมืองแพร่, แม่, ลูก ร่วมหล่อพระพุทธรูปด้วยทองคำ วันต่อๆ มามีการสร้างวิหาร สร้างปราสาท และเจดีย์ เจ้าเมืองแพร่ได้นำเกศาธาตุ … (ข้อความชำรุด ไม่ต่อเนื่องกัน) … ไปบรรจุในพระเจดีย์

พร. 6 จารึกวิหารวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2040, พร. 6 จารึกวิหารวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จังหวัดแพร่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมิงแพร่, เจ้าเมืองแพร่, เจ้าแผ่นดิน, พระสังฆะ, พระสงฆ์, แม่ลูก, ท้าวกิลนา, ข้าพระ, เจ้าวัดเชียงหมั้นธาตุพระเจ้า, เจ้าวัดเชียงมั่นธาตุพระเจ้า, ประชา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, นักบุญ, อรหันต์, ทองชื่อ, พุทธศาสนา, วิหาร, เจดีย์, ปราสาท, เจติย, หอพระแก้วสามองค์, หล่อพระพุทธรูป, สร้างพิหาร, สร้างวิหารศรีบุญเริง, สร้างวิหารศรีบุญเรือง, สร้างเจดีย์, สร้างปราสาท, สร้างเจติย, ออกบวช, บรรจุพระธาตุ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีกรกฎ, ลัคนา, ราศีกุมภ์, ปีเมิงไส้, เชษฐมาสะ, วันพุธ, ริกบริสุทธิ์, ฤกษ์บริสุทธิ์, เกศาธาตุ, บุญ, ศีลธรรม, เทวดา, เดือนวิสาข, เดินแปด, เดือนแปด, ออก, วันเต่าสี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่ศาลหลักเมือง แพร่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพร่

ศาลหลักเมืองแพร่ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562)

พุทธศักราช 2040

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1946?lang=th

32

จารึกวิหารจันทรอาราม

ฝักขาม

ข้อความในจารึกกล่าวถึงบุคคลชื่อ เจ้าหมื่นทาว ซึ่งมีความปรารถนาในโพธิสมภาร ได้สร้างวิหารจันทรอารามขึ้น และบริจาคที่ดินจำนวนมากแก่วัด ตอนท้ายของจารึกมีการสาปแช่งผู้ที่มาเบียดบังที่ดินและสมบัติของวัดให้ตายและอย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย

ชร. 1 จารึกวิหารจันทรอาราม พ.ศ. 2011, ชร. 1 จารึกวิหารจันทรอาราม พ.ศ. 2011, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, จ.ศ. 830, จุลศักราช 830, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, จ.ศ. 830, จุลศักราช 830, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีสุทธาวาส, อำเภอเวียงป่าเป้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นทาว, หมื่นพลางเงินญาง, พระพุทธเจ้า, เจ้าเชียงราย, ขุน, เจ้าตน, วังเหนือ, พุทธศาสนา, จันทรอาราม, วัดเชียงรอ, วัดลูกพระ, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, พุทธรักษ, ธรรมรักษ, สังฆรักษ, อินทรรักษ, พรหมรักษ, วันริก, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุทธ, พระจันทร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีกรกฏ, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีกุมภ์, โพธิสมภาร, ปีเปิกไจ้, เพ็ง, วันเต่าไจ้, เม็ง,อาทิตย์, ครัว, นา, พระรัตนตรัย, นักทืน, พระว่านทอง, อินทขีล, อินทขิล, ผืน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2011, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง , มีภาพจำลองอักษร, ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-18, ไฟล์; ChR_0100_p), ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 2 (กรุงเทพฯ : มูลนิธิเจมส์ เอช ดับเบิ้ลยู ทอมป์สัน, 2534)

ไม่ปรากฏ (จากการสำรวจเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557 สอบถามข้อมูลจากพระครูคัมภีร์ธรรโมภาส (บรรพต) เจ้าอาวาสวัดศรีสุทธาวาส ท่านกล่าวว่า อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ เมื่อสำรวจครั้งต่อมาวันที่ 29 สิงหาคม 2561 เจ้าหน้าที่แจ้งว่าไม่พบจารึกดังกล่าว คาดว่าอาจส่งคืนไปแล้ว)

พุทธศักราช 2011

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1394?lang=th

33

จารึกวัดไชยเชษฐา

ไทยน้อย

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงพระราชทานที่ดินในการสร้างวัดและวิหาร ตอนท้ายมีใจความสาปแช่งผู้ที่มายึดครองที่ดินเหล่านั้น

นค. 14, นค. 14, จารึกวัดไชยเชฏฐา, ศิลาจารึกวัดไชยเชษฐา (วัดทุ่ง), พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดไชยเชษฐา, บ้านกวนวันใหญ่, ตำบลกวนวัน, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เทวทัต, มหาสังฆราชา, เจ้ามโนรมย์, ธัมมาพรรณ, พระยาธรรมาภินันท์, ประธาน, สมเด็จไชยเชฏฐา, พุทธศาสนา, วิหาร, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพุธ, ราศีมีน, มาสเกณฑ์, หรคุณ, ปีกาบยี่, เดือนยี่, ออก, ดินบ่อน, ภายใน, ภายนอก, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดไชยเชษฐา หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ในพระวิหารวัดไชยเชษฐา บ้านกวนวันใหญ่ ตำบลกวนวัน อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2097

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2396?lang=th

34

จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม

ฝักขาม

เจ้าสี่หมื่นเมืองพะเยาให้ฝังหินใหญ่สี่ก้อนไว้รอบบริเวณอารามทั้งสี่มุมให้เป็นหินคู่บ้านคู่เมือง แล้วประกาศให้ช่วยกันรักษาหินนี้มิให้หักหรือถูกทำลาย

พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, หมื่นบาน, หมื่นพรม, หมื่นล่ามนา, พันเด็กชาย, สี่พันเชิงกูดี, นายร้อย, เจ้าเหนือหัว, เจ้าสี่หมื่น, เจ้าไท, เจ้านาย, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, เจ้าเหนือหัว, สัปปุริส, สี่พันเชิงคดี, สัปปุรุษ, พุทธศาสนา, โลกติลกสังฆาราม, ฝังหิน, กินเมือง, อุปาจาร, แจ่ง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังหินคู่บ้านคู่เมือง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1746?lang=th

35

จารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

ไทยน้อย

เป็นพระบรมราชโองการของสมเด็จพระโพธิสาลราชแห่งล้านช้าง ได้ประกาศให้ท้าวพระยาทั้งปวงช่วยกันฟื้นฟูพุทธศาสนาในวัด อารามต่างๆ ในเมืองจันทบุรี (เวียงจันทน์) และสอดส่องสมณชีพราหมณ์ให้เคร่งครัดในพระวินัย พร้อมทั้งให้ดูแลวิสุงคามสีมา เรือกสวนไร่นา ข้าโอกาสของวัดวาอาราม ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่ทำลายกุศลเจตนาของผู้อุทิศอีกด้วย

นค. 2, นค. 2, ศิลาจารึก ซึ่งได้มาจากวัดแดนเมือง อ. โพนพิสัย จ. หนองคาย อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, หลักที่ 88 ศิลาจารึกวัดแดนเมือง, หลักที่ 88 ศิลาจารึกวัดแดนเมือง, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 2, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 2, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดปัจจันตบุรี, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พระยาแสนสุรินทราชัยไกรเสนาธิบดีศรีสรราชสงคราม, พระยากลางกรุงราชธานี, ประธาน, ข้าทหมื่นใต้เหนือ, ราชบัณฑิต, นันทกุมาร, มหาสามีสารสิทธิมังคละ, ชาวเจ้าสมณพราหมณ์พระอาจารย์, พระภิกษุ, โจรสงฆ์, สมเด็จพระโพธิสาลราช, ลุงพระยา, คนเมือง, คนสังฆการี, ท้าวปะญา, ท้าวพระยา, หมาก, พลู, มะพร้าว, ตาล, ข่อยชื่อ, จันทบุรี, เมืองเวียงจันทน์, ราชธานี, ไร่นาบ้านเมือง, พุทธศาสนา, พระพิหาร, พระวิหาร, สิกขากาม, การสึก, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ปีมะแม, ภัทรมาส, วันอังคาร, ฤกษ์, บุษย, สมเด็จบพิตรพระโพธิสาละราช, อาจุละ, พระอาตานาติย, พระราชอาชญา, นรก,

วัดปัจจันตบุรี ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2078

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2245?lang=th

36

จารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

ไทยน้อย

พระยาปากเจ้า (เจ้าเมืองปากห้วยหลวง) ได้สร้างวัดและอุทิศที่ดินให้แก่วัดแดนเมือง

นค. 1, นค. 1, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 1, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 1, พ.ศ. 2073, พุทธศักราช 2073, พ.ศ. 2073, พุทธศักราช 2073, จ.ศ. 892, จุลศักราช 892, จ.ศ. 892, จุลศักราช 892, ศิลา ประเภทหินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, วัดปัจจันตบุรี, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เจ้าปาก, เจ้าเมืองปากห้วยหลวง, มหาราช, จ่าวัดแดนเมือง, พยานคอน, พระยานคร, พญานคร, เจ้าปากบ้านเมือง, กวานหลวงเหนือ, กว้านหลวงเหนือ, ล่ามอากาศ, แสนข้าว, แสนเข้า, เถ้าเมือง, คนเมือง, อุบาสก, แดนบ้านสับควาย, ห้วยแดนเมือง, บ้านสับคราย, พุทธศาสนา, วัดแดนเมือง, อุทิศที่ดิน, ถวายที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระพุธ, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีตุล, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีกดยี่, ปีกดยี, เดือนห้า, ออก, วันอังคาร, สายยา, ฉายา, มื้อรับบด, มื้อรับมด, ดับเม็ด, อาชญา, คชา, คชญา, วันศุกร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2073, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าโพธิศาละราช, ยุควัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดปัจจันตบุรี หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองปากห้วยหลวง, บุคคล-พระยาปากเจ้า

วัดปัจจันตบุรี ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2073

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2242?lang=th

37

จารึกวัดแก้วหลาด

ฝักขาม

ปี พ.ศ. 2040 พระมหาราชเทวีเป็นเจ้า ได้แต่งตั้งข้าพระไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระพุทธรูป ณ วัดแก้วหลาด

ชม. 4 จารึกวัดแก้วหลาด, ชม. 4 จารึกวัดแก้วหลาด, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามภาษาไทย จ.ศ. 859, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามภาษาไทย จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, พุทธศักราช 859, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, พันรักสา, เจ้าพวกต้องแต้มญานคงคำ, พระมหาราชเทวีเป็นเจ้า, ช่างดาบเรือน, ชาวหนอย, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าขุน, พระเป็นเจ้า, คำพลอย, ควาญช้าง, ข้าหมื่นดง, เฒ่า, ปากรัตนาเรือน, เจ้าวัดแก้วหลาด, มหาเถรเจ้าญาณรังสี, แสเขาพัน, ห้าสิบนารอด, ข้าพระ, พุทธศาสนา, วัดแก้วหลาด, ฝังจารึก, ขัตตฤกษ์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีพิจิก, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีมะเส็ง, วันเมิงไส้, วันเปลิกสง้า, วันเปิกสง้า, ครัว, พระพุทธรูป, อาชญา, บุญ, ปีระวายสี, ออก, วันไทยเมิงไก๊, เม็ง, มอญ, วันเปิกซง้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2040

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1430?lang=th

38

จารึกวัดเวียงกือนา

ฝักขาม

พ.ศ. 2031 นายร้อยเลง ทูลถวายวัด 3 วัด แด่มหาเทวี มหาเทวีทรงมีคำสั่งให้จัดคน 10 ครอบครัว ไว้เพื่อรักษาดูแลวัด

จารึกวัดเวียงกือนา, ชร. 60, 1.4.1.1 วัดเวียงกือนา พ.ศ. 2031 / ค.ศ. 1488, ชร. 60, 1.4.1.1 วัดเวียงกือนา พ.ศ. 2031 / ค.ศ. 1488, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, แผ่นหินสีเทา, รูปใบเสมา, ซากวัดร้าง, ตำบลริมกก, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นายร้อยเลง, พระมหาเทวีเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, พันแพง, สีทาด, อาลาน, ทิดน้อย, คำน้อย, สามกอง, เจ้าเมืองเชียงราย, เฒ่าเมืองคำเรือง, เถ้าเมืองคำเรือง, พันหนังสือพุด, พันหนังสือเหี้ยม, พุทธศาสนา, วัด, ถวายวัด, ฝังเสมาจารึก, ฝังสีมาจารึก, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกรกฎ, พระจันทร์, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีธนู, พระราหู, ราศีตุล, พระเกตุ, ราศีพิจิก, ปีเปิกสัน, วันรวายเส็ด, วันรวายเสด, เม็งวันพุธ, มอญ, ฤกษ์, ดิถี, นาทีดิถี, บุญ, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเวียงกือนา เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายวัด, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-นายร้อยเลง, บุคคล-มหาเทวี

ข้อมูลเดิม วัดเวียงกือนา ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย แต่สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2557 พบว่า จารึกกังกล่าวถูกฝังไว้ใต้ฐานพระเจ้าอกแอ่น พระธาตุพระเจ้าอกแอ่น ตำบลริมกก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

พุทธศักราช 2031

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2091?lang=th

39

จารึกวัดเวฬุวันอาราม

ฝักขาม

เป็นการเล่าเรื่องการสร้างวัดเวฬุวัน ของพันยี่ ได้อาราธนาชาวเจ้าสงฆ์ทั้งหลาย เช่น พระครูเจ้าจุฬาภัยเถรเจ้า ให้มาในอาราม (เวฬุวัน) กล่าวถึง มหาราช มหาเทวี ผู้เป็นเจ้าแผ่นดิน ถวายกุศลในการสร้างวัดแด่มหาเทวี ณ ข่วงพระมหาธาตุฯ ต่อหน้าชาวเจ้าสงฆ์ทั้งหลายมีพระมหาสามีญาณโพธิ แห่งป่าแดงหลวง และพระมหาเถรสวรศรี วัดมหาโพธิ์ พระมหาเถรสุริยะ วัดเชียงโฉม พระญาณมงคลพุกาม วัดสีเสียด และพระมหาเถรโมลี (เมาฬี) พุกาม มีการให้ฝังจารึกไว้กับอารามนี้ (วัดเวฬุวัน) แล้วห้ามมิให้ผู้ใดมาทำการเบียดเบียน เพื่อจะให้อารามนี้มั่นต่อศาสนา 5,000 ปี กล่าวถึงผู้ที่ดำเนินการฝังจารึก คือ เจ้าล่าม หมื่นสุวรรณ เจ้าหมื่นน้อยคำได้กล่าวถึง สมเด็จบพิตรพระสวัสดิศรีธรรมจักรวรรดิ์มหาราช กับ พระราชมาตามหาเทวีแม่ลูกทั้งสอง หลักฐานที่ได้จากจารึกหลักนี้ ยืนยันถึงสถานที่เดิมซึ่งศิลาจารึกหลักนี้ปักอยู่คือ วัดเวฬุวัน ปัจจุบันนี้ได้แก่ วัดกู่เต้า ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่นั่นเอง และบรรดาวัดอื่นๆ ที่อ้างถึง พร้อมด้วยพระภิกษุทั้งหลายนั้น น่าจะเป็นเรื่องที่อยู่ในเขตของจังหวัดเชียงใหม่อีกด้วย สำหรับพระนามของกษัตริย์และพระราชมาตามหาเทวีนั้น ควรเป็น พระเมืองแก้วกับพระราชมารดาของพระองค์

จารึกวัดเวฬุวันอาราม, ลพ. 18, ลพ./18, พช. 30, 352, ลพ. 18, ลพ./18, พช. 30, 352, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, หินทรายสีน้ำตาลออกเหลือง, รูปใบเสมา, วัดสันมะค่า, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พันญีเชากลุน, ชาวเจ้า, สงฆ์, พระครูเจ้า, จุฬาไพยเถรเจ้า, มหาเทวีเจ้า, มหาสามีญาณโพธิ, มหาเถรสวรศรี, มหาเถรสุริยะ, มหาญาณมงคลพุกาม, มหาราชเมาลีพุกาม, เถรานุเถร, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าขุน, เจ้าล่ามหมื่นสุวรรณ, เจ้าหมื่นน้อยคำ, พระภิกษุ, พระพุทธเป็นเจ้า, สมเด็จบพิตรพระสวัสดิศรีธรรมจักวัตตินมหาราชเจ้า, ราชมาตามหาเทวี, มหามัตตะผู้ใหญ่, มหาอำมาตย์ผู้ใหญ่, เจ้าหมื่นหนังสือติกผญา, ป่าแดง, พุทธศาสนา, เวฬุวันอาราม, พระมหาธาตุเจ้า, วัดมหาโพธิ, วัดเชียงโฉม, สร้างอาราม, อารามสีเสียด, ปีเปลิกสัน, เดือนเจียง, ออก, รวงเม็ด, เม็ง, วันพุธ, บุญ, จาริด, จารีต, ครัว, ปีเปิกสัน, ปีเถาะ, ปีเมิงเม้า, ปีเมิงเหม้า, เดือนห้า, เปลิกสี, เปิกสี, พฤหัสบดี, สัสถาวิสล พรไตรรัตนเจ้า, อาณา, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2050, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย, บุคคล-พันยี่, บุคคล-พระครูเจ้าจุฬาภัยเถรเจ้า, พระมหาเถรโมฬี พุกาม, บุคคล-เจ้าล่าม, บุคคล-หมื่นสุวรรณ, บุคคล-เจ้าหมื่นน้อยคำ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2050

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2061?lang=th

40

จารึกวัดเมืองพง (วัดพระเกิด)

ฝักขาม

พ.ศ. 2043 พระมหาราชเทวีผู้เป็นพระราชมารดา ได้มีพระราชดำรัสให้เจ้าพนักงานทำการฝังพระสีมา ณ วัดพระเกิด ทั้งนี้มีการถวายนาและข้าพระแด่วัดด้วย

จารึกวัดเมืองพง (วัดพระเกิด), นน. 2, นน. 2, หลักที่ 72 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ จังหวัดน่าน, หลักที่ 72 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ จังหวัดน่าน, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินชนวน, รูปใบเสมา, วัดเมืองพระ, วัดพงษ์, อำเภอสันติสุข, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาราชเทวีเจ้า, เจ้าหน่วย, เจ้าพวกข้าคน, เจ้าพวกมงคล, หมื่นซ้ายเถา, ผ้าขาวเพิง, อ้ายคำ, หมื่นซ้ายยอด, แม่มิ่ง, หมื่นซ้ายเพก, แม่สิมวาง, กัลยา, พ่อเพ็ง, พ่อไข, นางพิม, มงคล, มหาสามีญานะสูธระเจ้า, ซ้ายสุวัน, นางบูน, ชาวกลอง, เจ้าแคว้น, ข้าวพระ, จามร, หนบางนา, นาพระ, นาจังหัน, พุทธศาสนา, ฝังสีมา, ฝังเสมา, ถวายที่ดิน, ถวายนา, ถวายข้าพระ, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกรกฏ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีมีน, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีเมถุน, ปีกดสัน, พุทธศาสน์, เพ็ง, เพ็ญ, วันพุธ, วันเมิงเหม้า, วันเมิงเม้า, ครัว, ทาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฝังสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-ท้าวบุญแฝง, บุคคล-ท้าวบุญแฝง, บุคคล-พระมหาราชเทวี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2043

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1534?lang=th

41

จารึกวัดเชียงสา

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2096 สมเด็จพระบรมบพิตรองค์เสวยราชย์ทั้ง 2 แผ่นดินล้านช้าง-ล้านนา ได้ถวายที่ดินและข้าวัดแด่วัดเชียงสา ที่ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขง

ชม. 7 จารึกกษัตริย์ล้านช้างล้านนา, ชม. 7 จารึกกษัตริย์ล้านช้างล้านนา, ชม. 7 จารึกวัดเชียงสา พ.ศ. 2096, ชม. 7 จารึกวัดเชียงสา พ.ศ. 2096, 1.4.1.1 วัดเชียงสา พ.ศ. 2097, 1.4.1.1 วัดเชียงสา พ.ศ. 2097, พุทธสถานเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2096, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-มหาสามีญาณคัมภีระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2096

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13074?lang=th

42

จารึกวัดเชียงราย

ฝักขาม

พ.ศ. 2039 สมเด็จพระศรีธรรมมหาบรมจักรวรรดิ์ ธรรมมิกราชาธิราช ได้อุทิศที่นา และข้าพระจำนวนมากแก่วัดบ้านด่าน ทั้งได้มีบัญชาให้บรรดาขุนนางนำจารึกมาฝังไว้เพื่อประกาศห้ามและสาปแช่งผู้ที่มาเบียดบังทรัพย์สินของวัด ข้อความจารึกด้านที่ 2 เป็นรายนามข้าทาสที่อุทิศแก่วัด

ลป. 6 จารึกวัดบ้านด่าน พ.ศ. 2039, ลป. 6 จารึกวัดบ้านด่าน พ.ศ. 2039, จารึกวัดเชียงราย, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามและภาษาไทย, ลป. 6, ลป. 6, ลป/พิเศษ 1, ลป/พิเศษ 1, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, พุทธศักราช 858, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดลำปาง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จพระเป็นเจ้า, ศรีธรรมหาบรมจักรวรรดิ์, ธรรมมิกราชาธิราชบวรนเรนทรมนุญสกลโลกวิชัยตรีภูวนาวตังควรวงศ์, วิสุทธิมกตมณิภูตาธิบดี, พันนาเชียงดี, เจ้าแสนกัลยาณ, เจ้าหมื่นลานนา, โหราธิบดี, เจ้าพันหนังสือ, พระพุทธเจ้า, ฑิตนน, ทิตนน, ฑิตพุด, ทิดพุด, หน่อ, โมก, นางกอง, แก้ว, ทำรัด, คนเงิน, ชาวจัน, อ้ายชี, ญีละ, สิบขับ, อ้ายหาย, หล้าแดน, หง, ปูหล้า, ฑิตสัก, ทิดสัก, ปู่เหม, แก้ว, อ้ายหงวน, สินน้อย, ปู่เจด, อ้ายเหริง, สิบพาย, หน่อพิน, ญีน้อย, ลามส้อย, นางเพียง, นางก้อน, นางหลอย, สามวอก, ไสเหลือ, ฑิดเงิน, ทิดเงิน, เมืองศรีมังคล, เมืองศรีมงคล, เมืองศรีมังคล, พุทธศาสนา, วัดบ้านด่าน, อุทิศที่นา, อุทิศข้าพระ, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, ปีระวายสี, ออก, วันศุกร์, วันเปลิกยี, วันเปลิกยี่, พระศรีรัตนไตรเจ้า, พระศรีรัตนตรัยเจ้า, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีสิงห์, อบายทั้งสี่, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงราย ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-สมเด็จพระศรีธรรมมหาบรมจักรวรรดิ์ ธรรมมิกราชาธิราช

วัดเชียงราย ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560)

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1960?lang=th

43

จารึกวัดเค้าราชสถาน

ฝักขาม

พระสงฆ์ทั้งหลายพร้อมด้วยอาจารย์สวรมาลาได้ทำบุญและถวายส่วนบุญแก่พระเป็นเจ้าแม่ลูก โดยอุทิศที่นาแก่วัดเค้าราชสถาน พระมหาเทวีเองได้อุทิศข้าพระไว้ประจำวัดเป็นจำนวน 10 ครัว (ครอบครัว) ด้วยใจศรัทธา

จารึกวัดเค้าราชสถาน, พย. 58, พย. 58, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยมแตกชำรุด, บ้านสบขาม, ตำบลควน, อำเภอปง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อาจารย์สวรมาลา, พระเป็นเจ้าแม่ลูก, พระมหาเทวีเจ้า, ข้าพระ, แก้ว, บุน, อุ่น, คำน้อย, สมญม, หญา, พุธขิต, จินดา, เจ้าแคว้น, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, มงคล, พวกขัน, เถ้าเมิงเทพ, เถ้าเมืองเทพมงคล, เมิงสุวันหนังสือ, เมืองสุวันหนังสือ, พรหมหนังสือปัญโญ, มหาสามี, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, เจ้าเถรานุเถร, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, จาริด, จารึก, พุทธศาสนา, ทำบุญ, อุทิศส่วนบุญ, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, ออก, วันเปิกซง้า, ไทยภาษา, พระจันทร์, ศีล, โรหิณีรืกส, โรหิณีฤกษ์, โกฐาสบุญ, ที่นา, พระราชาอาชญา, มอญ, เริน, เรือน, ครัว, เมิง, เมือง, พระพุทธรูป, อบายทั้งสี่, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-อาจารย์สวรมาลา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1832?lang=th

44

จารึกวัดเขมา

ไทยสุโขทัย

คำจารึกตอนต้นชำรุดมากอ่านไม่ใคร่ได้ความ เท่าที่ยังเหลืออยู่เป็นเรื่องเจ้าเทพรูจี อุปสมบทเป็นภิกษุ และภายหลังได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ พร้อมด้วยญาติและพวกสัตบุรุษ เมื่อปี พ.ศ. 2079

จารึกวัดเขมา, สท. 11, สท. 11, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเขมา, ริมถนนพระร่วง, สุโขทัย, ไทย, อยุธยา, พระมหาเถร, เจ้าเทพรูจี, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, บาผ้าขาว, เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช, นักบุญ, เจ้าหมื่นเทพเนรมิต, สมเด็จมหาอุบาสก, บาผ้าขาวเทพ, ท้าว, พระยา, ครูอุปัชฌาย์, อำแดงกอน, อำแดงหอม, อำแดงเสน, อำแดงหยาด, นายพันพิษณุกรรม, นายสัง, นายเทพไชย, อำแดงยอด, อำแดงยศ, อีบุนรัก, มหาเวสสันดร, นักบุญ, พระสงฆ์, ผ้าเบงจตี, เครื่องสำรับ, อาสน, บาตรทองเหลือง, บาตรพระเจ้า, ลางพานเทส,ลางพานเทศ, ถ้วยโคมลาย, ถ้วยบริพัน, บายศรีบูชาพระเจ้า, ตเลิงทองเหลือง, หมากบูชาพระเจ้า, เลียนทองสัมฤทธิ์, เลียนทองสำริด, เลียนเทส, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสัมฤทธิ์, น้ำบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสำริด, น้ำมังเบือ, กากะเยีย, เพดานธรรมมาส, ไม้ประดับ, ตาตุ่มทองเหลือง, ฆ้อง, กลอง, กังสะดาล, หินพิง, หินดาดที่นั่ง, ที่พระเจ้า, หินแลง, กากะเยีย , พุทธศาสนา, พิหาร, วิหาร, รีสพัง, สรีดภงส์, พระเจดีย์, อุปสมบท, บวช, กัลปนา, เทพยดา, เทพดา, เทวดา, น้ำอาบ, น้ำกิน, ทรัพย์สาธารณ, กำแพง, บาท, ตำลึง, สลึง, ปีวอก, เชษฐมาส, พยาบาล, ศอก, พระธรรมคัมภีร์, พระสมุดชายปัก, เพดานธรรมาส, ชั่ง, ธรรม, บ่อน้ำ, สวน, ไร่, นา, รือก, บิ้ง, สารากร, บุริสการ, พระพุทธ, พระธรรม, อานิสงส์, สวรรค์, นิพพาน, โพธิสมภาร, ชาติ, สมบัติ, พยาธิ, เปรตดิรัจฉาน, เปรตเดรัจฉาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จารึกสมัยสุโขทัย, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 : เป็นจารึกกรุงสุโขทัยที่ได้พบก่อน พ.ศ. 2467, อายุ-พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-เจ้าเทพรูจี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 2079

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/222?lang=th

45

จารึกวัดอุทุมพรอาราม

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2045 สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีเจ้าได้ให้น้องพระเป็นเจ้า เจ้าพวกญานะคงคาต้องแต้ม และเจ้าพันเชาพุดร่วมกันประดิษฐานศิลาจารึกเพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ถวายวัดอุทุมพร ห้ามมิให้ผู้ใดนำไปใช้ในงานอื่น

ชม. 175 จารึกวัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, ชม. 175 จารึกวัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, ชม. 175, ชม. 175, 1.4.1.1 วัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, 1.4.1.1 วัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พุทธศักราช 2045, จุลศักราช 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จ.ศ. 864, ปูนหล่อ, เศษชิ้นส่วน, สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, เจ้าพวกญาณะคงคาต้องแต้ม, เจ้าพันเชาพุด, นายไส, เจ้าสิบคำดาบเริน, เจ้าพันนาหลังญาณะวิสารอด, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนปูนหล่อ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2045

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15675?lang=th

46

จารึกวัดอารามป่าน้อย

ฝักขาม

สมเด็จบพิตร พ่อครูพระเป็นเจ้า เจ้าสี่หมื่นพยาวได้ถวายข้าพระไว้ปฏิบัติดูแลพระพุทธรูปในวัดอารามป่าน้อย และให้จารึกรายชื่อข้าพระเหล่านี้ไว้ในศิลาจารึก ตอนท้ายกล่าวอุทิศผลบุญที่ได้นี้แก่พระเจ้าแผ่นดิน เทพเจ้า พระภิกษุ และสัตว์ทั้งหลายในจักรวาล

จารึกวัดอารามป่าน้อย, พย. 26, พย. 26, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดอารามป่าน้อย, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์, พรหม, เทวดา, เทพดาท้าวจตุโลกบาล, สมเด็จบพิตร, พ่อครูพระเป็นเจ้า, เจ้าสี่หมื่นพยาว, เจ้าสี่หมื่นพะเยา, พระพุทธเจ้า, อิน, เอ้ย, เอื้อย, อี่, ญอด, หล้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, มหาเถรเจ้านารอดป่าเหียง เจ้าขุน, พระเป็นเจ้าเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน, ภิกขุสมณพราหมณ์, เมิงพยาว, เมิงพะเยา, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, เมิงเชียงใหม่, เมืองเชียงใหม่, พุทธศาสนา, วัดอารามป่าน้อย, กินเมิง, กินเมือง, กินพันนาดอนแปลง, ปีกาบยี, พุทธศาสน์, หูรา, โหรา, เดินเจียง, เดือนเจียง, ออก, วันเปิดเส้ด, เม็ง, รืก, ฤกษ์, บุรพภัทรบท, สิทธิรืก, สิทธิฤกษ์, พระพุทธรูป, ครัว, การเมิง, การเมือง, โกฐาสบุญ, พระทศราชธรรม, ส่วนบุญ, มอญ, ปุตรภาทรบท, สัตว์, อนันตจักราวาล, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2037, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดอารามป่าน้อย พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-สมเด็จบพิตร, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดอารามป่าน้อย ตำบลดงเจน อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2037

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1698?lang=th

47

จารึกวัดอารามป่าญะ

ฝักขาม

พ.ศ. 2038 ณ วัดอารามป่าญะ อันเจ้าเหนือหัวปู่หม่อนพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองแม่ใน (หมายถึง พระเจ้าสามฝั่งแกน) ให้สร้างไว้ สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองพิงจึงใด้ให้คนนำพระราชโองการมามอบแก่พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพยาว ให้พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพยาวพิจารณามอบหมายข้าพระจำนวนมากไว้ดูแลวัดและพระสงฆ์ โดยประกาศรายชื่อข้าพระเหล่านั้นไว้ในศิลาจารึก

จารึกวัดอารามป่าญะ, พย. 7, พย. 7, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, หลักที่ 103 ศิลาจารึกวัดศรีโคมคำ, หลักที่ 103 ศิลาจารึกวัดศรีโคมคำ, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, ม.ศ. 857, มหาศักราช 857, ม.ศ. 857, มหาศักราช 857, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดป่าญะ, อารามป่าญะ, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์, พรหม, ท้าวจตุโลกบาล, เจ้าเหนือหัวปู่หม่อนพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองแม่ใน, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองพิง, นางเถ้าแก่หน้าโรง, พระราชครู, พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพยาว, พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพะเยา, ครูพระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือนนต่างเมือง, เจ้าล่ามดาบน้อยพระเป็นเจ้า, ข้าพระ, โมคคลีบุตร, ญาค่า, ป้าเอื้อย, พี่เอื้อย, สินปี, ใสหล้า, สีวัง, ปู่เงิน, ปู่ปี, พระพุทะเจ้า, มหาสังฆราชาเจ้าวัดหลวง, อ้ายขอ, พระเจ้าสามฝั่งแกน, มหาเถรเจ้าสีหลไถยตุลปัญโญ, มหาเจ้าธรรมเสนา, เจ้าไท, นางข่ายหน้าโรงหนึ่งหมื่นนาหลังเทพ, นายร้อยมงคล, ลูกโระหนึ่ง, พันหนังสือสีทาด, พันหนังสือเมือง, หมอทิดน้อยยาแก้, พันเขาหริแหนน, พันเขาหริแน่น, นานคำหล้าแขก, นายคำหลาแขก, เจ้าขุน, ปู่แก้ว, คำหมอ, ปู่รัด, พระเป็นเจ้าเจ้าเมืองพิง, เจ้าล่ามยี่ดาบน้อย, นางหน้าโรง, อธิบดี, สมณพราหมณ์, พระภิกษุ, หมาก, จารึกหิน, เบ้, เบี้ย, สวนหงส์, บ้านพลาว, บ้านพลาง, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, หูรา, วันศุกร์, วันรวงเหม้า, ดิถี, เชษฐะ, เชษถะ, เชษฎา, วัดอารามป่าญะ, อาราม, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีสิงห์, พระจันทร์, ราศีพิจิก, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีมังกร, ปีดับเหม้า, พระราชโองการ, อาณาบุญ, ครัว, กดหมาย, นิยาม, อุปัฏฐาก, พุทธรังสีทหูราชา, เม็ง, มอญ, โกฐาสบุญ, ชาติ, นฤพาน, นิพพาน, เนียรพาน, เทพดา, อนันจักรวาล, ส่วนบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ระชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาสามฝั่งแกน, บุคคล-พญาสามฝั่งแกน, บุคคล-เจ้าเมืองพิง, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2038

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1571?lang=th

48

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 9

ฝักขาม

จารึกชำรุด กล่าวถึงบุคคลท่านหนึ่งได้ให้นำเรือมาประดิษฐาน และได้ซื้อที่ดินเพื่อสร้างวัด

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 9, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 9, ชม. 165.7, ชม. 165.7, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานเรือ, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18098?lang=th

49

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 8

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 8, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 8, ชม. 165.6, ชม. 165.6, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18058?lang=th

50

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 7

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 7, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 7, ชม. 165.5, ชม. 165.5, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18056?lang=th

51

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 6

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 6, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 6, ชม. 165.4, ชม. 165.4, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18039?lang=th

52

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 5

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 5, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 5, ชม. 165.3, ชม. 165.3, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17999?lang=th

53

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 4

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 4, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 4, ชม. 165.2, ชม. 165.2, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17974?lang=th

54

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 3

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึก ชม. 165.1, จารึก ชม. 165.1, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 3, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 3, ชม. 165.1, ชม. 165.1, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17850?lang=th

55

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 2

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึก ชม. 164, จารึก ชม. 164, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 2, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 2, ชม. 164, ชม. 164, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดิน, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17815?lang=th

56

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 18

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 18, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 18, 166.8, ชม. 166.8, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18122?lang=th

57

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 17

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 17, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 17, 166.7, ชม. 166.7, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18120?lang=th

58

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 16

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 16, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 16, 166.6, ชม. 166.6, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18118?lang=th

59

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 15

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 15, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 15, 166.5, ชม. 166.5, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18116?lang=th

60

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 14

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 14, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 14, 166.4, ชม. 166.4, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18114?lang=th

61

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 13

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 13, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 13, 166.3, ชม. 166.3, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18112?lang=th

62

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 12

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 12, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 12, 166.2, ชม. 166.2, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18110?lang=th

63

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 11

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 11, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 11, 166.1, ชม. 166.1, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18102?lang=th

64

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 10

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 10, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 10, ชม. 165.8, ชม. 165.8, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18100?lang=th

65

จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 1

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึก ชม. 163, จารึก ชม. 163, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 1, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 1, ชม. 163, ชม. 163, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17813?lang=th

66

จารึกวัดหลวง (เชียงราย)

ฝักขาม

ใน พ.ศ. 2065 มีการถวายข้าพระ เงิน และสิ่งของจำนวนมากแก่วัดหลวง

พย. 14 จารึกวัดหลวง พ.ศ. 2065, พย. 14 จารึกวัดหลวง พ.ศ. 2065, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมาหักชำรุด, วัดต้นหนุน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาสามีญาณโพธิ, เจ้าหมื่นเขม, อารามิก, พระพุทธเจ้า, มหาสังฆราชาพระศรีวรสังฆราชาพระเกิดเชียงราย, เจ้าขุน, สงฆ์, มหาแก้วพอตา, พระพุทธเจ้าวัดหลวง, พระเจ้าสวามีเจติยะหลวงเจ้า, ร้อยเปงญา, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้ารอดเชียงราย, ข้าพระ, ล่ามดาบ, เจ้าพัน, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, หล้า, หงสาคำฟอง, เอ้ยน้อย, เอื้อยน้อย, อี่น้อย, ไสเหิรา, ญาสี, น้ำมัน, ข้าวชื่อ, แคว้นดงเชียงราย, พุทธศาสนา, วัดมหาเจดีย์หลวง, วัดหลวงแสนข้าว, วัดหลวงบ้านเขม, ถวายข้าพระ, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, พระราหู, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีตุล, ลัคนา, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ปีมะแม, เต่าสง้า, เต่าซง้า, เดือนผลคุน, เดือนผาลคุนะ, วันปหัสปติ, วันพฤหัสบดี, วันกดยี, จันทร์กินฤกษ์, จันทร์เสวยฤกษ์, จิตระ, จิตรา, วันลงขนาน, หนเวียง, ครัว, อุปัฏฐาก, ทางในเมือง, ฝ่ายคามวาสี, บุญ, ศีลาทาน, พระทองสมริด, พระทองสำริด, พระทองสัมฤทธิ์, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2065

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1640?lang=th

67

จารึกวัดหมื่นลอ

ฝักขาม

ข้อความจารึกเป็นบัญชีรายชื่อที่นาที่เป็นของวัดหมื่นลอ

จารึกวัดหมื่นลอ, พย. 59, พย. 59, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, หินทรายสีแดง, หลักสี่เหลี่ยมชำรุด, วัดหมื่นลอ, ตำบลท่าร้อง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนาชื่อ, นาวัดหมื่นลอ, นาพรอง, นาลมแลง, นาขี้กา, ไร่หลวง, นาผีตาย, นาปูรู, นาปู่รู, นาบู, นาอู, นาปลก, ผาง, ตะคัน, นาเรอกาว, นาแกดอ, นาเขือบ้า, นาถอน, นาทอง, นาแทงาลุ่ม, นารางหมู, นาหลักขาง, นาหลักช้าง, นามาดาย, นาดอนกลาง, นาดอนใต้, นาสี่พันเบ้, นาสี่พันเบี้ย, นาห้วยดอนทับ, นาบ้านออง, นาดอนไร่, นาจังหัน, นาท่อ, ริมหนอง, นาป่า, นาปง, พุทธศาสนา, วัดนาหองผาก, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศีมีน, พระอังคาร, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปรเมิงไส้, ข้าว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2040

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1837?lang=th

68

จารึกวัดหนองหนาม

ฝักขาม

ก. กล่าวถึงพระราชเทวี ให้ทองสักโกอันเกลือกด้วยทองคำ เป็นจำนวน 100 บาท เฟื้องคำ เพื่อใส่ยอดพระธาตุเจดีย์เจ้าที่วัดข่วงชุมแก้ว เมืองควก พร้อมกับไว้คนอุปฐากพระเจ้า 10 ครัว
ข. อ้างถึงแม่ของพระเถรมงคลพุทธิมา หยาดน้ำ (กรวดน้ำ) ไว้ข้าพระ
ค. พระมหาเถรมงคลพุทธิมา สร้างวัดข่วงชุมแก้ว เมืองควก

จารึกวัดหนองหนาม, ลพ. 23, ลพ./23, พช. 37, 349, หลักที่ 68 ศิลาจารึกวัดหนองหนาม, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, จ.ศ. 851, จุลศักราช 851, จ.ศ. 851, จุลศักราช 851, หินแปรสีดำ, รูปใบเสมา, วัดหนองหนาม, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาราชเทวี, พระพุทธเจ้า, ศีลบาล, นายสอย, อีนางลูกเงินผง, อกลุน, ญีบุญ, ช่างดาบน้อย, สังฆรักษา, เมียคำช้อย, บุญเชียงจัน, สามปัน, พันจัน, อ้ายเทา, ศีลวา, เมียเถรชิบ, แม่มหาเถรมงคลพุทธิมาเจ้า, คโยม, อ้ายพญี, อ้ายกำ, มลานน้อย, ทองดำ, พระพุทธเจ้า, พระมหาพุกามเจ้า, มหาสามีศรีสุนันทกัลยาณราชบัณฑิต, พันนาหลังเชียงน้อย, แสนเขาสอย, ร้อยนาหลังล่ามหมื่น, ลำพันคำคอม, มหาญาณมงคลเจ้า, เจ้าภิกษุ, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, ทองคำ, ทองสักโก, ทองจังโก๋, ราชบัณฑิต, เมืองควก, พุทธศาสนา, พระเจติยเจ้า, วัดขวงชุมแก้ว, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, สร้างอาราม, ฝังจาริต, ฝังจารึก, ฝังจารีต, ผูกพัทธสีมา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพฤหัสบดี, พระเสาร์, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระพุธ, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีพิจิก, ปีกัดเรา, ปีกัดเร้า, เดือนมฤคศิร, เพ็ง, กัดไส้, ฤกษ์, บุญ, บาท, เฟื้อง, อุปัฏฐาก, ครัว, เพ็ง, วันเพ็ญ, ราศีกรกฎ, ราศีมังกร, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2032, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, วัตถุ-จารึกบนหินแปรสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระราชเทวี, บุคคล-พระเถรมงคลพุทธิมา, บุคคล-แม่ของพระเถรมงคลพุทธิมา, บุคคล-เจ้าแม่ไณ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2032

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2006?lang=th

69

จารึกวัดหนองสระ

ฝักขาม

ข้อความที่จารึกเป็นรายชื่อของข้าพระ

จารึกวัดหนองสระ, พย. 50, พย. 50, หินทรายสีแดง, แผ่นจารึก, วัดหนองสระ, ตำบลป่าแฝก, อำเภอแม่ใจ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อสาน, นายครัว, สามชาย, เจ้าแคว้นวารือแดน, จาริ, สา, พนา, ไหม, เกลา, เถ้าเมิงคำ, เถ้าเมืองคำ, เจ้าหมื่นเชียง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1772?lang=th

70

จารึกวัดหนองกวาง

ฝักขาม

เมื่อปี พ.ศ. 2009 เจ้าหมื่นมหาได้สร้างวัดหนองกวาง ทั้งยังได้ถวายที่ดิน และเงินแก่วัด ครั้นปี พ.ศ. 2056 เจ้าหมื่นคำฉางมาปกครองเมืองอ้อยนี้ ก็ได้ถวายที่ดินและเงินแก่วัดตามที่เจ้าหมื่นมหาได้เคยทำไว้

จารึกวัดหนองกวาง, พย. 1, พย. 1, หลักที่ 99 ศิลาจารึกวัดหนองกวาง, หลักที่ 99 ศิลาจารึกวัดหนองกวาง, คำอ่านศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, พ.ศ. 875, พุทธศักราช 875, พ.ศ. 2009, พุทธศักราช 2009, พ.ศ. 2009, พุทธศักราช 2009, จ.ศ. 824, จุลศักราช 824, พ.ศ. 824, พุทธศักราช 824, หินชนวนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดหนองกวาง (วัดร้าง), จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นมหา, เจ้าหมื่นสาม, เจ้าหมื่นคำฉาง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระเป็นเจ้า, มหาเถรเจ้าญาณโพธิ, ประธาน, เจ้าไท, สังฆราชเจ้าวัดหลวง, สังฆราชาเจ้าวัดอ้อย, มหาเถรเทพเจ้าศรีชูมมหาสามมีเจ้าหนองนัน, พันนาหลังเทพ, พันหนังสือพุด, เถ้าเมิงขวัญ, หมาก, เบ้, เบี้ยชื่อ, บ้าน, บ้านอ้อย, เมิงอ้อย, เมืองอ้อย, บ้านส้อม, บ้านญาเทพ, ทางหลวง, พุทธศาสนา, วัดหนองกวาง, สว้างวัด, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, ปกครองเมือง, หยาดน้ำ, กรวด น้ำ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีมีน, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระเกตุ, ราศีธนู, ลัคนา, ราศีมังกร, ปีระวายเส็ด, ปีรวายเส็ด, ออก, วันกดซง้า, วันกดสะง้า, เม็ง, นา, ปีกาเร้า, ปีกาเล้า, เดินยี่, เดือนยี่, ออก, วันเปิกยี, แผ่นดิน, บุญญะ, ทาน, ราศีพิจิก, ราศีเมถุน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2056, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดและศาสนสถาน, บุคคล-เจ้าหมื่ืนมหา, บุคคล-เจ้าหมื่นคำฉาง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), 2) ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2056

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1552?lang=th

71

จารึกวัดสุวัณณาราม

ฝักขาม

พ.ศ. 2060 บุคคลผู้หนึ่ง (จารึกชำรุด ไม่ทราบว่าเป็นใคร) ได้มีจิตศรัทธาทำบุญ ณ วัดสุวัณณาราม และวัดอื่นๆ ด้วยเงิน และทองคำจำนวนมาก

จารึกวัดสุวัณณาราม, พย. 51, พย. 51, จารึกการบำเพ็ญบุญในวัดสุวรรณาราม, 1.5.1.1 วัดสุวรรณาราม พ.ศ. 2060 / ค.ศ. 1518, 1.5.1.1 วัดสุวรรณาราม พ.ศ. 2060 / ค.ศ. 1518, พ.ศ. 2060, พุทธศักราช 2060, พ.ศ. 2060, พุทธศักราช 2060, หินสีเทา, แผ่นจารึก, วัดร้าง, วัดลี, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เงิน, ทองคำชื่อ, บ้านป่าพร้าว, เมิง, เมือง, พระพุทธเจ้า, วัดสุวัณณาราม, กะทำบุญ, วงดวงชาตา, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีพิจิก, ปีฉลู, ปีเมิงเป้า, เดินผลคุน, เดือนผลคุน, เม็ง, มอญ, วันกาไก๊, นักขัตฤกษ์, หัสตะ, นักขัตฤกษ์, หรคุณ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2060, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2060

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1779?lang=th

72

จารึกวัดสาลกัลญาณมหันตาราม

ฝักขาม

พ.ศ. 2031 ศรีสัทธรรมกุรมหาบรมจักรวัตติราชาธิราชได้เป็นเจ้าเมืองพิงค์ เชียงใหม่ และแต่งตั้งให้ อติชวญาณบวรสิทธิ เป็นหมื่นดาบเรือน อติชวญาณบวรสิทธิมีศรัทธาจึงได้ชักชวนผู้คนมาร่วมสร้างวิหารและมหาเจดีย์ พร้อมปลูกพระศรีมหาโพธิไว้ ณ ที่นี้ ตั้งชื่อว่า สาลกัลญาณมหันตาราม

ชม. 21 จารึกวัดสาลกัลญาณมหันตาราม พ.ศ. 2031, ชม. 21 จารึกวัดสาลกัลญาณมหันตาราม พ.ศ. 2031, ชม. 21, ชม. 21, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, หินทรายสีแดง, หลักสี่เหลี่ยม, ศรีสัทธรรมกุรมหาบรมจักรวัตติราชาธิราช, เมืองพิงค์, อติชวญาณบวรสิทธิ, พระศรีมหาโพธิ, วัดสาลกัลญาณมหันตาราม ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสาลกัลญาณมหันตาราม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดสาลกัลญาณมหันตาราม, บุคคล-ศรีสัทธรรมกุรมหาบรมจักรวัตติราชาธิราช, บุคคล-อติชวญาณบวรสิทธิ, บุคคล-มหาญาณสุนทร, บุคคล-มหาเถรวชิรโพธิเจ้า, บุคคล-มหาเถรจันทปัญโญเจ้า

วัดป่าตึง ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2031

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15618?lang=th

73

จารึกวัดศรีเกิด

ฝักขาม

พ.ศ. 2032 มหาสามีสัทธรรมราชรัตนาเจ้าได้สร้างมหาเจดีย์และมหาวิหารในอารามวัดศรีเกิด แล้วอุทิศบุญกุศลแด่กษัตริย์แลพระมารดา พร้อมผูกสีมา สถาปนาศิลาจารึกเพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่อุทิศแก่พระอาราม

มส. 1 จารึกเมืองปาย, มส. 1 จารึกวัดศรีเกิด พ.ศ. 2033, 1.1.1.1 อารามศรีเกิด พ.ศ. 2033, มส. 1 จารึกเมืองปาย, มส. 1 จารึกวัดศรีเกิด พ.ศ. 2033, 1.1.1.1 อารามศรีเกิด พ.ศ. 2033, มส. 1, ศิลาจารึกวัดศรีเกิด อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2032-2033, มส. 1 ศิลาจารึกวัดศรีเกิด อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2032-2033, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, วัดหนองบัว, อำเภอปาย, จังหวัดแม่ฮ่องสอน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีสัตธัมมราชรัตนเจ้า, มหาสามีสัตธรรมราชรัตนเจ้า, พระแม่ลูก, มหาเทวีเจ้า, ชาวอาราม, มหาสามีเจ้า, พระเมือง, คนทาน, เจ้าพันน้อย, ปู่เหม, บุดสังเทบ, บุดสังเทพ, พ่อน้อย, ธรรมจินดา, ขุน, พระพุทธเจ้า, เชียงบุน, อิน, นายคำดง, เจ้าเถรเทบ, เจ้าเถรเทพ, พันนาดง, พันนาหลัง, เฒ่าเมือง, เถ้าเมือง, พระเมืองเจ้าแผ่นดิน, พระสงฆ์, พุทธศาสนา, อารามศรีเกิด, พระมหาเจดีย์, สร้างมหาเจดีย์, สร้างมหาวิหาร, สร้างวิหาร, หล่อองค์พระ, ผูกอุโบสถ, ผูกสีมา, ผูกเสมา, ปีกดเสด, ปีกดเส็ด, อุปัฎฐาก, พระพุทธรูป, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ปีกัดเร้า, บุญ, อาชญา, ครัว, นิรย, นรก, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 11, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, บนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีเกิด แม่ฮ่องสอน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหารเรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-มหาสามีสัทธรรมราชรัตนาเจ้า

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 ม.4 ตำบลแม่นาเติง อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน

พุทธศักราช 2033

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12846?lang=th

74

จารึกวัดศรีสุพรรณ

ฝักขาม

ข้อความจารึกด้านที่ 1 กล่าวถึงเจ้าเมืองพิงเชียงใหม่และพระราชมาดามหาเทวีเจ้าได้อัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐาน ณ มหาวิหารให้ชื่อว่า ศรีสุพรรณอาราม เพื่อถวายพระกุศลแด่เจ้าแผ่นดินสองพระองค์ จากนั้นได้นิมนต์มหาเถรญาณรัตนจากวัดหมื่นล้านให้มาอยู่เป็นอาทิสังฆนายกในอารามแห่งนี้  ด้านที่ 2 กล่าวถึงการสร้างพระอุโบสถและประดิษฐานพระธาตุในมหาเจดีย์

ชม. 25 จารึกวัดศรีสุพรรณ, 1.2.1.1 วัดศรีสุพรรณอาราม พ.ศ. 2052, ชม. 25 จารึกวัดศรีสุพรรณ (พ.ศ. 2052), ชม. 25 จารึกวัดศรีสุพรรณ, 1.2.1.1 วัดศรีสุพรรณอาราม พ.ศ. 2052, ชม. 25 จารึกวัดศรีสุพรรณ (พ.ศ. 2052), วันพุธ, วันรวงเม็ด, วันเต่าสัน, วันรวงไค้, วันมหาเถรญาณรัตน, วัดหมื่นล้าน, วันพฤหัสบดี, วันกาเม็ด, วันสร้างมหาวิหาร, วันก่อมหาเจดีย์, วันรวงไส้, วันกดซง้า, มิถุนายน, สมเดจบพิตรพระเป็นเจ้า, ปีกดสัน, เดือนมาฆ, ไทยรวงไค้, ธนิษฐา, สมเด็จบพิตรพระมหาราชเจ้าเจ้าเมืองพิงเชียงใหม่, พระราชมาดามหาเทวีเจ้า, เจ้าหมื่นหลวงจ่าคำรังการ, ศรีสุพรรณอาราม, ปีเต่าเส็ด, เดือนอาษาฒ, ปีกาไค้, เดือนวิสาขะ, ไทยรวงไส้, ยามกลองงาย, วัดศรีสุพรรณอาราม, สมเด็จมหาสามีศรีสัทธรรมโพธิเจ้า, สมเด็จพระราชครูเจ้า, ลำพันเชียงชาด, แสนข้าวไส, แสนข้าวอิน, เจ้าหมื่นหลวงจ่าคำ, เจ้าจันทรภัทรา, เถ้าเมืองแก้ว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2052, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-เมืองพิงเชียงใหม่, บุคคล-สมเด็จมหาสามีศรีสัทธรรมโพธิเจ้า, บุคคล-เจ้าหมื่นหลวงจ่าคำ, บุคคล-เจ้าจันทรภัทรา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พุทธศักราช 2052

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16441?lang=th

75

จารึกวัดศรีสุทธาวาส

ฝักขาม

พ.ศ. 2045 เจ้าพันนาหลังญานะสารอดได้สร้างมหาวิหาร พร้อมทั้งได้ถวายข้าพระและสิ่งของจำนวนมาก

ชร. 5 จารึกวัดศรีสุทธาวาส พ.ศ. 2045, ชร. 5 จารึกวัดศรีสุทธาวาส พ.ศ. 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, วัดศรีสุทธาวาส, อำเภอเวียงป่าเป้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา,เจ้าพันนาหลังญานะสารอด, ข้าพระ, แม่เจ้า, เจ้าเอ้ยกัลยา, เจ้าเอื้อยกัลยา, พ่อลอย, เพก, ล่ามลุน, บาไส, อ้ายหลวง, บาเงิน, คำกิง, นักบุญ, เจ้าจุมคำ, บุนแงน, ปู่แก้ว, นางหล้า, พันข้าว, อ้ายน้อยคางลาย, ล่ามแก้ว, ทิดน้อย, พระพุทธเจ้า, ล่ามยอง, พี่เอ้ย, พี่เอื้อย, มหาสามีเจ้า, ล่ามนน, พ่อหญัวเจ้า, เจ้าหมื่นพรานคำ, มหาเทวีเจ้า, ลานจิว, พระเป็นเจ้า, พันหลวง, แสนข้าวญานะกิตติ, แสนข้าวสินน้อย, แสนข้าวขุน, เจ้าพันแก้วพวกเรือ, เจ้าหัว, แสนข้าวคำ, แสนข้าวหูน, แสนข้าวสามี, แสนข้าวอิน, แสนข้าวศรีขัน, แสนข้าวกิง, วัว, โค, เกวียน, เงิน, ไม้สัก, พุทธศาสนา, มหาวิหาร, วัดคำเริง, วัดป่าแดง, วัดเชตวัน, วัดหลวง, สร้างมหาวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างวัด, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระราหู, ราศีเมษ, ปีเต่าเส็ด, พุทธศาสน์, วันอาทิตย์, วันเต่าไจ้, ผลคุน, ผลคุณ, ครัว, พระพุทธรูป, บ้าน, วันพุธ, เม็ง, มอญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จา่รึกบนหินสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีสุทธาวาส เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, บุคคล-เจ้าพันนาหลังญานะสารอด, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีสุทธาวาส ตำบลสันสลี อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2045

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1438?lang=th

76

จารึกวัดศรีบุญเรือง (เชียงใหม่)

ฝักขาม

กล่าวถึงการทำบุญ ณ วัดศรีบุญเรือง โดยการประดิษฐานพระพุทธรูป ถวายนา และถวายข้าพระ

ชม. 16 จารึกวัดศรีบุญเรือง, ชม. 16 จารึกวัดศรีบุญเรือง, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย จ.ศ. 858, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย จ.ศ. 858, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, พ.ศ. 2003, พุทธศักราช 2003, พ.ศ. 2003, พุทธศักราช 2003, จ.ศ. 822, จุลศักราช 822, จ.ศ. 822, จุลศักราช 822, หินทรายสีเทา, วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร, ตำบลบ้านหลวง, อำเภอจอมทอง, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีญาณวิลาศ, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้าสังฆ, พระภิกษุ, สืบญาณวัน, เฒ่าจง, คนหลวง, นางบุญ, ชายอกเทียน, อีทอง, ญาณเกวียน, หมื่นญาณเทวา, นักบุญ, พันน้อยปัญญา, ไขสาน, ข้าขนาด, ข้าราชทาน, เอ็ดทา, อ้ายสิน, พระมหาสามีเจ้า, ไอ้ขวา, ข้าสามหมื่น, เอินน้อย, อารามิก, พวกญาณคำแหงล หมื่นวัวห้าเกวียน, หมื่นขวา, หมื่นซ้าย, แสนเข้าแจ่ม, หมื่นเข้าส้อย, หมื่อนเข้าเหม, หมื่นเข้าสวน, ปัญญาเข้าฝูง, ทอง, ข้าวบูชาพระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, วัดศรีบุญเรือง, ถวายพระพุทธรูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, ถวายนา, ถวายที่นา, ถวายข้าพระ, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีสิงห์, ปีระวายสี, ออก, วันระวายไจ้, เม็ง, มอญ, วันอาทิตย์, ปุษยนักษัตร, พระพุทธรูป, ครัว, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป

ด้านซ้ายของประตูพระวิหาร วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1493?lang=th

77

จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก)

ฝักขาม

จารึกหลักนี้ได้กล่าวถึงเรื่อง
ก. สมเด็จพระมหาสวามีศรีมงคลโพธิญาณเจ้า ผู้เป็นอธิบดีในป่าแดงหลวง ให้มหาเถรชัยบาลรัตนปัญญาขออนุญาตมหาธรรมราชาธิราช เพื่อฝังจารึก ณ วัดวิสุทธาราม ณ เมืองพะเยา เพื่อเป็นการสืบอายุพระพุทธศาสนาให้ถาวร 5,000 ปี
ข. กล่าวถึงสมเด็จพระเป็นเจ้าทั้งสองพระองค์ ให้อนุญาตแก่มหาสวามีเจ้า
ค. กล่าวถึง แสนญาณ ตนกินเมืองพะเยา
ความที่ได้จากจารึกหลักนี้ เป็นการแน่ชัดว่า จารึกหลักนี้เป็นของวัดวิสุทธาราม ในจังหวัดพะเยา นอกจากนั้นยังได้รู้จักด้วยว่า วัดป่าแดงหลวงในเมืองพะเยาโบราณนั้น มีท่านพระสมเด็จมหาสวามีศรีวิมลโพธิญาณเจ้าเป็นอธิบดีสงฆ์ในวัดนั้น หรือไม่ก็อาจจะเป็นสังฆราชาปกครองพระสงฆ์ทั้งมวล ในเมืองพะเยา แสดงให้เห็นว่า ฐานะของวัดป่าแดงหลวงนั้น เป็นวัดสำคัญสูงสุดแห่งเมืองพะเยา ในปี พ.ศ. 2049 ส่วนที่จารึกอ้างถึงสมเด็จพระเป็นเจ้าทั้งสองพระองค์นั้น อาจหมายถึง พระเมืองแก้วกับพระราชมารดาของพระองค์ก็ได้

จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก), ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดวิสุทธาราม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จมหาสวามีศรีวิมลโพธิญาณเจ้า, อธิบดี, มหาเถรชยบาลรัตนปัญญา, มหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระเป็นเจ้า, มหาสวามีเจ้า, พวกญารัดดาบเรือน, แสนญาณ, ญาติมหาเถรสินประหยาเจ้า, ญาติมหาเถรสินปัญญาเจ้า, เจ้าแสน, เจ้าพันต่างเมิงมงคล, เจ้าพันต่างเมืองมงคล, ปากสิงขุนหมื่นเมิง, พันหนังสือทา, เจ้าแสนหน้า, ชาวทิตน้อย, ชาวทิดน้อย, พวกญาดาบเรือน, มหาเถรเจ้า, ลูกศิษย์, มหาเถรชมหนาน, หมื่นนาหลังแทนคำ, ปากเทพ, ขบคราว, กลอง, พันเชิงสมณะ, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันหนังสือสาคอน, นางหลาเม้, นางแพง, สุวรรณ, สู, นางคำพัน, นางแก้ว, บุญมาสูแก้ว, ขุนครัว, นางเพิงเม้, เอื้อยบุญ, อีแม่, อีคำบุญ, สีกุน, สีลา, ญาอี, นางแพง, หมอ, น้อย, ยี, เอีย, บุนหนำ, หลอย, เกิง, เม้กอง, ปู่เสียง, นางผิง, เม้นางลัวะ, นางโหะ, หลานจูลา, สูโหะคำพา, ออน, นางเอียเม้, นางอีแม่, นางอุ่น, พี่อ่อน, อีน้อง, ญาพาน, ไอ้, อุ่น, ประหญา, ประหยา, สามพอม, นางพอม, นางอามเม้, นางบุญสม, นางคำสุก, อีหลา, แก้วมหา, ทิดญา, นางเพิง, บุญ, สินแพง, นางบุญมี, นางอุ่น, ทอง, นางช้อยเม้ขวัญ, อ้อย, ช้อย, นางกาน, นางนิรัตนะ, นางอ่ำ, นางม้อย, เม้เอื้อย, กอน, นางไอ, นางอัว, นางสิน, ญาเทพชา, นางพริ้ง, วอน, ญอด, ซอ, เอื้อยชาย, แก้วเตา, บาเกา, เถรสินประหญา, มหาเถรเจ้า, เงิน, ป่าแดงหลวง, พุทธศาสนา, วัดวิสุทธาราม, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, กินเมิง, กินเมือง, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ลัคนา, พระราหู, ราศีมังกร, ปีขาล, ปีรวายญี่, ปีระวายยี, เดินเจียง, เดือนเจียง, วันรวงเปล้า, วันรวงเป้า, เม็ง, วันอาทิตย์, ฤกษ์, สมณะพราหมณ์, ปิฎก, ครัว, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พุทธรักษา, มอญ, สมณฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2049, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระมหาสวามีศรีมงคลโพธิญาณเจ้า, บุคคล-มหาเถรชัยบาลรัตนปัญญา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2049

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2003?lang=th

78

จารึกวัดวิสุทธาราม

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พ.ศ. 2035 ลุงพระเป็นเจ้าเมิงเชียงราย (ลุงของพระเจ้ายอดเชียงราย) กับเจ้าพันเค้าเมิงพ่อน้อย ได้ให้คนมาฝังศิลาจารึกไว้ที่วัดวิสุทธอาราม

จารึกวัดวิสุทธาราม, จารึกวัดวิสุทธอาราม, พย. 4, พย.4, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, จ.ศ. 854, จุลศักราช 854, จ.ศ. 854, จุลศักราช 854, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ชำรุด, วัดร้าง, โรงเรียนวัดห้วยปง, ตำบลแม่ปืน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ลุงพระเป็นเจ้าเมิงเชียงราย, ลุงพระเป็นเจ้าเมืองเชียงราย, เจ้าพันเค้าเมิงพ่อน้อย, เจ้าพันเค้าเมืองพ่อน้อย, ลุงของพระเจ้ายอดเชียงราย, เจ้าหมื่นนาหลังศรีพัด, เถ้าเมิงตอม, เฒ่าเมิงตอม, เถ้าเมืองตอม, เฒ่าเมืองตอม, นายคราว, ล่ามปากนาเรินเหนือ, ชาวเจ้าสังฆเถร, พระภิกษุ, สังฆราชาเจ้า, เจ้าวัด, มหาสามีบ้านสิก, มหาสามีเทพตน, เจ้ากูสังฆะ, พระสงฆ์, ลุงพระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือ, คนสิกใหม่, คนสึกใหม่, ลำหอก, ทหารหอก, เจ้าแคว้นชื่อ, ข่อยสุม, ดงข่อย, พุทธศาสนา, วัด, ฝังศิลาจารึก, ฝังจารึก, ฝังหินจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระจันทร์, ราศีพิจิก, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีกรกฎ, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, นิพพาน, ปีเต่าไจ้, เดินยี่, เดือนยี่, วันกาบไจ้, เม็ง, วันศุกร์, มอญ, ตะวันเที่ยง, ปุษยฤกษ์, กดหมาย, วันกาบไจ้, ดาวปุยฝ้าย, ราศีเมษ, ราศีมีน, ราศีกุมภ์, ราศีพฤษภ, ราศีพิจิก, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2035, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าพันเค้าเมิงพ่อน้อย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2035

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1560?lang=th

79

จารึกวัดยางหนุ่ม

ฝักขาม

จารึกกล่าวถึงการทำบุญด้วยการถวายที่นาและข้าพระของเจ้าแม่ไณ ตลอดจนการถวายเงินของมหาเทวีเจ้าองค์ย่า เมื่อ พ.ศ. 2065 ตอนท้ายมีการสาปแช่งใครก็ตามที่มาเบียดเบียนไม่ว่าจะเป็นที่นาหรือข้าพระให้ตกนรกอเวจี

ชม. 26 จารึกวัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2065, ชม. 26 จารึกวัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2065, ชม. 26, ชม. 26, 1.2.1.1 วัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2066, 1.2.1.1 วัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2066, พุทธศักราช 2065, พุทธศักราช 2065, จุลศักราช 884, จุลศักราช 884, จ.ศ. 884, จ.ศ. 884, รูปใบเสมา, พระเป็นเจ้าเจ้าแม่ไณ, พระมหาเทวีเจ้าตนย่า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าแม่ไณ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ, ไม่มีที่อยู่ปัจจุบัน

ไม่พบ (ข้อมูลเดิม อยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2065

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15704?lang=th

80

จารึกวัดมหาโพธิ

ฝักขาม

จารึกหลักนี้กล่าวถึงพระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว ให้ฝังจารึกไว้ ณ วัดมหาโพธิ ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงสิ่งของและข้าพระ พ.ศ. 2043 นี้ เป็นรัชกาลของพระเมืองแก้วแล้ว เพราะพระบิดาของพระองค์ คือ พระเจ้ายอดเชียงราย ทรงสละราชสมบัติให้โอรสครอง แต่ปี พ.ศ. 2039 ดังนั้น พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัวในที่นี้ ก็คือ พระราชมารดาของพระเมืองแก้วนั่นเอง แต่วัดมหาโพธินั้นมีปัญหาอยู่เหตุที่ศิลาจารึกนี้พบที่จังหวัดเชียงราย หากพบที่จังหวัดเชียงใหม่แล้ว วัดมหาโพธิ ก็น่าจะได้แก่วัดเจดีย์ 7 ยอด อันเป็นสถานที่ทำสังคาย ครั้งที่ 8 ในแผ่นดินพระเจ้าติโลกราชนั่นเอง เพราะเจ้าอาวาสผู้ครองวัดนี้ยังมีนามว่า พระโพธิรังษี ผู้แต่งจามเทวีวงศ์และสิหิงคนิทานเป็นภาษาบาลี

จารึกวัดมหาโพธิ, ลพ. 26, ลพ./26, พช. 5, 334, ลพ. 26, ลพ./26, พช. 5, 334, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, ชาวนา, ชางญาง, ชยญาณโรจิ, ปัญญา, ขุน, หน่อแก้ว, เอื้อยบุญ, หมื่นน้อยคำ, ทิดยอด, อ้ายขุน, โคด, อั้ว, อ้ายพง, อ้ายน้อย, ไสลุน, ญา, รังสี, กำเพียน, อ้ายมูน, สร้อยคำ, สามแสง, นารอด, ไสหลา, ไสมุย, มหาบาน, ยี่สุ่น, อ้ายใจ, อ้ายมาย, ยีเทด, อินเกา, ทิดยศ, ญารังสี, พ่อกอน, ขีนษุด, อ้ายแก้ว, บาง, เม้ย, ทิดบุญ, เชียงงัว, ไอ้เม้นาหลัง, นางสา, สิก, กลพัด, อ้ายกิง, ไสเลง, ยีกง, ขุนข้อย, แก่เขา เจ้าหมื่นแก้วดาบเรือน, พวกญาณะคงคาต้องแต้ม, สวรสีต้องแต้ม, พระเจ้า, หมื่นน้อยคำ, พระเป็นเจ้า, มงคลดาบเรือน, เจ้าเมืองเชียงรายคำลาน, หมื่นขวาญาณะคงคาเชียงรุ้ง, หมื่นน้ำหัวสุก, หมื่นนาหลัง, จุลา, เฒ่าเมืองคำเรือง, เฒ่าเมิง, เถ้าเมือง, เผิ้ง, ผึ้ง, น้ำมัน, นารัง, พุทธศาสนา, ฝังจารึก, ปีกดสัน, ฤกษ์, จิตระ, วันเปลิกสง้า, เม็ง, วันศุกร์, ครัว, การเมือง, เง่า, เหง้า, ประธาน, หัวหน้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 18 ฉบับที่ 4 (พฤศจิกายน 2517)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2043

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2043?lang=th

81

จารึกวัดมหาวัน (พะเยา)

ฝักขาม

พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489 นายแกเด็กญอยได้กราบทูลถวายวัดมหาวัน ณ เมืองอ้อยแด่มหาเทวี มหาเทวีรับสั่งให้ถวายนาและคนแด่วัดมหาวัน นอกจากนั้น เจ้าหมื่นทอง ณ เมืองอ้อย ยังได้ถวายบ้านและป่าแด่วัดมหาวันด้วย

ชม. 67 วัดมหาวัน (พะเยา) พ.ศ. 2031, ชม. 67 วัดมหาวัน (พะเยา) พ.ศ. 2031, ชม. 67 วัดมหาวัน, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489, ชม. 67 วัดมหาวัน, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489, จารึกวัดมหาวัน (พะเยา), ชม. 67, ชม. 67, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, แผ่นหิน, สีเทา, รูปใบเสมา, วัดสันโป่ง, ตำบลแม่เย็น, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เทวดา, อินทร์, พรหม, นายแกเด็กญอย, มหาเถรบุญญะ, เจ้าหมื่นน้อย, ดาบลีไกร, พันต่างเมือง, พ่อน้อย, มหาเถรเจ้า, มหาเถรบุญญะ, ชาย, แม่หม้าย, ช่างโสม, ช่างทอง, ทิดหลาน, ญาณมงคล, แม่ปอน, ย่าอัง, เจ้าหมื่นน้อยใน, มหาเทวีเจ้า, เจ้าพันหลวงสุวรรณรังการ, พันหนังสือศีลปัญญา, พันขอจอม, เจ้าหมื่นอ้อย, พระเป็นเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, เสนาอามาตย์, พระยอดเชียงราย, เจ้าหมื่นทอง, หมื่นน้อยหาญ, ปากหนังสือเมืองแก้ว, แสนข้าวพ่อลาน, ท้าวลาน, เจ้าพันหลวงเงิน, หากหุ้มรอม, เจ้าหมื่นทอง, เจ้าไทย, เจ้านาย, พะเยา, บ้านอ้อย, บ้านเกลือ, ป่าลาว, เมืองอ้อย, พุทธศาสนา, วัดมหาเทวีเจ้า, อุทิศข้าพระ, ถวายข้าพระ, ไว้คน, ฝังจารึก, ไว้นา, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, กินเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, พระพฤหัสบดี, และพระศุกร์, ราศีมีน, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีธนู, ปีเปลิกสัน, ปีเปิกสัน, เม็ง, มอญ, ปีวอก, เพ็ญ, เมืองเม้า, เมืองเหม้า, เมิงเม้า, เมิงเหม้า, ฤกษ์, โรหิณี, นายแกเด็กญอย, บุญ, ครัว, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายวัด, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายบ้าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายป่า, บุคคล-นายแกเด็กญอย, บุคคล-มหาเทวี, บุคคล-เจ้าหมื่นทอง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจาก หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, พฤศจิกายน 2566)

พุทธศักราช 2031

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2122?lang=th

82

จารึกวัดพูปอ

ฝักขาม

พ.ศ. 2051 นายพรานสินศรัทธาในพุทธศาสนา ได้บริจาคที่ดินเพื่อสร้างวัดพูปอ

จารึกวัดพูปอ, พย. 11, พย. 11, ศิลาจารึกวัดพูปอ, พ.ศ. 2051, พุทธศักราช 2051, พ.ศ. 2051, พุทธศักราช 2051, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, จ.ศ. 870, จุลศักราช 870, จ.ศ. 870, จุลศักราช 870, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดพูปอ, วัดวิเวการาม, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นายพรานสินศรัทธา, พระพุทธเจ้า, สังฆะ, มหาเถรเจ้าเรวัตตะ, ผะธาน, ประธาน, มหาสามี, มหาสวามี, ทิดเหม็น, พ่อน้อยล่ามแสง, พูปอนายวัด, พรานสิน, อาจารย์สังคิเสมา, ศรีธรรมา, ชาวเจ้า, พระภิกษุชื่อ, ป่ามัน, ห้วยหัวดอยพูปอ, พุทธศาสนา, วัดพูปอ, วิเวการาม, ตรากดหมาย, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระจันทร์, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระราหู, ราศีธนู, ลัคนา, ราศีพิจิก, ปีมะโรง, ปีเปิกสี, ปีเปลิกสี, อธิกมาส, มูล, ดาวช้างน้อย, กดหมาย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2051,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-นายพรานสิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2051

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1593?lang=th

83

จารึกวัดพูขีง

ฝักขาม

พ.ศ. 2030 หมื่นบง ถวายนาและคนแด่วัดพูขีง และวัดป่าตาล ซึ่ง 2 วัดนี้เป็นวัดลูกของวัดบ้านราม ห้ามรบกวนคนของวัด

ชร. 61 จารึกวัดพูขีง พ.ศ. 2030, ชร. 61 จารึกวัดพูขีง พ.ศ. 2030, 1.4.1.1 วัดภูขิง พ.ศ. 2031, 1.4.1.1 วัดภูขิง พ.ศ. 2031, (Wat Phu Khing A.D. 1488), ชร. 61, ชร. 61, 92/28, 92/28, 1.4.1.1 วัดภูขิง พ.ศ. 2031 (Wat Phu Khing A.D. 1488), พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, จ.ศ. 849, พุทธศักราช 849, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, หิน, รูปใบเสมา, วัดพูขีง, วัดสันทราย, บ้านดงชัย, อำเภอเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าหมื่นญี่, หมื่นบง, หนานหริ, แม่ญี่ทุน, นากวกาว, วาย, นาพันหลวง, นากวาวมง, นาหนานหริน้อย, บ้านกง, นากัง, นาโพระ, นาหมาลาย, นากลาด, บ้านกลอง, ฝาง, นาซายบุญ, พุทธศาสนา, วัดพูขีง, วัดลูกพระเจ้า, วัดบ้านราม, วัดป่าตาล, ปีมะแม, เมิงเม็ด, เดินวิสาขะ, เดือนวิสาขะ, ออก, วันอังคาร, วันเมิงเม็ด, บุรพผลคุณ, นิพพาน, กินขง, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2030, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-หมื่นบง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2030

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1418?lang=th

84

จารึกวัดพันเตา

ฝักขาม

เมื่อปี พ.ศ. 2066 มีผู้ถวายนา เงิน และข้าพระไว้ในศาสนา

ชม. 53 จารึกวัดพันเตา, ชม. 53 จารึกวัดพันเตา, จารึกวัดพันเตา, ชม. 53, ชม. 53, ศิลาจารึกจากวัดพันเตา เชียงใหม่ (พ.ศ. 2066), ศิลาจารึกจากวัดพันเตา เชียงใหม่ (พ.ศ. 2066), พ.ศ. 2066, พุทธศักราช 2066, พ.ศ. 2066, พุทธศักราช 2066, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, หินทรายสีแดงอ่อน, รูปใบเสมา หักชำรุด, วัดพันเตา, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เบ้, เบี้ย, ถวายนา, ถวายเงิน, ถวายข้าพระ, ปีกาเม็ด, ระวายสี, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2066, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพันเตา เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2066

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2093?lang=th

85

จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย)

ฝักขาม

ในปี พ.ศ. 2034 พระมหาเทวีทรงสร้างวัดพวกชอด บนที่ดินและหมู่บ้านซึ่งพระโอรสได้ทรงอุทิศไว้ พระนางได้มอบหมายให้ลุงของพระเจ้าแผ่นดินร่วมกับข้าราชการในนครเชียงรายสร้างจารึกหลักนี้ขึ้น

ชม. 9 จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย) (พ.ศ. 2034), ชม. 9 จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย) (พ.ศ. 2034), 1.2.1.1 วัดพวกชอด พ.ศ. 2034, 1.2.1.1 วัดพวกชอด พ.ศ. 2034, จ.ศ. 853, จ.ศ. 853, จุลศักราชได้ 853, พุทธศักราช 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2034, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การสร้างปราสาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

ไม่พบที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2034

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13429?lang=th

86

จารึกวัดพระเจ้า

ฝักขาม

เป็นข้อความกล่าวปวารณาบุญแก่ผู้ที่ทำบุญให้วัดพระเจ้า ให้ได้เป็นเจ้าเป็นขุน ได้ขึ้นสวรรค์ และบรรลุถึงซึ่งนิพพาน

จารึกวัดพระเจ้า, พย. 31, พย. 31, หินทรายสีแดง, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดศรีอุโมงคำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ขุน, คน, หมื่นเจ้าเจ้าหุดตง, สมบัติ, สวรรค์, พุทธศาสนา, วัดพระเจ้า, พระพุทธรูป, เทพดา, เทวดา, บุญ, คลองจาริก, คลองจารีต, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1731?lang=th

87

จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง 2

ฝักขาม

ข้อความจารึกแสดงรายชื่อนาข้าวและรายการข้าพระที่มีผู้บริจาคแก่พระมหาธาตุเจ้า พระธรรม และมหาสังฆราช ข้อความส่วนหนึ่งกล่าวถึงจำนวนเงินและข้าพระที่พระรัตนราชเจ้าพระราชทานแด่วัดศรีบุญเรืองหรือวัดวังหัวควาย พระราชมารดาของพระองค์ให้เอาวิหารแห่งวัดวังหัวควายนี้มาแปลงเป็นพระอุโบสถ และนำพระพุทธรูปมาไว้ในพระอุโบสถนี้

ชม. 18 จารึกมหาสังฆราชาญาณมงคล, ชม. 18 จารึกมหาสังฆราชาญาณมงคล, จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง 2, จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง 2, ชม. 18 จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง (พ.ศ. 2083), ชม. 18 จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง (พ.ศ. 2083), ชม. 18, ชม. 18, วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2083, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-ท้าวซายคำ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป, บุคคล-พระรัตนราชเจ้า, ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551)

พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 30 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2083

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15607?lang=th

88

จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง 1

ฝักขาม

ใน พ.ศ. 2099 สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้าอยู่หัวและพระอัครราชมาดา ได้อัญเชิญพระมหาธาตุเจ้าจอมทองไปประดิษฐานไว้ ณ หอบาตรในพระราชวัง แล้วบัญชาให้พระยาแสนหลวงพิงชัยไกรเอกเสนาธิบดีศรีสุทโธธิราชาเจ้า และ พระยาสามล้านชันสิทธิราชสงครามเจ้า รวบรวมรายชื่อข้าพระจากครัวเรือนต่างๆ แล้วมอบหมายให้ปฏิบัติดูแลรักษาพระมหาธาตุจอมทอง

ชม. 17 จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง, ชม. 17 จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง, จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง 1, จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง 1, ชม. 17, ชม. 17, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 104 ศิลาจารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง, หลักที่ 104 ศิลาจารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง, พ.ศ. 2099, พุทธศักราช 2099, พ.ศ. 2099, พุทธศักราช 2099, จ.ศ. 918, จุลศักราช 918, พ.ศ. 918, จุลศักราช 918, หินทราย, วัดพระธาตุศรีจอมทอง, ตำบลบ้านหลวง, อำเภอจอมทอง, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้าอยู่หัว, พระอัครราชมาดาพระมหาเทวีเจ้า, ท้าวพระยา, ขุนบ้าน, ขุนเมือง, ขุนแสน, ขุนหมื่น, เจ้าปก, เจ้าแคว้น, นายบ้าน, นายเมือง, จ่าบ้าน, ลูกข้า, ตนเจ้า, ตนไทย, ชาววัดวา, พันวัดโกวิธา, ธรรมมะ, หมื่นน้อยตกาน, ยัง, คนรับใช้, ล่ามบุญทาย, ล่ามนา, ชาวหัวเคียน, ล่ามรัดปัญญา, ชาวพวกน้ำ, พระมหาเทวี, เถรสิน, ปัญญาวิเศษ, หรอก, ทหารหอก, เค้าสิบดาบคำหัวเคียน, พรานแก้ว, ดอกหล้า, เค้าข้าพันหนองลึก, ยาวิลาส, มุกดา, ข้าราชทาน, มหาเถรสิน, เค้าข้าบุญจำปา, บุญรังสี, เค้าพรานคราวท่าผาคูรบ, พ่อค้าเรือไหม, เค้าข้ามงคลหรอก, พระราชโมลี, เค้าชาวน่านชาวหน้าคำ, เม้ป่วยเมือง, หมอ, พระยืน, เค้าข้าอยู่หมุนตกาน, สามส้อย, ช่อ, เค้าข้าพระหนองดู่, เค้าข้าหมื่นตึนแก้ว, ข้าพระบาทป่ารวก, สีธรรมมา, เค้าข้าสังฆราชาจอมทอง, สงสการ, บุญเค้าตาน, อ้ายโคด, รัดปัญญา, ข้าพระวังหัวควาย, เม้เค้าโรงสามล้าน, เค้าข้าสามีม่วงหมู่, เค้าข้าหมื่นนายเมืองยอดขนาน, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, พี่สังฆราชาเจ้า, ค่าขา, สุวรรณ, พ่อเค้าหมอโกลงหาดนากเจ้าแสนปู่เจ้าเมืองสามล้านส้อย, หนาน, ช้าง, ม้า, หญ้า, หัวควาย, เงิน, บาตรคำ, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, แก่นจันทร์, ราชวัง, เวียง, บ้านเรือน, ข่วง, หนองลักกินปลา, ห้องศิลบาลนายสาม, พุทธศาสนา, หอบาตร, พระมหาธาตุเจ้า, พิหารวัดมหาเจดีย์หลวง, เค้าข้าคำขอดรัง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, พระเสาร์, ราศีมีน, พระอังคาร, ราศีตุล, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, ลัคนา, พระราหู, ราศีพฤษภ, ปีมะโรง, หนขอมพิสัย, ปีระวายสี, เดือนผลคุณ, วันจันทร์, ไทยเมิงไส้, นักษัตรฤกษ์, บวรพภาทรบท, ดิถี, นาที, พระมหาธาตุเจ้าจอมทอง, พระมหาธาตุเจ้าจอมทอง, เสิก, ศึก, ส่วยไร, คราวบก, คราวน้ำ, คราวบ้าน, คราวที่, ครัว, คาดบ้าน, คาดเมือง, พระแก้ว, พระสิงห์, การเมือง, พระพุทธรูป, หนี้, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2099, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-พระยาแสนหลวงพิงชัยไกรเอก, บุคคล-ศรีสุทโธธิราชาเจ้า, บุคคล-พระยาสามล้านชันสิทธิราชสงครามเจ้า

พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 30 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2099

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1507?lang=th

89

จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 1

ฝักขาม

ในปี พ.ศ. 2046 เจ้าเมืองนครสีทัตถมหาสุรมนตรีได้ขึ้นครองเมืองนครนี้มาแล้ว 6 เดือน ทรงร่วมกับพระสงฆ์ ข้าราชการ และอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย ก่อสร้างวิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง ข้อความในจารึกกล่าวถึงรายละเอียดเรื่องวัสดุ และค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโดยละเอียด

จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 1, จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 1, ศิลาจารึกที่วิหารพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 70 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 70 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, ลป. 2 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, ลป. 2 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมืองนครสีทัตถมหาสุรมนตรี, ชาวเจ้า, สงฆ์, เจ้าหมื่น, เจ้าพัน, นักบุญ, เจ้าเมืองอ้าย, เจ้าเมืองสีทัตถะ, ช่างหล่อ, สัปปุริสะ, สัปบุรุษ, ดิน, ปูน, เงิน, ชิน, เกลือก, ไล้, ทองคำ, เมืองนคร, เมืองฟ้า, สำนักพระอาริยเมตไตรยเจ้า, สำนักพระศรีอาริยเมตไตรยเจ้า, พุทธศาสนา, วิหาร, พระมหาธาตุเจ้า, กินเมือง, ปกครองเมือง, หล่อพระพุทธรูป, หล่อพระเจ้าล้านทอง, พอกคำ, ปิดทอง, ตีคำ, ไถ่คน, ไว้นา, อุทิศที่นา, อุทิศที่ดิน, ปลูกวิหาร, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีมีน, พระอังคาร, พระเสาร์, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีเมษ, พระศุกร์, ลัคนา, ราศีมังกร, ราศีพฤษภ, ราศีพิจิก, ราศีกุมภ์, ราศีสิงห์, ราศีกรกฎ, ปีรวายสี, ปีระวายสี, ออก, รวงไส้, ฤกษ์, อัทรา, ยามตูดซ้าย, ปีเปลิกสง้า, ปีเปิกซง้า, วันพุธ, รวงเม้า, รวงเหม้า, ยามพาดรุ่ง, ปีกัดเม็ด, วันพฤหัสบดี, เปลิกสัน, เปิกสัน, วาอก, ปีกาไก๊, พระเจ้าล้านทอง, ยามกันรุ่ง, ครัว, เต่าสง้า, เต่าซง้า, ยามตูดเช้า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-สีทัตถะมหาสุรมนตรี, บุคคล-สีทัตถะมหาสุรมนตรี

วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560)

พุทธศักราช 2046

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2037?lang=th

90

จารึกวัดพระญาร่วง

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พ.ศ. 2041 มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดี วัดพระญาร่วง ได้ชักชวนให้ร่วมกันบูชาพระพุทธรูปด้วยทองคำ น้ำ ที่ดิน และสิ่งของอื่นๆ

จารึกวัดพระญาร่วง, พย. 9, พย. 9, จารึกวัดพญาร่วง, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมาชำรุด, วัดป่าแดงบุญนาค บ้านป่าแดง ตำบลท่าวังทอง, วัดบุนนาค, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดีวัดพระญาร่วง, มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดีวัดพญาร่วง, ต้นตาน, ต้นตาล, ทองคำ, น้ำ, แก้ว, พุทธศาสนา, หล่อน้ำทอง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, พระจันทร์, พระอังคาร, พระราหู, ราศีตุล, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายน้ำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระพุทธรูป, บุคคล-มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2041

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1577?lang=th

91

จารึกวัดพระงามน้ำโมง 1

ไทยน้อย

ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้างพระอุโบสถ

ศิลาจารึกวัดพระงามน้ำโมง 1, ศิลาจารึกวัดพระงามน้ำโมง 1, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, หินทรายหยาบ, รูปใบเสมา, ปักอยู่หน้าโบสถ์, วัดพระงามศรีมงคล, วัดน้ำโมง, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พุทธศาสนา, พระอุโบสถ, ยกโรงอุโบสถ, สร้างอุโบสถ, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ปีระวายยี่, ปีระวายยี, เดือนยี่, มื้อก่ามด, มื้อกาเม็ด, วันจันทร์, ยามตาวันเที่ยง, ยามตะวันเที่ยง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2049, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวิชุลละราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระงามศรีมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ

ปักอยู่หน้าโบสถ์ วัดพระงามศรีมงคล (วัดน้ำโมง) ตำบลน้ำโมง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2049

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2401?lang=th

92

จารึกวัดพระคำ

ฝักขาม

พ.ศ. 2039 พระราชมาดาของพระมหากษัตริย์ (พญาแก้ว) มีพระราชโองการมาถึงเจ้าเมืองพะเยาชื่อ ญี ซึ่งเป็นพระอัยกา เพื่อยืนยันกัลปนา มีคนและนา ที่พญาสามฝั่งแกน (เสวยราชย์ พ.ศ. 1944-1984) และคนอื่น เคยถวายไว้แด่วัดพระคำ ต่อมา ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในเมืองพะเยา ประชุมตกลงกันให้เป็นไปตามพระราชเสาวณีย์ และตั้งศิลาจารึกหลักนี้ขึ้น สุดท้ายเป็นรายชื่อของข้าทาสที่เป็นหนี้เงินของวัด ห้ามผู้ใดเอาข้าวัดออกไปใช้งานอื่น

จารึกวัดพระคำ, ลพ. 10, ลพ./10, พช. 10, 326, ลพ. 10, ลพ./10, พช. 10, 326, 326/18, 326/18, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรม, พระสังฆ, พระสงฆ์, ข้าวัด, สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีสรีรัตนจักรวรรดิ, พระราชมาตา, ปู่พระเจ้า, เจ้าเมืองญี่พยาว, หล้า, พระพยาว, ปู่หม่อน, พระพุทธเจ้า, เจ้าเมืองแม่ใน, น้ำ, หมื่นลำ, ลูกวัด, ปู่ทวด, เจ้าหมื่นอาดคราว, เพกประหญา, เพกปัญญา, เพ็ชรปัญญา, เพชรปัญญา, พระมหาเทวีเจ้า, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, หมื่นอุดมนาหลัง, พันนา, พันเถ้าเมิงสรีพัด, พันเถ้าเมืองสรีพัด, พันสุวันต้องแต้ม, พันหนังสือแคว้นฉาง, พันหนังสือพื้นเมิง, พันหนังสือพื้นเมือง, หมื่นเปล้าคำรองลูกขา, พันประหญาเชิงคดี, พันปัญญาเชิงคดี, หลวงนาย, พ่อน้อย, สรีมงคล, อุตมบัญฑิต, พระภูบาล, พระราชะราชา, เสนา, มนตรี, ไพร่ฝ้า, ไพร่ฟ้า, ราชกรงเสมา, เอกขษัตรา, มหาเถรพุทธสาครเจ้า, พันล่ามฉาง, พ่อแสง, ล่ามแดว, ทิดหมัว, ทิดเหม, เชียงลุน, สังคบาน, สังฆบาล, มุก, สีโคด, อุ่น, เกิง, กอน, เมิงพยาว, เมืองพะเยา, บาดาล, พรหมโลกา, เมิงสวรรค์, เมืองสวรรค์, คู, พุทธศาสนา, วัดพระคำ, ฝังเสมา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, อุทิศข้าพระ, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, สมภาร, เทวดา, ศีลปัญญา, วิมุติปัญญา, ปีมะโรง, ปีระวายสี, เม็ง, วันอาทิตย์, กาบเม็ด, ริก, ฤกษ์, อัศวณี, พระราชโองการ, ครัว, พระพุทธรูป, พระราชองการ, พระราชองกาน, พระราชเสาวนีย์, บุญ, อนันจักราพาน, จักรวรรติภูมี, สีลบาล, สีลบาน, อุปถาก, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พันเงิน, ลำนำ, ดิริฉาน, อเพจี, อเวจี, อุปัฏฐาก, เทวา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-การสร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาสามฝั่งแกน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1975?lang=th

93

จารึกวัดป่าใหม่

ฝักขาม

พ.ศ. 2040 เจ้าหมื่นลอเทพศรีจุฬา มีใจศรัทธาในพระศรีรัตนตรัยจึงให้ไปราธนามหาเถรมธุรสเจ้าแห่งสำนักมหาสามีสวรสีหเจ้า มาสร้างวัดป่าใหม่ จากนั้นเป็นรายนามผู้บริจาคเงินและข้าพระ

จารึกวัดป่าใหม่, พย. 8, พย. 8, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 101 ศิลาจารึกวัดป่าใหม่, หลักที่ 101 ศิลาจารึกวัดป่าใหม่, จารึกหมื่นลอเทพสร้างวัดป่าใหม่, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นลอเทพศรีจุฬา, มหาเถรมธุรสเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระมหาเทวีเจ้า, เจ้าหมื่นล่ามนาโหราธิบดี, เจ้าหมื่นสามนาโหราธิบดี, เจ้าพันศรีมงคลหนังสือต่างเมือง, เจ้าพันศรีมงคลหนังสือต่างเมิง, เจ้าพันเพกพวกนำ, เจ้าพันโคตรพวกขัน, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, พระสงฆ์, พระภิกษุ, มหาสามีเจ้าป่าน้อย, มหาเถรเจ้าป่าหลวง, มหาเถรเจ้าศรีเกิด, เจ้ากูสังฆระ, เจ้ากูสังฆะปากยงหนังสือ, หมื่นเปลา, เถ้าเมืองโสม, เฒ่าเมืองโสม, เถ้าเมิงโสม, เฒ่าเมิงโสม, แสนเจ้าศิลา, แสนเจ้ารัด, พันหนังสือสุวรรณ, พันสมพุดลำพัน, เจ้าไท, นักบุญ, ยารังสี, นายสารบุตร, พันยา, ล่ามบุญ, ศรีไว, อ้ายคำ, สิบม่วง, คำหระ, พ่อแสง, คำขอด, อ้ายรอ, มุยถาน, อ้ายโล, ใส, เถ้าครา, เฒ่าครา, อีน้อย, สาคร, อุด, อ้ายสอย, ทิดน้อย, งัวอุย, พ่ออ่อน, อีมี, งัวชาย, พ่อเอ้ย, พ่อเอื้อย, สามแพง, อ้ายแก้ว, ไสหล้า, พ่ออั้ว, ทิดน้อย, หมื่นยอดกินเมืองลอ, หมื่นยอดกินเมิงลอ, อ้ายเหาคำหลิง, พันนาเริน, พ่อน้อยหยาดน้ำ, ข้าพระ, หมื่นใสกินเมืองลอ, หมื่นใสกินเมิงลอ, ปีกัดเร้า, วันกัดเม็ด, พี่ชายสวย, เงิน, เบ้, เบี้ย, จังหันชื่อ, คีเวียง, คือเวียง, คูเมือง, แดน, เมืองลอ, เมิงลอ, พุทธศาสนา, สำนักมหาสามีสวรสีหเจ้า, วัดป่าใหม่, อาราม, วิหาร, อุโบสถ, หอปิฎก, สร้างวัด, เทศนา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีกันย์, พระจันทร์, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพุธ, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีเมิงไส้, ออก, วันพุธ, วันกัดเหม้า, พระศรีรัตนตรัยเจ้า, บุญ, นา, อุปัฎฐาก, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าหมื่นลอเทพศรีจุฬา, บุคคล-มหาเถรมธุรสเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2040

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1574?lang=th

94

จารึกวัดป่าเหียง

ฝักขาม

ข้อความชำรุดในบางส่วน จับความได้ว่ากล่าวถึงการมอบหมายให้ข้าพระดูแลพระสงฆ์และวัด ด้านที่ 2 กล่าวถึงการฝังจารึกด้วย

จารึกวัดป่าเหียง, พย. 5, พย. 5, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ ชร./16 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ ชร./16 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2026, พุทธศักราช 2026, พ.ศ. 2026, พุทธศักราช 2026, จ.ศ. 845, จุลศักราช 845, จ.ศ. 845, จุลศักราช 845, ศิลา, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดป่าเหียง, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, วัดสันป่าเหียง ตำบลดงเจน กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพุทธเจ้า, เจ้าไทย, ชาวเจ้าสังฆ, พระภิกษุ, นายสังสา, ชาวไคร, ซาวไคร, ญาณโพธิ, เชียงไต, อ่อน, อุ่น, ทิดขีด, สิบน้อย, สอง, เหม, ญาอั้วแม่ไอชื่อ, ญาอัวแม่ไอ้ชี, มหาเถรเจ้าศรีเถียร, อ้ายมะลาน, อ้านแดง, แก้ว, ญามูน, ไอ้พรอย, เจ้าหมื่นทุนดอนแปลน, หมื่นน้อยนาเรือน, ล่ามหมื่นอาจารย์, เฒ่าเมืองสน, เถ้าเมืองสน, ล่ามหมอปากนา, ล่ามกำเพียรปากนาอ่าง, ประหญาหนังสือ, พลประหญาหนังสือ, พระเป็นเจ้าแผ่นดิน, ข้าพระ, อาราม, การฝังฤกษ์, การฝังจารึก, การฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พรศุกร์, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระพุธ, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ปีกาเม้า, เดือนเจียง, เพ็ง, วันเพ็ญ, วันเมิงเป้า, เม็งวันอาทิตย์, อุตราษาฒ, หนังสือต่างเมือง, พระพุทธรูป, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2026, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสีเหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2026

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1563?lang=th

95

จารึกวัดป่าบง

ฝักขาม

พ.ศ. 2039 เจ้าแสนกัลยาณสร้างวัดป่าบงแล้ว จึงขอพระราชานุญาตจากกษัตริย์เชียงใหม่ ถวายหมู่บ้าน 3 แห่งที่แจ้ห่ม พร้อมทั้งป่าที่วังน้ำ แด่วัดป่าบง กษัตริย์เมืองเชียงใหม่ทรงอนุญาต

จารึกวัดป่าบง, ลป. 12, ลป. 12, 1.6.1.1 วัดป่าบง พ.ศ. 2039/ค.ศ. 1496, 1.6.1.1 วัดป่าบง พ.ศ. 2039/ค.ศ. 1496, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, พุทธศักราช 858, แผ่นหินสีเทา, รูปใบเสมา, วัดป่าบง, จังหวัดลำปาง, อำเภอวังเหนือ, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าแสนกัลยาณ, พระเป็นเจ้า, เจ้าหมื่นสามล้านกลาง, เจ้าหมื่นล่ามนาสุเมธาโหราธิบดี, เจ้าหมื่นหลิมติกะปัญญา, เจ้าหมื่นช้างญาณะเทพ, เจ้าหมื่นญานะรัดดาบเรือน, เจ้าหมื่นบุญจ่าบ้าน, เจ้าพันแก้วจ่าบ้าน, เจ้าพันศรีจ่าบ้าน, เจ้าพันญีหนังสือเมืองพิงค์, เจ้าพันมงคลหนังสือต่างเมือง, สวรสี, หมื่นน้อยงาวญานะเทพ, เจ้าเมืองตีนเชียง, พี่เลี้ยง, ปากศรีขันพื้นเมือง, เถ้าเมืองมหิน, ล่ามบุญ, เถ้าเมืองใส, พันหนังสือสาครแคว้น, เฒ่าเมือง, เบี้ยชื่อ, หอคำ, แจ้ห่ม, บ้านกอก, บ้านทึง, บ้านหลูน, ป่าวังน้ำ, พุทธศาสนา, การสร้างวัด, ฝังจารึก, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ปีรวายสี, ปีระวายสี, วันเต่าสี, เม็ง, มอญ, วันพุธ, ครัว, นา, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่ที่ว่าการอำเภอวังเหนือ ลำปาง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-เจ้าแสนกัลยาณ

วัดป่าบง ตำบลทุ่งฮั้ว อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560)

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2125?lang=th

96

จารึกวัดปราสาท

ฝักขาม

พ.ศ. 2039 เจ้าหมื่นเชียงแสนคำล้าน ถวายวัดปราสาทแด่พระเจ้าแผ่นดินและพระราชมารดา ทั้ง 2 พระองค์ทรงส่งตราหลาบคำ อุทิศนาและคนแก่วัด

จารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 858 (พ.ศ. 2039), จารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 858 (พ.ศ. 2039), ชร. 3, ชร. 3, ชร./4, ชร./4, หลักที่ 69 ศิลาจารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย, 1.4.1.1 วัดปราสาท พ.ศ. 2039, 1.4.1.1 วัดปราสาท พ.ศ. 2039, ชร. 3 จารึกวัดปราสาท พ.ศ. 2039, ชร. 3 จารึกวัดปราสาท พ.ศ. 2039, Wat Prasat A.D. 1496, Wat Prasat A.D. 1496, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดปราสาท, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์พรหมภิพรหม, สาธุสัปปุรุษ, พุทธสาวก, มนุษย์, พระสงฆ์, เจ้าหมื่นเชียงแสนคำล้าน, หมื่นเนหม, เจ้าหมื่นสามล้าน, เจ้าหมื่นครูเทพ, เจ้าพัน, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า, ยี่หลู้, ทิดจัน, จิดา, จุลา, สีลหรนี, แก้วหลวง, บุญรักษา, ผ้าขาวทอง, ทิดอัด, เจ้าขุน, มหาราชเจ้าแผ่นดิน, มหาสังฆราชาญาณวิลาส, มหาสามีโสมรังสี, เถ้าเมิงศรี, เถ้าเมิงจินดา, เถ้าเมืองศรี, เถ้าเมืองจินดา, พันหนังสือ, ญาณวัง, ปากสาคร, เจ้าไท, ทองคำ, เบ้, เบี้ย, เมิงศรีมงคล, เมืองศรีมงคล, เมิงม่วน, เมืองม่วน, พุทธศาสนา, วัดปราสาท, วัดพระหลวงกลางเวียง, วัดพระบวช, วัดพระยืน, วันจันทร์, วันดับไส้, ไตรสรณ์, ยักษ์, รากษส, ปิศาจ, กุมภัณฑ์, คนธรรพ์, ภุชงค์, สุราสุรินทร์, นิยาย, มงคล, หรคุณ, วันบ่สูญ, วันปลอด, ปีระวายสี, เดินสิบเอ็ด, เดือนสิบเอ็ด, ออก, วันไทยดับไส้, เม็ง, ปลงอาชญา, ครัว, กำเพียน, แผ่นดิน, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, นา, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าหมื่นเชียงแสนคำล้าน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1427?lang=th

97

จารึกวัดบุพพาราม

ฝักขาม

พ.ศ. 2072 เจ้าเมืองแพร่อุนกับเจ้านางเมืองได้ร่วมกันสร้างวัดบุพพาราม เพื่ออุทิศส่วนบุญแด่พระเจ้าแผ่นดินผู้บวชเป็นพระสงฆ์อยู่ในโรงดิน พระเจ้าแผ่นดินได้มีพระบรมราชโองการให้เจ้าเมืองแพร่อุทิศข้าพระจำนวน 5 ครัว และที่นา จำนวน 1,000 แปลง แก่พระพุทธรูปวัดบุพพารามนี้ตราบถึง 5,000 ปี ข้อความต่อจากนี้เป็นรายนามผู้บริจาคเงินและที่นา

จารึกวัดบุพพาราม, พร. 9, พร. 9, 1.8.1.1 วัดบุพาราม พ.ศ. 2072 / ค.ศ. 1529, 1.8.1.1 วัดบุพาราม พ.ศ. 2072 / ค.ศ. 1529, พ.ศ. 2072, พุทธศักราช, พ.ศ. 2072, พุทธศักราช 2072, จ.ศ. 891, จุลศักราช 891, จ.ศ. 891, จุลศักราช 891, หิน, รูปใบเสมา, วัดร้าง, กำแพงเมืองแพร่ด้านเหนือ, จังหวัดแพร่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมืองแพร่อุน, เจ้านางเมือง, หมื่นนาหลังจอมสวรรค์, เจ้าหมื่นญิง, พระเป็นเจ้า, พระสงฆ์, พระภิกษุ, เจ้าเมือง, เจ้าพวกต้องแต้มญาณสุนทร, ญาณติสสราชบัณฑิต, เจ้าเมืงแพร่, พันเชิงผญาวิเศษคำตัน, ญารัด, สวนผญา, ญี่ท้ำ, พันดาบเรือนเทบ, อ้ายน้อยขา, สุวรรณ, ทิดเพียน, พันแก้วพวกวีขวาพวกวีขวา, เจ้าเมืองไถ่, พระแสนทอง, อ้ายขอ, เค้า, ข้าพระ, หมื่นสองมหิน, หมื่นทงหลวงใส, หมื่นทงน้อยพุด, หมื่นเลียบพรม, หมื่นนา, หลังสวนขิน, พันเถ้าเมืองสวนหง, ปากหมื่นเมืองญาณสทอน, หนังสืออ้ายพอ, เงิน, พุทธศานา, วัดบุพพาราม, โรงดิน, วัดพันเชิงเพียน, การสร้างวัด, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีเมถุน, พระจันทร์, พระราหู, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีกรกฎ, ปีฉลู, ปีกัดเป้า, เดือนอาษาฒ, โหรา, เพ็ง, กัดเร้า, ดิถี, นาที, ฤกษ์, บุญโกฐาส, โกฐาสบุญ, ส่วนบุญ, รัตนตรัย, พระราชโองการ, ครัว, นาพันข้าว, พระพุทธเจ้า, พระพุทธรูป, วัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2072, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ (วัดหลวง) แพร่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพร่, บุคคล-เจ้าเมืองแพร่อุน

พิพิธภัณฑ์วัดหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562)

พุทธศักราช 2072

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1948?lang=th

98

จารึกวัดบุนบาน

ฝักขาม

กล่าวถึงพระมหาเถรเจ้าจุ . . . (ความในจารึกขาดไป) อยู่วัดท่าแพ พร้อมด้วยมหาเถรผาสาท (มหาเถรปราสาท) และเจ้าพันนาหลัง ฯลฯ ไว้ข้าพระเพื่ออุปฐากพระเจ้าแห่งวัดบุนบาน

จารึกวัดบุนบาน, ลพ. 20, ลพ./20, พช. 33, 350, ลพ. 20, ลพ./20, พช. 33, 350, ศิลาจารึกวัดบุนบาน ลพ./20, ศิลาจารึกวัดบุนบาน ลพ./20, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดกู่เส้า, ตำบลเหมืองจี้, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถรเจ้าจุ, มหาเถรผาสาด, มหาเถรปราสาท, ทอง, แลเจ้าพันนาหลังยี่ขม, นายอ้าย, หลาน, พันล่ามคำ, พันน้อย, พระเจ้าวัดบุนบาน, มหาราช, พันล่ามคำ, เจ้าพันพวกน้ำ, หมื่นขวาแดน, เจ้าหมื่นแก้วดาบเรือน, พวกคำชอยหนังสือ, ลำพันอินท์, แสนเขารัตน์, แสนเขามงคล, อ้ายหนังสือ, ลำพันสิบ, พันน้อยบุญหน้าไม้, มหาสังฆราชา, สิบเล้าหน้าไม้, สวามีญาณมงคล, สวามีสวรมงคล, สวามีธรรมเสนาสารีบุตร, สวามีศรีกุน, มหาเถรญาณสาครดงดอนซาง, มหาเถรจันทร์พระแมน, มหาเถรสวนเทพวัดพระหิน, หมื่นไรอุ่น, ไม้สัก, เงิน, ทองคำ, พุทธศาสนา, วัดท่าแพ, ปีกาบไจ้, ออก, ดับไก๊, เม็ง, วันศุกร์, หัสตฤกษ์, นา, วันเพ็ง, วันเพ็ญ, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2047, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาเถรปราสาท, บุคคล-เจ้าพันนาหลัง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2047

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2134?lang=th

99

จารึกวัดบ้านแลง

ฝักขาม

พ.ศ. 2011 พญาสุพรรณ สร้างวัดบ้านแลง อันเป็นวัดที่อยู่ในความอุปถัมภ์ของพระเจ้าแผ่นดิน และถวายบ้านแลงแด่วัด ต่อจากนั้นเป็นรายชื่อพยานและผู้มาฝังหลักศิลาจารึกนี้

ลป. 15 จารึกวัดบ้านแลง (พ.ศ. 2011), ลป. 15 จารึกวัดบ้านแลง (พ.ศ. 2011), จารึกวัดบ้านแลง, ลป. 15, ลป. 15, 1. 6. 1. 1 วัดบ้านแลง, 1. 6. 1. 1 วัดบ้านแลง, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, แผ่นหินสีเทา, วัดบ้านแลง, ตำบลร่องเคาะ, อำเภอวังเหนือ, จังหวัดลำปาง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพ่อญาสุพรรณ, พญาสุพรรณ, พระเป็นเจ้า, เจ้าแคว้นพันขวัญยางน้อง, นายหนังสือแก้ว, นายเชียงยี, ลำพัน, แสนข้าว, ปากนาหมัว, พุทธศาสนา, สร้างวัดบ้านแลง, ฝังศิลาจารึก, ฝังจารึก, ปีเปิกไจ้, กาบสี, เม็ง, พฤหัสบดี, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2011, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-พญาสุวรรณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2011

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1968?lang=th

100

จารึกวัดบ้านยางหมากม่วง

ฝักขาม

พ.ศ. 2022 เจ้าหมื่นน้อยใส ผู้ครองเมืองอ้อย ถวายนา และต้นหมาก แด่วัดบ้านยางหมากม่วง

จารึกวัดบ้านยางหมากม่วง, ชร. 33, ชร. 33, ศิลาจารึกจากวัดบ้านยางหมากม่วง (พ.ศ. 2022), ศิลาจารึกจากวัดบ้านยางหมากม่วง (พ.ศ. 2022), 1.4.1.1 วัดบ้านยางหมากม่วง พ.ศ. 2022, 1.4.1.1 วัดบ้านยางหมากม่วง พ.ศ. 2022, Wat Ban Yang Mak Muang A.D. 1479, Wat Ban Yang Mak Muang A.D. 1479, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, จ.ศ. 841, จุลศักราช 841, จ.ศ. 841, พุทธศักราช 841,หินทราย, รูปใบเสมา, วัดร้าง, ตำบลแม่เย็น, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาว, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, เถ้าเมิง, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, เจ้าพันหลวง, ปากอิน, พันหนังสือ, ข้าว, บ้านอ้อย, เมิงอ้อย, เมืองอ้อย, พุทธศาสนา, อาราม, วัดบ้านยางหมากม่วง, การทำบุญ, กินเมือง, กินเมิง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, พระราหู, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ปีกุน, ปีกัดไก๊, เดินเจียง, เดือนอ้าย, ออก, วันกดสัน, เม็ง, มอญ, บุรพาษาฒ, บูรพาษาฒ, เจ้าหมื่นน้อยไส, ลูกหมื่นฝางเถ้า, เถ้า, นา, จังหัน, บุญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2022, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-เจ้าหมื่นน้อยใส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2022

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1409?lang=th

101

จารึกวัดบ้านปาน

ฝักขาม

ปี พ.ศ. 2039 มหาสามีศีลวิสุทธเจ้าได้สร้างวัด, อุโบสถ และปิฎก แล้วอุทิศส่วนบุญแก่มหาเทวีและพระอัยยิกาแห่งพระมหากษัตริย์ (น่าจะหมายถึงพระเมืองแก้ว ซึ่งครองราชย์อยู่ในช่วง พ.ศ. 2038-2068) ทั้งสองพระองค์ได้อุทิศพระพุทธรูปทองสำริดองค์หนึ่งและข้าพระจำนวน 10 ครัว แก่วัดบ้านปาน

จารึกวัดบ้านปาน, พย. 89, พย. 89, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858วัตถุ, หินทราย, รูปใบเสมา, บ้านของเอกชน, ตำบลท่าวังทอง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีวิสุทธเจ้า, มหาเทวีเจ้า, ยายพระเจ้า, พระอัยยิกา, ล่ามศรียศดาบน้อย, เจ้าพันรัดดาบน้อย, นายเมิง, นายเมือง, พันหนังสือแชหลวง, จัน, เจ้าพวกผะหญา, เจ้าพวกปัญญา, เจ้าพันหนังสือต่างเมิง, พันหนังสือต่างเมือง, เจ้าพวกเสนา, เจ้าแสน, เจ้าสุด, เจ้าหมื่นสามลาน, ข้าคน, พันนาแซตา, พระเป็นเจ้า, อ้ายเลาเริน, เจ้าไท, เจ้านาย, ทิดสาระ, แม่มหาเถรเจ้าธรรมกูล, เมิงพะญาว, บ้านปอม, พุทธศาสนา, วัดบ้านปาน, อุโบสถ, การสร้างวัด, การสร้างอุโบสถ, การสร้างปิฎก, การอุทิศข้าพระ, การอุทิศพระพุทธรูปทองสำริด, การอุทิศพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์, ฝังหินจารึก, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีเมถุน, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีสิงห์, เม็ง, วันเต่าสี, รืก, ริก, ฤกษ์, โกฐาสบุญ, ส่วนบุญ, เชษฐ, มอญ, วันศุกร์, ปีฏก, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกสำนักปฏิบัติธรรมวังทองวังธรรม พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป, บุคคล-มหาสามีศิลวิสุทธเจ้า

สำนักปฏิบัติธรรมพุทธประธาน ตำบลท่าวังทอง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1917?lang=th

102

จารึกวัดนางหมื่น

ฝักขาม

พ.ศ. 2036 เจ้าเมืองเชียงราย เจ้าหมื่นจุลาพยาว และเจ้าพันพ่อน้อยได้ให้คนมาฝังจารึกไว้ที่วัดนางหมื่น เพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลพระสงฆ์และวัด

จารึกวัดนางหมื่น, พย. 6, พย. 6, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, จารึกพระเป็นเจ้าเมืองเชียงราย, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, ม.ศ. 855, มหาศักราช 855, ม.ศ. 855, พุทธศักราช 855, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยมปลายมน, วัดร้าง, ตำบลแม่นาเรือ, อำเภอเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าเจ้าเมืองเชียงราย, พระเป็นเจ้าเจ้าเมิงเชียงราย, เจ้าหมื่นจุลาพยาว, เจ้าหมื่นจูลาพะเยา, เจ้าหมื่นจูลาพญาว, เจ้าพันพ่อน้อย, หนังสือ, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, เจ้าพันรัตเป็นเจ้า, เจ้าไทย, พระเจ้าวัดพันเลา, นายเกิง, ทิดธรรม, จูลา, จุลา, สินข้อย, อ้ายหญาม, เชียงแจ, ชยงแจ, เชียงแข, ชยงแข, ข้ามหาสามีเจ้าธรรมไตรดลก, ทิดสิน, ปู่นน, ปู่พรม, ยี่น้อย, ญี่น้อย, หมื่นนาหลังสีพัด, คนหนังสือ, พันขวา, พันวันคนเจ้าพันต่างเมือง, ทิดน้อย, เจ้าเมืองจุลาพยาว, เจ้าเมืองจูลาพะเยา, เจ้าเมิงจูลาพญาว, เจ้าเมิงจุลาพยาว, เจ้าเมิงจูลาพะเยา, เจ้าเมิงจูลาพญาว, คนหมื่นนาหลังลำพันศรีทัด, คนพันคืนหนังสือ, ลำพันตีนเวียง, คนพันหอ, คนพันตีนหนังสือ, ลำพันสินหนังสือ, เฒ่าเมืองซอด, เฒ่าเมืองชอด, เฒ่าเมืองสีกอง, เถ้าเมืองซอด, เถ้าเมืองชอด, เถ้าเมืองสีกอง, แสนข้าว, ญารังสี, ล่ามนาปีกหมอขวัญ, ยาแก, ร้อยเชียง, พระเจ้าเจ้าแผ่นดิน,น้ำมัน, จาริด, พุทธศาสนา,วัดนางหมื่น, การฝังจารึก, การฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระจันทร์, พระราหู, ราศีตุล, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระพฤหัสบดี, ราศีสิงห์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ปีกาเปล้า, ออก, วันดับเปล้า, เม็ง, มอญ, วันศุกร์, จิตราฤกษ์, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2036 ,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าเมืองเชียงราย, บุคคล-เจ้าหมื่ินจุลาพยาว, บุคคล-เจ้าพันพ่อน้อย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2036

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1566?lang=th

103

จารึกวัดทงแสง

ฝักขาม

ข้อความไม่สมบูรณ์ เนื่องจากจารึกท่อนบนหักหายไป จับความได้เพียงว่า กล่าวถึงการแต่งตั้งข้าพระให้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์ ตามบัญชาของพระมหาเทวี

จารึกวัดทงแสง, พย. 37, พย. 37, ลพ. 30, ลพ. 30, จารึกมหาเถรปราสาทเจ้า, ศิลา, หินทราย, สีเทา, แผ่นยาว, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรหม, อินทร์, เทวดา, ท้าวจตุโลกบาล, นายเมิง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, สังฆะ, พระเเจ้าแม่ลูก, เจ้าไท, พระมหาเทวีเจ้า, พันหล้าหนังสือเมิง, พันหล้าหนังสือเมือง, พันสินหนังสือเมิง, พันสินหนังสือเมิง, พันนาหลัง, สีทาด, ข้าพระ, มหาเถรปราสาทเจ้า, มหาเถรเจ้า, เจ้าอาจารย์มหิน, เจ้าพวกต้องแต้มคงคา, ชาวช่างทอง, น้อยใหม่ใหญ่แถม, ไพร่แถมชื่อ, เมิงสีพัด, เมืองสีพัด, พุทธศาสนา, อาราม, วัดทงแสง, วัดทงแลง, วัดทุ่งเย็น, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, สร้างวัด, การเมิง, การเมือง, อุปัฏฐาก, สัตว์, อาชญา, ธรรม, ทุกข์, พยาธิ, โพย, กรรมการ, ลายสือ, บุญ, ครัว, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1738?lang=th

104

จารึกวัดทงแลง (มหาเถรปราสาทเจ้า)

ฝักขาม

กล่าวถึงการไว้ข้าให้อุปฐากพระพุทธรูปและชาวเจ้าสงฆ์ แล้วถวายบุญนั้นแก่พระเป็นเจ้าสองแม่ลูก (พระเมืองแก้ว กับ พระราชมารดา) ตลอดถึงเทพยดาทั้งหลาย ห้ามมิให้ผู้ใดนำข้าพระไปทำการงานอย่างอื่น ถ้าผู้ใดบ่ฟังคำ ขอให้ผู้นั้นต้องทุกข์ ได้กล่าวถึงข้าพระวัดทงแลง และได้กล่าวถึงการเอาบุญในการสร้างวัดไปยังพระมหาเถรปราสาท และกล่าวถึงพระมหาเทวีเจ้ายินดีในบุญ ได้ไว้คน 18 ครัว

จารึกวัดทงแลง (มหาเถรปราสาทเจ้า), ลพ. 30, ลพ./30, พช. 8, 329, ลพ. 30, ลพ./30, พช. 8, 329, ศิลา ประเภทหินทราย สีเทา, แผ่นยาว, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรหม, อินทร์, เทวดา, ท้าวจตุโลกบาล, ชาวเจ้า, สังฆ, สงฆ, พระเป็นเจ้าแม่ลูก, เจ้าไทย, พระมหาเทวีเจ้า, เฒ่าเมือง, พระภิกษุ, ข้าพระวัดทงแลง, อาจารย์มหินทร์, เจ้าพวกต้องแต้มคงคา, มหาเถรเจ้า, ชาวช่างทอง, น้อยใหม่, ไพร่, บ้านนายเมือง, พุทธศาสนา, อาราม, สร้างวัด, ลายสือ, เวียก, การเมือง, อุปัฏฐาก, พระพุทธรูป, พระเจ้า, สัตว์, ทุกข์, โพย, กรรมการ, พันหล้าหนังสือเมือง, พันสินหนังสือเมือง, พันนาหลัง, ตัวหนังสือ, บุญ, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2017?lang=th

105

จารึกวัดตโปทาราม

ฝักขาม

เมื่อปี พ.ศ. 2035 พระยาอรรคราชภูมิบาลได้ขึ้นครองเมืองพิงเชียงใหม่ ทรงมีอัครมเหสีชื่อ อะตะปาเทวี ครั้งนั้น พระนางอะตะปาเทวีได้ขอพระราชทานอนุญาตจากพระสวามีในอันที่จะสร้างวัดตะโปทาราม พระนางได้อาราธนาพระสงฆ์ประมาณร้อยรูปมาชุมนุม พร้อมด้วยเสนาอำมาตย์ข้าราชการเพื่อประดิษฐานแก้วสามประการไว้ ณ วัดแห่งนี้ ในพิธีมีการอุทิศที่ดิน เงิน ทองคำ และข้าพระจำนวนมาก

ชม. 13 จารึกอะตะปาเทวี, ชม. 13 จารึกอะตะปาเทวี, จารึกอะตะปาเทวี, คำอ่านศิลาจารึก อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ชม. 13, ชม. 13, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, จ.ศ. 854, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดลำเปิง, วัดตะโปทาราม, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, นักบุญ, พระพุทธศรีสากยมุนีโคดมเป็นเจ้า, พระยาเจ้า, อรรคราชภูมิบาล, หลาน, พระศรีสัทธรรมมหาบรมจักรพรรดิ์ธรรมราชบพิตร, เจ้าเมิงพิงเชียงใหม่, เจ้าเมืองพิงเชียงใหม่, อรรคมเหสีเจ้า, อัครมเหสีเจ้า, อะตะปาเทวี, มหาสามีญาณโพธิเจ้าป่าแดง, มหาเถรสุรศรีมหาโพธิเจ้าป่าแดง, มหาเถรสุรศรีมหาโพธิเจ้า, มหาเถรธรรมเสนาบดีเจ้า, มหาเถรสัทธรรมฐิรปราสาทเจ้า, มหาเถรญาณสาครอารามิสระเจ้า, ราชมนตรี, เจ้าเมืองเชียงราย, เจ้าเมืองยี่, ราชมาตุล, เจ้าหมื่นตินเชียง, อติวิสุทธิ์, เจ้าหมื่นด้ามพร้ากลาง, เจ้าหมื่นจ่า, ธรรมเสนาบดี, เจ้าหมื่นหนังสือ, วิมลกิรติสิงหลราชมนตรี, พระภิกษุ, พระเจ้าลุง, เจ้าพันเชิงคดี, รัตนะปัญโญ, เจ้าหมื่นกัลญาณดาบเรือน, เจ้าหมื่นโสม, ราชภัณฑาคาริก, สมเด็จพระศรีสัทธรรมมหาบรมจักรวรรดิ์ธรรมราชาธิราชบพิตร, ผู้นาย, ข้าเก่า, ญาติ, เจ้าเมืองเชียงใหม่, เบ้, เบี้ย, จังหัน, เงินบุญ, จังหัน, ข้าว, ทองคำ, ราชเขต, เมิงพิง, เมืองพิง, เมืองปิง, พุทธศาสนา, ตะโปทาราม, อาราม, พระเจดีย์, วิหาร, อุโบสถ, สร้างหนังสือ, ทำบุญ, ประดิษฐานศาสนา, อาราธนาสงฆ์, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, อุทิศข้าพระ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระจันทร์, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระพุธ, ราศีมีน, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีพิจิก, ปรมัตถโมกขมหานครนฤพาน, ปีเต่าไจ้, เดือนวิสาข, เดือนเจ็ด, ออก, วันศุกร์, วันก่าเล้า, วันกาเร้า, โยค, อายุสมะ, ยามกลองงาย, สองลูกนาที, แก้วสามประการ, หัตถกรรม, นิพพาน, กฎหมาย, กดหมาย, คน, เทวดา, สัตว์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2035, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-เมืองพิงเชียงใหม่, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-เมืองพิงเชียงใหม่-พระยาอรรคราชภูมิบาล, บุคคล-พระยาอรรคราชภูมิบาล, บุคคล-อะตะปาเทวี, ​​​​​​​ภาพสำเนาจารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 13 ฉบับที่ 6 (มีนาคม 2513)

ด้านหลังพระวิหารวัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2035

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2116?lang=th

106

จารึกวัดตำหนัก

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

มหาเถรสุมงคลราชรุจีศรีพิเชียรปรีชญา กับพระสงฆ์อีก 100 รูป และอุบาสก อุบาสิกา ร่วมเป็นประธานในการพิมพ์พระด้วยเนื้อต่างๆ เช่น เนื้อทองคำ เนื้อเงิน

จารึกวัดตำหนัก, หลักที่ 108 ศิลาจารึกวัดตำหนัก, หลักที่ 108 ศิลาจารึกวัดตำหนัก, พจ. 2, พจ. 2, พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, จ.ศ. 842, จุลศักราช 842, พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, จ.ศ. 842, จุลศักราช 842, รูปใบเสมา, วัดตำหนัก, ตำบลบางคลาน, อำเภอโพทะเล, จังหวัดพิจิตร, ไทย, สุโขทัย, พระศรีสักยมุนีโคตมบพิตร, พระศรีศากยมุนีโคตมบพิตร, มหาเถรสุมงคลราชรุจีศรีพิเชียรปรีชญา, นายเพ็งแล, แม่ผาม, พระสงฆ์, อุบาสก, อุบาสิกา, พระรามาธิปบดีศรีสินทรบรมจักรพรรดิราชาธิราชราเมศวรธรรมิกราชเดโชชัยพรหมเทพาดิเทพ ตรีภูวนาธิเบศร์บรมบพิตร, พระ(ทอง)คำ, พระสัมฤทธิ์(สำริด), พระเงิน, พระดีบุก, มหานครนิพพาน, พุทธศาสนา, ปีมะเมีย, ปีชวด, วันเสาร์, ฤกษ์ภรณี, พระสารีริกธาตุ, พระคำ, พระพุทธรูป, พระสัมฤทธิ์, พระสำริด, พระเงิน, พระดีบุก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2023, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคลล-พระมหาเถรสุมงคลราชรุจีศรีพิเชียรปรีชญา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 2023

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/243?lang=th

107

จารึกวัดตระพังนาค

ขอมสุโขทัย

กล่าวถึง สระและพยัญชนะไทย เข้าใจว่าคือตำราหรือแบบเรียนขั้นต้นของคนไทย ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21

จารึกวัดตระพังนาค, สท. 33, สท. 33, ศิลา, หินดินดาน, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดตระพังนาค, อำเภอเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ท้าววิรูปักษ์, ท้าวกุเวร, ท้าวธตรฐ, ท้าววิรุฬหก, พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้ตรัสรู้, ครู, มนุษย์, ผู้เบิกบาน, บุรุษ, วิญญูชน, พระสงฆ์สาวก, พุทธศาสนา, สระไทย, พยัญชนะไทย, บทสรรเสริญ, พุทธคุณ, ธรรมคุณ, สังฆคุณ, ทิศประจิม, ทิศอุดร, ทิศบูรพา, ทิศทักษิณ, กิเลส, วิชชา, จรณะ, โลก, เทวดา, พระธรรม, ยุคสมัย-พุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, เรื่อง-วรรณกรรม, เรื่อง-วรรณกรรม-แบบเรียน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 21

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/173?lang=th

108

จารึกวัดต้นผึ้ง

ฝักขาม

กล่าวถึงการอุทิศข้าพระให้อยู่ปฏิบัติดูแลพระพุทธรูปในวัด

ลพ. 8 จารึกวัดต้นผึ้ง (สันนิษฐานว่าปี (ระวาย) ไจ้ ตรงกับ พ.ศ. 2059), ลพ. 8 จารึกวัดต้นผึ้ง (สันนิษฐานว่าปี (ระวาย) ไจ้ ตรงกับ พ.ศ. 2059), พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2459, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2459, อายุ-จารึก พ.ศ. 2059, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2059

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18164?lang=th

109

จารึกวัดดุสิตาอาราม

ฝักขาม

พ.ศ. 2039-2041 มหาเถรมงคลผะหญาเจ้าได้สร้างอารามชื่อ ดุสิตาอาราม และถวายแก่เจ้าแสนกัลยาณ และเจ้าแสนกัลยาณได้ประทานพระพุทธรูปหนึ่งองค์ เงินและทองจำนวนหนึ่ง พร้อมทั้งแต่งตั้งข้าพระให้อยู่ดูแลอารามแห่งนี้

จารึกวัดดุสิตาอาราม, ชร. 63, ชร. 63, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, หินทรายสีเทา,รูปใบเสมา, วัดดุสิตาอาราม, อำเภอจุน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, นักบุญ, มหาเถรมงคลผะหญาเจ้า, เจ้าแสนกัลยาณ, เจ้าหัวแสน, พระเจ้า, เจ้าหมื่นลอมงคลเถ้า, เฒ่า, ปากญง, หนังสือพัน, ผะหยา, หนังสือพุด, พันนาหลังเพก, ลำพันซวมรู้, พ่อบัวผะหญา, ไสมอย, ขุนจอ, อ้ายตอน, ขุนเก้า, สามลาก, ไสทอง, เถ้ามวง, เฒ่ามวง, ปู่ลาย, คำลอ, ถราหล้า, ทิดรัด, ทิดเชริง, แม่เก้า, แม่จัน, แม่ทาน, แม่เพก, แม่โหล, ทอง, เงิน, เมืองโสม, พุทธศาสนา, สร้างอาราม, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีเมถุน, ราศีพฤษภ, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกันย์, ปีระวายสี, เดือนเจ็ด, วันพุธ, พระพุทธรูป, ครัว, เม็ง, มอญ, วันเสาร์, กลองงาย, ปีเปิกซง้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039-2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในศูนย์ศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูเชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาเถรมงคลผะหญาเจ้า, บุคคล-เจ้าแสนกัลยาณ

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

พุทธศักราช 2039-2041

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1421?lang=th

110

จารึกวัดดอนคราม

ฝักขาม

พ.ศ. 2031 พระมหาราชเทวีเจ้าให้คนนำตราสารทองคำมามอบแก่นางเมืองพะเยา นางเมืองพะเยาให้คนนำตราสารทองคำนั้นมาไว้ที่วัดดอนคราม พร้อมทั้งถวายข้าพระให้อยู่ดูแลพระพุทธรูปและพระภิกษุสงฆ์

จารึกวัดดอนคราม, พย. 2, พย. 2, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, หลักที่ 100 ศิลาจารึกวัดดอนคราม, หลักที่ 100 ศิลาจารึกวัดดอนคราม, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดสันพระเจ้าดำ (วัดร้าง), ตำบลศรีถ้อย, อำเภอแม่ใจ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาราชเทวีเจ้าแผ่นดิน, ล่ามบุญ, พันคำ, แม่คีง, แม่คิง, เจ้าหมื่นจ่าบ้าน, นางเมืองพะเยา, นางเมืองพญาว, นางเมิงพญาว, พันนาหลัง, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันเขิงคดีแคว้น, พันเชิงคดีแคว้น, พันเขิงคดีหลวง, พันเชิงคดีหลวง, พันพอน, พันฟอน, นายหนังสือแคว้น, คนพันหนังสือพื้นเมืองพิง, พระพุทธเป็นเจ้า, พระมหาเถรเจ้า, พระพุทธเจ้า, ข้าพระ, ตราหลาบคำ, ตราสารทองคำ, บ้านทิดสึกใหม่, พุทธศาสนา, วัดดอนคราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฟหัสบดี, ราศีกุมภ์, ลัคนา, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีมังกร, ปีวอก, ปีเปิกสัน, วันกดเส็ด, เม็ง, วันอาทิตย์, สมณฤกษ์, ครัว, พระพุทธรูป, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2548, จาก : 1) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-ราชวงศ์มังราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระมหาราชเทวี, บุคคล-นางเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2031

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1555?lang=th

111

จารึกวัดช้างค้ำ 1

ธรรมล้านนา

พระยาพลเทพฦาชัยได้บูรณะพระวิหารอันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปในวัดหลวงกลางเวียงในจุลศักราช 910 โดยขอให้ได้มีปัญญาแตกฉาน ตอนท้ายระบุถึงจำนวนเงินที่ใช้ในการบูรณะและคำอุทิศส่วนกุศลแด่เทวดา, ครอบครัว, ญาติพี่น้อง, บรรพบุรุษ และสรรพสัตว์ทั้งปวง

หลักที่ 74 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ, จารึกวัดช้างค้ำ, นน. 3 จารึกพระยาพลเทพฤาชัย, นน. 3 จารึกพระยาพลเทพฤาชัย, ศิลาจารึกอักษรไทยฝ่ายเหนือ : จ.ศ. 910 (พ.ศ. 2091) ได้มาจากวัดช้างค้ำ ต. เวียง อ. เมือง จ. น่าน, ศิลาจารึกอักษรไทยฝ่ายเหนือ : จ.ศ. 910 (พ.ศ. 2091) ได้มาจากวัดช้างค้ำ ต. เวียง อ. เมือง จ. น่าน, จารึกวัดช้างค้ำ, จ.ศ. 910, พ.ศ. 2091, จ.ศ. 910, พ.ศ. 2091, จุลศักราช 910, พุทธศักราช 2091, จุลศักราช 910, พุทธศักราช 2091, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดช้างค้ำ วัดพระธาตุช้างค้ำ ตำบลในเวียง จังหวัดน่าน, ล้านนา, พระยาพลเทพฦาชัย, วัดหลวงกลางเวียง, มหาพิหาร, มหาวิหาร, พุทธเหตุการณ์สำคัญ : ปฏิสังขรณ์, บูรณะอื่นๆ : กุศล, พระพุทธรูป, จตุโลกบาล, รุกขเทวดา, ปัพพตเทวดา, ภูมิเทวดา, อากาศเทวดา, คนธรรพ์, นาค, ภุชงค์, อีศวร, สารีริกธาตุ, ภวัคคพรหม, หิ้วหีด, อินทร์, พรหม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2091, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศักราช 2091

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1693?lang=th

112

จารึกวัดจอยแซ

ฝักขาม

พ.ศ. 2038 เจ้าศรีสัทธรรมะพุทธิอำมระเถระ ถวายวัดจอยแซแด่พระมหาเทวีเจ้า พระมหาเทวีเจ้าก็รับไว้ พร้อมทั้งมอบหมายข้าพระจำนวน 20 ครัว ไว้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์ในวัด

จารึกวัดจอยแซ, พย. 39, พย. 39, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ศรีสัทธรรมะพุทธิอำมระเถระ, เจ้าหมื่นน้อยใน, เจ้าร้อยคำ, เจ้าต้องแต้มญาณคงคา, พระมหาเทวีเจ้า, มหาเถระเจ้า, พระเถระเจ้า, พระเป็นเจ้า, บัณฑิต, รัตนผะหยา, รัตนปัญญา, นายชาวเลา, เจ้าร้อยคำแดง, นาปรัง, นาพระเป็นเจ้า, นายเมิง, นายเมือง, เจ้าแสนข้าวพวกเสนา, เจ้าหมื่นสามล้าน, เจ้าข้อยศรี, เจ้าสามหมื่น, เจ้าห้าสิบอัน, เจ้าพันต่างเมิง, เจ้าพันต่างเมือง, เจ้าร้อยอรหํ, เจ้าไท, เจ้านาย, พระเป็นเจ้าแผ่นดิน, คำศรี, ศรีคชทิต, ถวิล, บุญยืน, บุญสาย, บุญมี, สุวัน, สารีบุตร, ร้อยอ้าย, กำเพียร, บุญสม, สังสา, อ้ายน้อย, ทิดกอง, เจ้าจุฬา, แก้ว, อุ้นน้อย, ไพทิ, บุญรังสี, ศรัทธากลอย, สาคร, คำพา, สุวรรณมณฑา, พระพุทธเจ้า, หล้า, มนนียา, รุ่ง, มหาเถรเจ้าศีลบาล, เจ้าขุน, มหาพุกามเจ้า, มหาญาณรังสี, มหาญาณกิตติเจ้า, นายเมิงรังสี, นายเมืองรังสี, จาริก, จารึก, หนังสือ, จาริดชื่อ, หอหน้าไม้, พุทธศาสนา, วัดจอยแซ, ถวายวัด, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, ปีเถาะ, ปีโถะ, ปีดับเหม้า, เดินปุษยะ, เดือนปุษยะ, เดินสี่, เดือนสี่, ออก, วันพุธ, กัดเร้า, ส่วนบุญ, ครัว, อาชญา, ทุกข์ไตร, สุข, พระพุทธรูป, เดินมาฤฆะ, เดินมาฆะ, เดือนมาฤฆะ, เดือนมาฆะ, เปิกเส็ด, หัสตะ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าศรีสัทธรรมะพุทธิอำมระเถระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 2038

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1743?lang=th

113

จารึกวัดจอมมณี

ไทยน้อย

เป็นพระบรมราชโองการของสมเด็จพระบรมบพิตรเป็นเจ้าเหนือหัว (พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช) และพระราชมารดา ให้พระยานครและขุนนางผู้ใหญ่สร้างศิลาจารึกหลักนี้ (ลงตำนาน) และช่วยกันทำนุบำรุงศาสนา รวมทั้งกำหนดเขตกัลปนาที่ดิน และอุทิศทาสโอกาสแก่วัด ส่วนด้านที่ 2 สร้างสมัยพระมหาธรรมิกราช กล่าวถึงการถวายที่ดินแก่วัดมณีเชษฐาราม เช่นเดียวกัน

นค. 4, นค. 4, จารึกวัดจอมมณี, ศิลาจารึกวัดจอมมณี, พ.ศ. 2098, พุทธศักราช 2098, พ.ศ. 2098, พุทธศักราช 2098, จ.ศ. 917, จุลศักราช 917, จ.ศ. 917, จุลศักราช 917, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถวัดจอมมณี, ตำบลมีชัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรเป็นเจ้าเหนือหัวพระราชมารดาอัครมหาเทวี, เจ้าแสนโสภา, เจ้าแสนใสฟ้า, พระสัพพัญญูเจ้า, พระยานคร, เจ้าพระยา, เจ้าลุนสัพพะ, กองปาน, เจ้าสงฆ์, ข้าโอกาส, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ข้าเศิก, ข้าศึก, บพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชชัยมงคล, บพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชไชยมงคล, ตรัยภูวนาถ, ไตรภูวนาถ, โพธิสัตว์ขัติยพุทธจักโรภาส, ศรีธรรมมิกราชาบรมนาถ, ข้าว, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3ชื่อ, นาใต้, พุทธศาสนา, มณีเชษฐาราม, พุทธเขต, เขตนา, อาราม, วัดมณีเชฏฐา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ให้ทาน, วงดวงชาตา, พระจันทร์, พระพุธ, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระเจ้า, พระพุทธรูป, พระชัย, ปีรับเหม้า, ปีดับเหม้า, วันอาทิตย์, ฤกษ์อุตราสาตร์, ฤกษ์อุตราสาฒ, ตำนาน, วัสสา, ที่ดิน, มณฑล, สวน, ไร่นา, พระราชอาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุณนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2098, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจอมมณี หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช, บุคคล-พระยานคร

หน้าพระอุโบสถวัดจอมมณี ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2098

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2369?lang=th

114

จารึกวัดควาง

ฝักขาม

กล่าวถึงการอุทิศข้าพระให้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์

จารึกวัดควาง, พย. 48, พย. 48, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดดงแล, บ้านเหยียน, ตำบลใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไสหรวย, เม, เมีย, ลูก, ญิง, หญิง, มหาเถรเจ้า, ข้าพระพุทธเจ้า, พี่ญา, เจ้าพญา, ลูกมหาเถรสารีบุตร, พันหลวงกอว, พันหลวงกอง, ข้าพระ, หมื่น, ขุน, ผู้สินออกกิน, ทุมเทด, หมื่นแจ่ม, หมื่นท้าว, พระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือต่างเมิง, เจ้าพันหนังสือต่างเมือง, ทุมเทดหมื่นเขา, เค้า, พันสุวันหนังสือ, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, ปากรัด, ปากพันหนังสือ, เจ้าหมื่นหนังสือ, เจ้าไท, เจ้าพันต่างเมิง, ปากท้าว, เงิน, เลาบ้านพันวา, แช่พราน, เมิงพญาว, เมืองพญาว, เมืองพะเยา, พสิม, พุทธศาสนา, วัดควาง, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, แต่งเมิง, แต่งเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีมังกร, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีธนู, ปีรวงไส้, บุญ, ที่ดิน, ที่นา, พระพุทธรูป, เรือน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1761?lang=th

115

จารึกวัดกลางพยาว

ฝักขาม

ด้านที่ 1 บรรทัดแรก ได้กล่าวถึง เดชานุภาพในศิริมงคลจงมีแด่พระศาสนาแห่งพระศากยะบุตรโคตมต่อเท่า 5,000 ปี กล่าวถึงการไว้ข้าพระเพื่อรักษาพระวัดกลางพะเยา และกล่าวถึงพระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด จากเนื้อความที่จารึกนี้แสดงว่า เป็นเรื่องของวัดกลางเมืองพะเยา ในปี พ.ศ. 2042 ซึ่งจารึกได้บ่งบอกศักราชไไว้เป็นจุลศักราช 861 ตรงกับรัชกาลพระเมืองแก้วนั่นเอง สำหรับนามของพระมหาเถระที่จารึกบันทึกไว้ว่า “พระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด” สงสัยว่า “พระเกิด” นั้นควรจะเป็นชื่อวัดที่ท่านครองอยู่ในฐานะเจ้าอาวาสก็ได้ และวัดในจังหวัดเชียงรายก็มีอยู่วัดหนึ่งเรียกว่า “วัดศรีเกิด” หรือ “วัดเกิดศรี” หากไม่เช่นนั้น ก็น่าจะเป็นนามเดิมของท่าน

จารึกวัดกลางพยาว, ลพ. 33, ลพ./33, พช. 14, 337, ลพ. 33, ลพ./33, พช. 14, 337, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, จ.ศ. 861, พุทธศักราช 861, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระศาสนาพระศากยมุนีโคตมเจ้า, สังฆมนีตะสัททาจาริย์นันทผระหญา, พ่อ, นัน, สินหล้า, สีร้อย, สีไอ, ลูกข้า, พระสงฆ์, มหาสามี, ธัมมเสนา, มหาสังฆราชาผระหญาวงวัดลี, ปากหนังสือเมิง, พันศรีพัด, เถ้าเมืองญี, เถ้าเมิงญี, เถ้าเมิงขวัญ, เถ้าเมืองขวัญ, ปากเทบพันขวัญ, พระพุทธเจ้า, สรีธรรมจักรวัติราชา, พระราชมาดา, เจ้าเมิงพยาวพ่อกลาง, เจ้าเมืองพะเยาพ่อกลาง, พุทธศาสนา, วัดพระเกิด, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, บุญ, ปีกัดเม็ด, เดินมาฆะ, เดือนมาฆะ, วันกัดเม้า, วันกัดเหม้า, เม็ง, มอญ, วันพุธ, พระพุทธรูป, เทวดา, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2042, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กรวดน้ำ,บุคคล-พระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด, บุคคล-มหาสังฆราชาผระหญาวงวัดลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2042

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2020?lang=th

116

จารึกลุงพระเจ้า

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด จับความไม่ได้

จารึกลุงพระเจ้า, พย. 86, พย. 86, หิน, เศษจารึกชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, น้ำมัน, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1908?lang=th

117

จารึกรอยบุญ

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด บอกเพียงว่าบุคคลชื่อ “รอยบุญ” มีความปรารถนาที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง

จารึกรอยบุญ, จารึกแผ่นอิฐร้อยบุญ, พย. 33, พย. 33, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, ชำรุด, วัดศรีอุโมงคำ, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, รอยบุญบาเลา, รอยบุญป้าเลา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-รอยบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1736?lang=th

118

จารึกรอบองค์ระฆังสถูปศิลา

ฝักขาม

จารึกกล่าวถึงบุคคล คือ “มหาเถร” ว่าเป็นผู้สร้างองค์ระฆัง

จารึกรอบองค์ระฆังสถูปศิลา, พย. 68, พย. 68, หินทรายสีแดง, สถูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, บุคคล-มหาเถร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1867?lang=th

119

จารึกรอบฐานสถูปศิลา

ฝักขาม

จารึกกล่าวถึงบุคคล คือ “หนาน” ว่าเป็นผู้สร้างพระสถูป ด้วยมุ่งหวังที่จะมีตาทิพย์

จารึกรอบฐานสถูปศิลา, พย. 67, พย. 67, หินทรายสีแดง, สถูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, หนาน, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, บุคคล-หนาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1865?lang=th

120

จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรพิตร

ฝักขาม

พ.ศ. 2005 พระมหาเถรสัทธรรมไตรพิตรวิจิตรปิฎกสารเป็งโญเจ้า ประธานฝ่ายสงฆ์ ได้แจ้งเจ้าพันจ่าบ้านให้ขออนุญาตใครบางคนเพื่อทำกิจอะไรบางอย่าง ข้อความจารึกต่อจากนี้ขาดหายไปไม่สมบูรณ์

ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรฯ, ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรฯ, 1.5.1.1 วัดดงตุ้มหลุ้ม พ.ศ. 2005, 1.5.1.1 วัดดงตุ้มหลุ้ม พ.ศ. 2005, ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรพิตร พ.ศ. 2005, ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรพิตร พ.ศ. 2005, ชม. 52, ชม. 21, พ.ศ. 2005, พุทธศักราช 2005, พ.ศ. 2005, พุทธศักราช 2005, จ.ศ. 824, จุลศักราช 824, จ.ศ. 824, จุลศักราช 824, หินทรายสีเทา, รูบใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2005, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระมหาเถรสัทธรรมไตรพิตรวิจิตรปิฎกสารเป็งโญเจ้า

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2005

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15630?lang=th

121

จารึกมหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์ฯ วัดสิบสองห้อง

ฝักขาม

พ.ศ. 2058 มหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์ฯ แห่งวัดสิบสองห้อง และมหาเถรเจ้าญาณกิตติ ได้ชักชวนอุบาสกอุบาสิกาให้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยการบริจาคทองคำ และข้าพระจำนวนหนึ่งไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระพุทธรูปองค์นี้

จารึกมหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์ฯ วัดสิบสองห้อง, พย. 13, พย. 13, จารึกวัดสิบสองห้อง, พ.ศ. 2058, พุทธศักราช 2058, พ.ศ. 2058, พุทธศักราช 2058, จ.ศ. 877, จุลศักราช 877, จ.ศ. 877, จุลศักราช 877, หินทรายสีแดง, หลักสี่เหลี่ยมชำรุด, วัดศรีจอมเรือง, ที่ว่าการอำเภอเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์สรปัญ, มหาเถรสัทธรรมถิรคัมภีร์สรปัญโญ, มหาเถรเจ้าญาณกิตติ, เจ้าตนน้อง, สังฆเถร, อุบาสก, อุบาสิกา, นักบุญ, สังฆเถร, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระเป็นเจ้า, หมื่นนาหลังยอด, หมื่นแปน, พันเถ้าเมิงสิน, พันเถ้าเมืองสิน, พันเฒ่าเมิงสิน, พันเฒ่าเมืองสิน, เค้า, ประธาน, เจ้าเมิงสอยพญาว, เจ้าเมิงสอยพยาว, เจ้าเมิงสอยพะยาว, เจ้าเมิงสอยพะเยา, เจ้าเมืองสอยพญาว, เจ้าเมืองสอยพยาว, เจ้าเมืองสอยพะยาว, เจ้าเมืองสอยพะเยา, มหาเถรเจ้า, ออกสาขา, ล่ามบุตรา, เจ้าวัดเกิดหลวง, เจ้าสุนนอาราม, เถรเจ้าป่าสงัด, นักบุญชาวกลาดร่วง, เถรเจ้าวัดแปน, นักบุญสินบาน, นักบุญในเวียงเชียงแสน, พันนาวังเหนือ, พันนาวังใต้, พราน, นางล่ามแขก, ฟอนสุวรรณ, เจ้าไท, เจ้านาย, ทอง, เงิน, พยาว, พะยาว, พะเยา, งาง, เมิงบ่อ, เมืองบ่อ, เมิงลอ, เมืองลอ, อ้อย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, บริจาคสิ่งของ, บริจาคข้าพระ, หล่อพระพุทธรูป, อภิเษก, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, พระเสาร์, ราศีพิจิก, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, พระราหู, ราศีกรกฏ, ปีกุน, ปีดับไก๊, เดือนมาฆ, วันกัดไส้, เม็ง, ติดถี, ติดถิ, ดีถี, อัศเลษ, สมณฤกษ์, สังขยา, ครัว, อุปัฏฐาก, หอมหญับ, ปีกาเร้า, ปีดับไก๊, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์, บุคคล-มหาเถรเจ้าญาณกิตติ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2058

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1623?lang=th

122

จารึกมหาเถรศรีเทพ

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

ข้อความจารึกชำรุดเป็นบางส่วน ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกมหาเถรศรีเทพ, กท. 58, กท. 58, เงิน, ลักษณะวัตถุ, ไทย, อยุธยา, มหาเถรศรีเทพ, พระบาลพล, ป่า, พุทธศาสนา, เดือนแปดออกใหม่, ปีชวด, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ยุคสมัย-พุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/621?lang=th

123

จารึกมหาเถรธรรมทิน

ฝักขาม

อ่านจับใจความได้เล็กน้อย เกี่ยวกับการอุทิศข้าพระแก่วัด แต่ในจารึกนี้ ปรากฏชื่อพระเถระองค์หนึ่งที่มีความสำคัญมากของล้านนาในสมัยพระเจ้าติโลกราช คือ พระมหาเถรเจ้าธรรมทิน แต่ในจารึกนี้เขียนตามตัวว่า “มหาเถนธำมะทิน” หากไม่มีพระเถระองค์อื่นที่ใช้นามนี้สืบต่อมาดุจ “สมณศักดิ์” หรือ “ฉายา” แล้ว พระมหาเถรเจ้าธรรมทินในศิลาจารึกนี้ ก็คงจะเป็นองค์เดียวกันกับ “ท่านพระธรรมทินนะ” ผู้เป็นองค์ประธานในการกระทำสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 8 ที่เรียกว่า “อัฏฐมสังคายนา” ในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช เมื่อปีพุทธศักราช 2020 ก็ได้ อนึ่งท่านพระมหาเถระผู้นี้ เป็นชาวเมืองเชียงราย จากหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ฉบับชำระใหม่ ของกรมศิลปากร ซึ่งท่านผู้ชำระ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับพระมหาเถระองค์นี้ไว้ว่า เมื่อพระศาสดาปรินิพพานได้ 1977 ปี ปลายปีฉลู จุลศักราช 705 พระเถระเหล่านั้นไปเมืองเชียงแสน แคว้นโยน (โยนก) ได้อุปสมบทกุลบุตรเป็นอันมากที่เกาะดอนแท่น ขอให้ทราบว่า พระมหาเถระอุปสมบทในคราวนั้น มีพระธรรมเสนาปติกุลวงศ์เป็นต้น ในปีจุลศักราชนั้นเอง พระมหาเถระทั้งหลาย ท่านได้สร้างมหาวิหารป่าแดงหลวง (วัดป่าแดง) ในวันเพ็ญ เดือน 3 ที่เชิงดอยจอมกิตติ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือนครเชียงแสน พระมหาเถรเหล่านั้น ภายหลังได้ทำการอุปสมบทกรรมในปีนั้นเอง ที่สุวรรณปาสาณกะ (แปลว่า แผ่นหินทองคำ เข้าใจว่า เป็นชื่อบ้านวังคำ ด้านตะวันออกเฉียงเหนือดอยตองเชียงรายในปัจจุบันนี้) ในเมืองเชียงราย ขอให้ทราบว่า พระมหาเถระที่ได้อุปสมบทในคราวนั้น คือ “พระธรรมทินนะ” เป็นต้น ท่านพระธรรมทินนะดังที่กล่าวมานี้ ท่านได้อุปสมบทในปี พ.ศ. 1977 ในรัชกาลของพระเจ้าสามฝั่งแกน พระราชบิดาของพระเจ้าติโลกราช

จารึกมหาเถรธรรมทิน, ลพ. 11 จารึกสังฆราชาธรรมทิน พุทธศตวรรษที่ 21, ลพ. 11 จารึกสังฆราชาธรรมทิน พุทธศตวรรษที่ 21, ลพ. 11, ลพ./11, พช. 7, 339, ลพ. 11, ลพ./11, พช. 7, 339, จารึกพระมหาเถรเจ้าธรรมทิน, หินทรายสีเทา, แท่งสี่เหลี่ยมทรงสูง, ปลายแหลม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญีน้อย, สมพันน้อย, พันสรีทาด, พันนินร้อย, สังฆราชา, มหาเถรเจ้าธรรมทินเจ้า, ข้าพระ, นายไส, ขาเรน, สรีจูลา, จอม, นางบัว, คำต่อม, เถ้าสาม, เฒ่าสาม, ส้อยบุน, มงคน, ญากน, ออเงินพระ, ยาริ, คำปุด, โหะ, ล่ามน้อย, คำร้อย, คำกอง, แม่บัวขวัญ, เมิงสรีพัด, เมืองศรีพัด, พุทธศาสนา, รํ, ร่, ครัว, เริน, เรือน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-การอุทิศข้าพระ, บุคคล-พระธรรมทิน, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระธรรมทินนะ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1980?lang=th

124

จารึกมหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า)

ฝักขาม

ข้อความจารึกด้านที่ 1 ชำรุด จับใจความไม่ได้ ด้านที่ 2 เป็นรายชื่อชาวบ้านที่อุทิศที่ดินแก่วัด

จารึกมหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า), ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, วัดร้าง, วัดแม่สุกพระธาตุ, ตำบลแม่สุก, อำเภอแม่สุก จังหวัดพะเยา, มหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า), ชาวเจ้า, พระภิกษุ, มอน, ขาวจุลา, พ่อมา, ปู่ชาย, แม่กำเพียน, แก้วกางหาวชื่อ, เมิงพะยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, อุทิศที่ดิน, เม็ง, มอญ, เต่าเส็ด, วงดวงชาตา, พระพุธ, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, ราศีกรกฏ, เขต, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแม่สุกพระธาตุ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน

วัดแม่สุกธาตุ บ้านแม่สุก ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1924?lang=th

125

จารึกมหาสามีเจ้าญาณเทพคุณวัดบ้านดอน

ฝักขาม

พ.ศ. 2046 มหาสามีเจ้าญาณเทพคุณ วัดบ้านดอน ได้บริจาคข้าพระให้แก่วัดบ้านหนอง เป็นจำนวน 7 ครัว ข้อความต่อจากนั้นเป็นรายนามข้าพระ เงิน และสิ่งของที่บริจาค

จารึกมหาสามีเจ้าญาณเทพคุณวัดบ้านดอน, พย. 10, พย. 10, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 105 ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ, หลักที่ 105 ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, หินทรายสีดำ, รูปใบเสมา, ที่ว่าการอำเภอเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีเจ้าญาณเทพคุณ วัดบ้านดอน, เทพน้อย, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, โถงลอด, นังเอ้ย, นังเอื้อย, อ้ายมลาน, เทพพระคุณ, อีกอน, เก็บน้อย, พันเถ้าเมืองศรีพัด, พันเฒ่าเมืองศรีพัด, มหาอับไพรญะติกขะประหญา, ราชาวัดพระญาร่วง, ราชาวัดพญาร่วง, พันวันหนังสือเมือง, ล่ามพ่อเชิงคดีแคว้น, ลำพันพ่อน้อยเชียงดี, ลำพันจิตเชียงดี, ห้าสิบพุดเชียงดี, ญารังสีทนคนยาง, ญารังสีบ้านคนยาง, คนสังฆราชาพญาร่วง, คนสังฆราชาพระญาร่วง, ล่ามสวน, ล่ามนาพูซาง, เจ้าเถรหลานรักษา, เงินชื่อ, ปราสาทพระเจ้า, หอปิฎก, พุทธศาสนา, วัดบ้านหนอง, บริจาคข้าพระ, ถวายข้าพระ, วงดวงชาตา, ปีกาไก๊, วันเต่าสี, เม็ง, วันอังคาร, กฤติกา, ทาน, ครัว, ร่, พระพุทธรูป, ค่าคีง, ค่าคิง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, บุคคล-มหาสามีเจ้าญาณเทพคุณ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2046

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1588?lang=th

126

จารึกมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด

ฝักขาม

พ.ศ. 2056 พระภิกษุฝ่ายสวนดอกไม้ จากวัด 19 วัด จำนวน 80 รูป มีมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิดเป็นประธาน ร่วมกับเจ้าเมืองพะเยา ได้มีบัญชาให้บรรดาข้าราชการช่วยกันพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับการชำระนครสีมา

จารึกมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด, พย. 12, พย. 12, ศิลาจารึกวัดพระเกิด, ศิลาจารึกวัดพระเกิด ชร. 6 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 875, ศิลาจารึกวัดพระเกิด ชร. 6 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 875, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดร้างบริเวณโรงเรียนพะเยาพิทยาคม, วัดร้างบริเวณโรงเรียนพะเยาวิทยาคม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระสงฆ์ฝ่ายสวนดอกไม้, มหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด, ประธาน, มหาสามีพระ, พ่อหญอเจ้า, พ่อหญัวเจ้า, เจ้าเมืองพยาว, เจ้าเมิงพยาว, เจ้าเมืองพะเยา, เจ้าเมิงพะเยา, จิต, เจ้าหมื่นนาหลังยอด, เจ้าหมื่นซ้ายมงคลประหญา, เจ้าพันเถ้าเมืองศรีนน, เจ้าพันเถ้าเมิงศรีนน, เจ้าหมื่นดอนแกว่น, เจ้าราชบัณฑิตตนชื่อมงคลประหญา, วิสุทธาดิเรก, อเนกปัญญา, นครสีมา, พุทธศาสนา, วัดมหาโพธิ์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีมังกร, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีตุล, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีสิงห์, ปีระกา, ปีกาเร้า, เดือนจิตระ, โหสตระ, บุรพาษาฒ, บูรพาสาฒ, บุพพาสาฒ, เม็ง, วันอังคาร, วันเต่าเส็ด, สุทธศรัทธา, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2056, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2056

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1614?lang=th

127

จารึกมหาสามีญาณคัมภีระ

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2046 มหาสามีญาณคัมภีร์ได้ชักชวนพระสงฆ์และฆราวาสสร้างอุโบสถหลังนี้ ปรารถนาให้ผลบุญบังเกิดแก่พระราชาและส่งผลให้ผู้ร่วมสร้างทุกคนได้ถึงซึ่งนิพพาน

ชม. 6 จารึกการสร้างอุโบสถ, ชม. 6 จารึกการสร้างอุโบสถ, ชม. 6 จารึกมหาสามีญาณคัมภีระ พ.ศ. 2146, ชม. 6 จารึกมหาสามีญาณคัมภีระ พ.ศ. 2146, 1.4.1.1 อุโบสถ บ้านพระเนตร พ.ศ. 2046, 1.4.1.1 อุโบสถ บ้านพระเนตร พ.ศ. 2046, พุทธสถานเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-มหาสามีญาณคัมภีระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

ไม่พบที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2046

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13071?lang=th

128

จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด ปรากฏเพียงรายนามพระสงฆ์ และขุนนาง ที่ได้รับมอบหมายให้ร่วมกันทำหรือสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ, จารึกเจ้าแสนพยาว, พย. 22, พย. 22, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเจ้าพรม, มหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่น, มหาเถรหลานเจ้า, หลวงมงคล, เจ้าแสนพยาว, เจ้าหมื่นนาหลังแท่น, ธรรมะโชติปาละ, พุทธศาสนา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ธรรมะโชติปาละ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1684?lang=th

129

จารึกภาษาจีนที่ระฆังโบราณวัดดอนรัก

จีน

ข้อความจารึกระบุชื่อผู้สร้างระฆัง คือ เจ้าพระยาอู๋เหวินเยิ่น

จารึกภาษาจีนที่ระฆังโบราณวัดดอนรัก, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, ระฆัง, ข้างหอระฆังของวัดดอนรัก, สงขลา, เจ้าพระยาอู๋เหวินเยิ่น, พระเจ้าจาชิ่น, เจ้าพระยาโง่ว บุญหุ้ย, เคี่ยเค่ง, เจ้าพระยาพิชัยคิริ, ปีมะเมีย, ปีมะแม

ข้อมูลเดิมระบุว่าอยู่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มัชฌิมาวาส จังหวัดสงขลา สำรวจแล้วไม่พบจารึกดังกล่าว (สำรวจเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2561)

พุทธศักราช 2067

จีน

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2527?lang=th

130

จารึกพุทธอุทานคาถา

ธรรมล้านนา

ตอนต้นระบุจุลศักราช 876 นอกนั้นเป็น “พุทธอุทานคาถา” ภาษาบาลี ซึ่งเป็นคาถาอยู่ในพระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาคที่ 1 มหาขันธกะ เรื่องโพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ

ชร. 62 จารึกพุทธอุทานคาถา พ.ศ. 2057, ชร. 62 จารึกพุทธอุทานคาถา พ.ศ. 2057, จุลศักราช 876 (พ.ศ. 2057), สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานรูปปราสาท, ล้านนา, พญาแก้ว, มังราย, วัดพูขีง (วัดสันทราย) บ้านดงชัย อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย, พุทธ, วินัยปิฎก, คาถา, พระพุทธเจ้า, พระไตรปิฎกมหาขันธกะ, เรื่องโพธิกถา, ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2057, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พุทธคาถา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2057, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

พุทธศักราช 2057

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1662?lang=th

131

จารึกพุทธศาสน์

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏเพียงชื่อวัน

จารึกพุทธศาสน์, พย. 24, พย. 24, หินทรายสีเทา, แผ่นสี่เหลี่ยม ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, พุทธศาสน์, วันกดไส้, เม็ง, มอญ, วันประหัด, วันพฤหัสบดี, ติดถิ, ติดถี, ดีถี, ริก, ฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1691?lang=th

132

จารึกพุทธศตวรรษที่ 21

ฝักขาม

กล่าวถึงการถวายข้าพระและที่นาให้กับวัดนี้ โดยมีรายชื่อผู้ถวายและจำนวนข้าพระที่ถวายในจารึกด้วย
(เนื้อหาของจารึกเหมือนกับจารึกวัดกู่เสาหิน ด้านที่ 2)

ชม. 10 จารึกแสนเข้าไสแสนเข้าอิน, ชม. 10 จารึกแสนเข้าไสแสนเข้าอิน, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ชม. 10, ชม. 10, พุทธศตวรรษที่ 21, พุทธศตวรรษที่ 21, วัดขันทอง (หรือขันหอม?) ตำบลวังเหนือ อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง, หินทรายสีเทา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12891?lang=th

133

จารึกพุทธรักษา

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด จารึกด้านที่ 2 ระบุรายชื่อข้าพระ

จารึกพุทธรักษา, พย. 20, พย. 20, จารึกพระรัตนตรัย, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ทิดเทพ, อุรา, แก้วหลง, สินโต, พุทธศาสนา, ครัว, วงดวงชาตา, พระจันทร์, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, พระเสาร์, พระราหู, ราศีพฤษภ, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1664?lang=th

134

จารึกพอกคำพระเจ้าตนหลวง

ฝักขาม

ข้อความกล่าวถึงการถวายและหุ้มทองพระพุทธรูป พร้อมทั้งแต่งตั้งข้าพระไว้ประจำวัดเพื่อปฏิบัติดูแลในส่วนต่างๆ

ชร. 2 จารึกพอกคำพระเจ้าตนหลวง พ.ศ. 2039, ชร. 2 จารึกพอกคำพระเจ้าตนหลวง พ.ศ. 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, หิน, รูปใบเสมา, วัดศรีสุทธาวาส, อำเภอเวียงป่าเป้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ข้าพระ, มหาสัง, ธัมมะกำเพียร, พระมหาเทวีเจ้า, นายอำแดง, นายคำช้อย, เทพมงคล, เอ้ยป้อม, จิตตะมงคล, ผ้าขาวอ้าย, สามขัง, ทิดรัด, ห้องเชิงคดี, ผะหญา, พุทธศาสนา, ถวายพระพุทธรูป, หุ้มทองพระพุทธรูป, ขอบบัวเสมา, วันจันทร์, ไทยรวงเร้า, ปีระวายสี, ไทยเต่าเส็ด, วงดวงชาตา, ปีดับเหม้า, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศรีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระศุกร์, ราศีมีน, ราศีสิงห์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีกรกฎ, ราศีพิจิก, ปีดับเหม้า, พระเจ้าตนหลวง, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีสุทธาวาส เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทองพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีสุทธาวาส ตำบลสันสลี อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 29 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1413?lang=th

135

จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว

ฝักขาม

ในด้านที่ 1 ขึ้นต้นจารึกเป็นคำนมัสการแด่พระพุทธเจ้าด้วยภาษาบาลี ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงศาสนาแห่งพระโคตมเจ้าล่วงพ้นไปแล้ว 2067 ปี ในด้านที่ 2 จารึกได้บ่งบอกถึงพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เรื่องที่ได้จากศิลาจารึกนี้ ที่น่าสังเกตก็คือ การใช้จุลศักราชและพุทธศักราชนั้นเป็นหลักฐานที่ตรงกับหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ดังที่ท่านผู้ชำระชี้แจงไว้ ส่วนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในจารึกนี้ควรจะได้แก่พระเจ้าตนหลวง ที่วัดศรีโคมคำ จังหวัดพะเยา นั่นเอง เพราะทางภาคเหนือแล้วก็มีพระพุทธรูปที่ใหญ่ที่สุดเพียงองค์เดียวเท่านั้น ประกอบกับหลักฐานที่พบศิลาจารึกหลักนี้ก็รับรองอยู่แล้วว่า พบที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยาก็เคยเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงรายมาก่อน หากความเข้าใจดังนี้ไม่ผิด จารึกหลักนี้แต่เดิมก็ควรจะปักอยู่ที่วัดศรีโคมคำ หรือวัดพระเจ้าตนหลวง ซึ่งเป็นประวัติการก่อสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพระเมืองแก้ว ปีพุทธศักราช 2067

จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, จารึกพระเจ้าตนหลวง (เมืองพยาว), พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, ศิลา, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระโคตม, พระโคดม, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ลัคนา, ราศีเมถุน, นิพพาน, หว่างคิ้ว, ศอก, ตา, วา, เค้าหน้า, หู, อก, คืบ, บ่า, คาง, หัวนม, แหล, สะดือ, แขน, เมาลีพระเจ้า, เมาลีพระพุทธรูป, หัวกลมหลวง, พระเศียรกลมใหญ่, ผม, เม็ดพระศก, เค้าพระพักตร์, วงพระพักตร์, พระขนง, พระเนตร, พระนาสิก, จมูก, พระโอษฐ์, ปาก, ดัง, พระกรรณ, พระอุระ, คอ, พระศอ, บ่า, พระอังสา, ดูกด่ำมีด, ดูกด้ามมีด, พระรากขวัญ, กระดูกไหปลาร้า, พระหนุ, เต้าพระถัน, พระกัจฉะ, รักแร้, สะดือ, พระนาภี, แขน, พระพาหา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2067

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2014?lang=th

136

จารึกพระสุเมทังกรสร้างพระพุทธรูป

ฝักขาม

ข้อความจารึกเป็นคำอธิษฐานของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ พระสุเมทังกร ขอให้เกิดทันยุคพระศรีอารย์ และได้ถึงซึ่งนิพพานอันเป็นเลิศ

จารึกเจ้าพระสุเมทังกร, จารึกแผ่นทองจั๋งโก๋ พระพุทธรูปคอระฆัง พระธาตุหริภุญชัย ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ (2), ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ (2), ลพ. 49, ลพ. 49, โลหะ, แผ่นทองจั๋งโก๋บุพุทธปฏิมากร ปางถวายเนตร, ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้, คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย, วัดพระธาตุหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระสุเมทังกร, พระศรีอารยไมยตรีเป็นเจ้า, พระศรีอารยเมตไตรย, พระศรีอารย์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป พระพุทธปฏิมา, พระเทพดา, เนียรพาน, นิพพาน, บอทอโมค, ปถโมกษ์, เทศนา, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, งานเกี่ยวกับจารึก, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นทองจั๋งโก๋, ลักษณะ-จารึกรูปพระพุทธปฏิมากร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ (2) คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 20-21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2033?lang=th

137

จารึกพระสัตย์ปฏิญาณ

ฝักขาม

เป็นข้อความที่กล่าวถึงคำ “พระสัตย์ปฏิญาณ” ระหว่างพระราชภาคิไนย (หลาน) และพระมาตุลา (น้า) ผู้ครองราชสมบัติ

จารึกพระสัตย์ปฏิญาณ, ลพ. 14 จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย (ประมาณ พ.ศ. 2025-2050), ลพ. 14 จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย (ประมาณ พ.ศ. 2025-2050), หลักที่ 83 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, หลักที่ 83 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, ลพ. 14, ลพ./14, พช. 26, 347, ลพ. 14, ลพ./14, พช. 26, 347, หินทรายสีแดง, ชำรุด, หลักสี่เหลี่ยม, วัดพระธาตุหริภุญไชย, มุมตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สัปปุรุษ, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, โลการถจรรยา, ภัยอันตราย, ราชสมบัติ, คำพระสัตย์ปฏิญาณ, บุญญาภิสนท์, ธรรม, อนาคต, เทพดา, อารักษ์, มงคลจักราพาล, จักรวาล, ผลบุญ, โลกัตถจริยา, โทษ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2508)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2077?lang=th

138

จารึกพระศรีมหาโพธิ

ฝักขาม

กล่าวถึงต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่านำมาจากทางทิศใต้ทุกต้น

ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 12, ชร.12, หินชนวนสีน้ำตาล, ลักษณะ, แผ่นรูปไข่, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, พุทธศาสนา, ทักขิณ, ทักษิณ, พระทันตธาตุ, ไทย, ล้านนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปวงรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ต้นพระศรีมหาโพธิ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1464?lang=th

139

จารึกพระวชิรเถรสร้างพระพุทธรูป

ธรรมล้านนา

พระวชิรเถระสร้างพระพุทธรูปหิน โดยขอให้ได้ตรัสรู้ในพระโพธิญาณ

จารึกพระวชิรเถรสร้างพระพุทธรูป, ชร.32, ชร. 32, พุทธศตวรรษที่ 21-23, พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปอาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ตรัสรู้, พระพุทธเจ้า, สัพพัญญู, โพธิญาณ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนหินทราย, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกในวังพระโบราณเวียงเดิม, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังพระโบราณเวียงเดิม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระวชิรเถระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง , มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดพระโบราณเวียงเดิม ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเวียงไชย จังหวัดเชียงราย

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1505?lang=th

140

จารึกพระราชาอโศกราชฟังธรรมเทศนา

ฝักขาม

พ.ศ. 2021 สมเด็จพระราชาอโศกราชผู้เป็นเจ้าได้ฟังธรรมเทศนา และอนุโมทนาด้วยความศรัทธา

จารึกพระราชาอโศกราชฟังธรรมเทศนา, พย. 45, พย. 45, 1.5.1.1 บ้านสันต้นม่วง, 1.5.1.1 บ้านสันต้นม่วง, จ.ศ. 840, จุลศักราช 840, จ.ศ. 840, จุลศักราช 840, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, หินทราย, รูปใบเสมา, ชำรุด, วัดร้าง, ตำบลใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพันหลวงสองขา, สมเด็จพระราช, สังฆราช, เจ้าเมิงพิง, เจ้าเมืองพิง, มหาสังฆราชาวัดหลวง, มหาสังฆราชาวัดคำ, มหาเถรธรรมจินดา, สมเด็จพระราชาอโศกราชผู้เป็นเจ้า, เจ้าหมื่นน้อยคอนแก้ว, เจ้าพันอินหนังสือเมิง, เจ้าพันอินหนังสือเมือง, เจ้าพันฟ้อน, เจ้าพันเถ้าเมิงแก้ว, เจ้าพันเฒ่าเมืองแก้ว, ปากธรรมรัด, นายญางูพูน, พุทธศาสนา, ฟังธรรมเทศนา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพุธ, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีกรกฎ, พระราหู, ปีเปิกเส็ด, เม็ง, วันอังคาร, วันกาเหม้า, ริกสหัสตะ, ฤกษ์หัสตะ, เดินผลคุณ, เดือนผลคุน, เดือนผาลคุน, วันพฤหัสบดี, วันกาไส้, ริกสสวัดสตี, ฤกษ์สวัสดี, อายุ-จารึก พ.ศ. 2021, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-สมเด็จพระราชาอโศกราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2021

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1753?lang=th

141

จารึกพระมหาเถรนำพระพุทธศาสนาจากลังกามาหริภุญชัย

ฝักขาม

กล่าวถึงพระมหาเถรเจ้า 25 รูป ที่ได้นำเอาพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปมายังอาณาจักรหริภุญชัย

จารึกพระมหาเถรนำพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีป, ชร. 4, ชร. 4, จารึกการสืบพุทธศาสนาในลังกาทวีป, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, หินทรายสีน้ำตาล, หลักสี่เหลี่ยม, วัดร้าง, วัดรัตนวราราม, ตำบลท่าวังทอง, จังหวัดพะเยา, ตำบลดงเจน กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพระศรีสากยมุนีโคตมเจ้า, มหาเถรเจ้า, มหาสารมังคละ, มหาศรีสัทธรรมคุณวันรัตนลังการเถรเจ้า, ลังกาทวีป, ลังกาทิบ, ลังกาทีบ, เมิงหริภุญชัย, เมืองหริภุญชัย, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราหู, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พระมหาเถรเจ้า 25 รูป, เรื่อง-การนำพระพุทธศาสนามาจากลังกาทวีป, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2041

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1433?lang=th

142

จารึกพระพุทธรูปตะวันออกเฉียงใต้ องค์ที่ 1

ฝักขาม

ข้อความจารึกเป็นคำอธิษฐานของผู้สร้างพระพุทธรูป ขอให้เกิดทันยุคพระศรีอารย์, ขอให้มีปัญญามาก และมีทรัพย์สมบัติดังพระจักรพรรดิราช

จารึกเจ้าพระพุทธรูปตะวันออกเฉียงใต้ องค์ที่ 1, จารึกเจ้าพระพุทธรูปตะวันออกเฉียงใต้ องค์ที่ 1, จารึกแผ่นทองจั๋งโก๋ พระพุทธรูปคอระฆัง พระธาตุหริภุญชัย ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ (1), ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ (1), ลพ. 48, ลพ. 48, โลหะ, แผ่นทองจั๋งโก๋บุพุทธปฏิมากร ปางถวายเนตร, ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้, คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย, วัดพระธาตุหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระญาจักรพรรดิราช,พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, สมบัติ, แผ่นดิน, ปัญญา, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, งานเกี่ยวกับจารึก, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นทองจั๋งโก๋, ลักษณะ-จารึกรูปพุทธปฏิมากร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ (1) คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 20-21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2031?lang=th

143

จารึกพระธรรมกาย

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึก ศาสตราจารย์ฉ่ำ ทองคำวรรณ ได้ตรวจสอบในหนังสือพระธรรมกายาทิ เป็นเรื่อง พระธรรมกาย

จารึกพระธรรมกาย, พล. 2, พล. 2, หลักที่ 54 ศิลาจารึกภาษาไทยและมคธ, หลักที่ 54 ศิลาจารึกภาษาไทยและมคธ, พ.ศ. 2092, พุทธศักราช 2092, พ.ศ. 2092, พุทธศักราช 2092, หินชนวนสีเขียว, แผ่นสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดเสือ, จังหวัดพิษณุโลก, ไทย, สุโขทัย, มหาเถรศรีพงศ์, มหาพรหมกุมาร, อุบาสก, ทายก, พุทธศาสนา, ปีวอก, มาฆมาศ, ศุกรวาร, วันศุกร์, เชษฐฤกษ์, อุษาโยค, พระพรรษา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2092, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 2092

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/186?lang=th

144

จารึกพระญางำเมืองและพระญาร่วง

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏเพียงนาม “ลาวงำเมิง” และ “พระญาร่วง” นอกนั้นจับความไม่ได้

จารึกพระญางำเมืองและพระญาร่วง, พย. 54, จารึกลาวงำเมืองและพญาร่วง, หินทรายสีแดง, แผ่นสี่เหลี่ยมชำรุด, วัดร้าง, น้ำอิงฝั่งเหนือ, ตำบลน้ำยง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ลาวงำเมิง, ลาวงำเมือง, พระญาร่วง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ระชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, บุคคล-ลาวงำเมิง, บุคคล-พระญาร่วง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1795?lang=th

145

จารึกพบที่วัดลี

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด จับความไม่ได้

จารึกพบที่วัดลี, พย. 88, พย. 88, หิน, เศษจารึกชำรุด, วัดลี, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1912?lang=th

146

จารึกพญา

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึกระบุนามผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้

จารึกพญา, ลพ. 50 จารึกพญา (พ.ศ. 2031-2050), ลพ. 50 จารึกพญา (พ.ศ. 2031-2050), นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึก พ.ศ. 2050, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031-2050, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-เจ้าพุดพัดเทวากร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 2031-2050

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12850?lang=th

147

จารึกประดิษฐานพระธาตุ

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการประดิษฐานพระธาตุ

จารึกประดิษฐานพระธาตุ, กท. 59, กท. 59, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระเจ้ารัตนมาลา, อ้ายญิอัง, งัว, อัวน้อย, เอียยูงัว, อ้ายรัด, เจ้าสมินรัตนรังสี, ผ้าขาว, ผ้าเทศ, ผ้าชิพอร, ผ้าจีวร, เสื้อสะไบ, หัวแหวนมอน, พุทธศาสนา, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, พระจวงกรม, พระจงกรม, พระพิมพ์ญญายออกแก้ว, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/617?lang=th

148

จารึกปกเวียงพยาว

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุดมาก ด้านที่ 3 ปรากฏรายชื่อบุคคลที่ร่วมกันทำบุญ

จารึกปกเวียงพยาว, จารึกปกเวียงพะเยา, พย. 23, พย. 23, พ.ศ. 2025, พุทธศักราช 2025, พ.ศ. 2025, พุทธศักราช 2025, จ.ศ. 844, จุลศักราช 844, จ.ศ. 844, จุลศักราช 844, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยมปลายมน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีอุปคุตเจ้า, กองแก้วนายวัด, อาจารย์ขนานเชียงยืน, เจ้าหมื่นน้อยนาหลังแก่นชาย, เวียงพยาว, เวียงพะเยา, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, ปล่อยสัตว์, วงดวงชาตา, ปีขาล, ปีเต่ายี, เดือนมาฆะ, เหมันตฤดู, โหรา, บุญ, เวร, คำผาถนา, คำปรารถนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, พ.ศ. 2025, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2025

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1687?lang=th

149

จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุปี พ.ศ. 2038 และพระนามของพระเจ้าแผ่นดิน คือ ศรีธรรมมหาบรมราชาจักรวรรดิธรรมิกราชาธิราชกับพระมหาราชเทวี

ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง, ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง, 1.2.1.1 บ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2039, 1.2.1.1 บ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2039, ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2038, ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2038, ชม. 62, ชม. 62, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, รูบใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ศรีธรรมมหาบรมราชาจักรวรรดิธรรมิกราชาธิราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2038

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15665?lang=th

150

จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีน้อยคำ จับความได้ว่ากล่าวถึงการอุทิศคนและเงินให้แก่วัด

จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด, ชร. 24, ชร. 24, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เบี้ย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1407?lang=th

151

จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ข้อความจารึกมีน้อยคำ ไม่ชัดเจนว่ากล่าวถึงเรื่องอะไร

จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ, ชร. 20, ชร. 20, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, รัตนทัญ, ราญ, มวรรัตน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1403?lang=th

152

จารึกบนแผ่นอิฐพุทธสร

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีข้อความว่า “ดินพุทธสร” น่าจะเป็นชื่อของที่ดินแห่งหนึ่ง

จารึกบนแผ่นอิฐพุทธสร, ชร. 22, ชร. 22, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินพุทธสร, ดินพุดทะสอน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1405?lang=th

153

จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น

ธรรมล้านนา

ข้อความจารึกระบุนามของผู้ปั้นอิฐคือ “ธุกขัตย”

จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น, ชร. 23, ชร. 23, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ปั้นอิฐ, ธุกขัตยะ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3931?lang=th

154

จารึกบนแผ่นอิฐ

ฝักขาม

จารึกชำรุดมาก ปรากฏข้อความเพียงน้อยคำ ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกบนแผ่นอิฐ, ชร. 16, ชร. 16, ดินเผา, แผ่นชำรุด, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แอวี, โลกย์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1399?lang=th

155

จารึกบนดินขอโรงเหนือ

ธรรมล้านนา,พม่า

บอกประวัติของดินขอแผ่นนี้ว่าถูกปั้นขึ้นเมื่ออยู่โรงเหนือ

ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 – 23, ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 – 23, พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ดินเผา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เวียงห้าว ตำบล หัวงุ้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย, ล้านนา, โรงเหนือ, พุทธ, ดินขอ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1610?lang=th

156

จารึกบนดินขอญาณปั้น

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีคำเดียว คือ “ญาณปั้น”

จารึกบนดินขอญาณปั้น, ชร. 19, ชร. 19, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญาณปั้น, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ญาณปั้น, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1401?lang=th

157

จารึกนายศรีโยธาออกบวช

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึกกล่าวถึง นายศรีโยธาถูกแมงคาเข้าหู แล้วป่วยจนไม่สามารถรับราชการต่อไปได้ จึงได้อำลาพระญาศรีไสยรณรงค์สงครามออกจากราชการ แล้วออกบวชเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 ปีฉลู สัปตศก จุลศักราช 868 และได้กล่าวถึงมหาสัทธาปุญโญขอทีดินจากพระญาศรีไสยรณรงค์สงคราม เพื่อสร้างอารามในตำบลพระศรีมหาโพธิ์ ต้นศรีมหาโพธิ์ดังกล่าวนี้ พระมหาสวามีอนุราชได้อัญเชิญมาแต่ลังทวีป ซึ่งปลูกไว้ในระหว่างกลางบ้านอ้ายรอกและบ้านมตเพ็ง นอกจากนี้แล้วยังได้กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลอื่นๆอีก

จารึกนายศรีโยธาออกบวช, สท. 28, สท. 28, ท. 40, ท. 40, หลักที่ 86 ศิลาจารึกนายศรีโยธาออกบวช พุทธศักราช 2071, หลักที่ 86 ศิลาจารึกนายศรีโยธาออกบวช พุทธศักราช 2071, ศิลาจารึก อักษรขอมโบราณ ภาษาบาลีและภาษาไทย, หลักที่ 86 ศิลาจารึกอักษรขอมภาษาบาลีและภาษาไทย, หลักที่ 86 ศิลาจารึกอักษรขอมภาษาบาลีและภาษาไทย, พ.ศ. 2071, พุทธศักราช 2071, พ.ศ. 2071, พุทธศักราช 2071, จ.ศ. 890, จุลศักราช 890, พ.ศ. 890, พุทธศักราช 890, พ.ศ. 2048, พุทธศักราช 2048, พ.ศ. 2048, พุทธศักราช 2048, จ.ศ. 867, จุลศักราช 867, พ.ศ. 867, พุทธศักราช 867, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, พ.ศ. 868, พุทธศักราช 868, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, พ.ศ. 875, พุทธศักราช 875, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, เจดีย์วัดโบสถ์, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, นายศรีโยธา, หัวปาก, พระยาศรีไสยรณรงค์สงคราม, มหาสัทธาปุญโญ, พระมหาสวามีอนุราช, มหาสวามีศีลสาคร, เจ้าเมืองรามราช, มหาอุปาสก, หมื่นนริน, พระพุทธเจ้า, พระยาศรีธรรม, คนครัว, ชาย, หญิง, พระมหาสัทธา, เจ้าไทย, สงฆ์, อุบาสากอุบาสิกา, อุบาสกอุบาสิกา, สมเด็จพระสังฆราช, ไม้ไผ่, ต้นตาลลอน, ไม้สาล, พระมหาโพธิเจ้า, แมงคา, แร่, เหล็ก, เงิน, ทอง, สัมฤทธิ์, สำริด, ดีบุก, หิน, ไม้, ปูน, คำ, ตำบลพระศรีมหาโพธิ, ลังกาทวีป, บ้านอ้ายรอก, บ้านมตเพ็ง, พิษณุโลก, พุทธศาสนา, อุโบสถ, อาราม, พระเจดีย์, พระวิหาร, พระพิหาร, พระเชตุพนอาราม, องคาสวัสดิ์, วัด, การตั้งศักราช, บวช, อุปสมบท, สร้างอาราม, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, พระศรีรัตนไตรแก้ว, มาส, ปี, เดือน, วัน, คืน, ฟกษ์ผานาที, ดิถี, ศุภมหุรดิ, หู, เอาราชการ, วันพฤหัสบดี, ฉลูนักษัตร, ปีฉลู, สัปตศก, ปีขาล, ขาลนักษัตร, อัฏฐศก, วันพุธ, ฤกษ์บุษย, ตะวันชาย, บาท, พุทธฎีกา, เส้น, ยงเขา, ยุ้งข้าว, ปีระกา, ตำลึง,มหหุรดี, ใบเหยียบย่ำ, รูปมหาสวามีอนุราช, รูปมหาพุทธสาคร, หา, หัวนอน, ไร่, ผลอานิสงส์, เกล้า, ผม, โอฆสงสาร, อำนาจพยาธิ, อาพาธอันตราย, อายุ, นิพพาน, ปีชวด, ชวดนักษัตร, สัมฤทธิศก, ดุล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2071, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาราม, บุคคล-นายศรีโยธา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศักราช 2071

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/228?lang=th

158

จารึกธรรมมิกราชา

มอญโบราณ

เนื่องจากจารึกชำรุดค่อนข้างมาก ข้อความที่อ่าน-แปลได้จึงไม่ต่อเนื่องกัน จับความได้เพียงว่ามีการกล่าวถึง “พระเจ้าธรรมิกราช” หรือพระราชาผู้ทรงธรรม และ “อานิสงส์ต่างๆ” ซึ่งนายเกษียร มะปะโม ได้ให้ความคิดเห็นไว้ว่า พระเจ้าธรรมิกราชที่ปรากฏในจารึกน่าจะเป็นกษัตริย์พระองค์เดียวกับที่ถูกกล่าวถึงในชินกาลมาลีปกรณ์ ว่า “เมื่อพระเจ้าอาทิจจ์ ล่วงลับไปแล้ว ยังมีกษัตริย์องค์หนึ่งพระนามว่า “ธัมมิกราชา” ครองราชสมบัติต่อมา ทรงสร้างพระพุทธรูปสูง 18 ศอก ดำรงอยู่ในราชสมบัติ 5 ปี สวรรคต ต่อจากนั้น พระเจ้ารถครองราชสมบัติอยู่ 5 ปี ต่อจากนั้น พระเจ้าสัพพาสิทธิ ทรงราชาภิเษกเมื่อพระชนมายุ 17 ปี และพระองค์ก่อเสริมพระธาตุทรงปราสาทไว้เป็นสูง 24 ศอก ทรงสะสมบุญเป็นอันมาก ครองราชสมบัติอยู่ 45 ปี”

จารึกธรรมมิกราชา, ลพ. 36, ลพ./36, พช. 36,40, ลพ. 36, ลพ./36, พช. 36, 40, หินทราย, แผ่นหิน, บริเวณคณะอัฏฐารส, วัดพระธาตุหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, พระเจ้าธรรมิกราช, พุทธศาสนา, หริภุญไชย, หริภุญชัย, อานิสงส์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย-พระเจ้าธรรมิกราช, บุคคล-พระเจ้าธรรมิกราช, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 17

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/549?lang=th

159

จารึกที่แหล่งตัดหิน

ฝักขาม

ข้อความในจารึกกล่าวว่ามีพระพุทธรูปอยู่ใต้หินก้อนนี้องค์หนึ่ง

จารึกที่แหล่งตัดหิน, นวพรรณ ภัทรมูล, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่แหล่งตัดหินทราย พะเยา

แหล่งตัดหินทราย บริเวณเทือกเขาใกล้สำนักวิปัสสนาผาธรรมนิมิต ตำบลท่าวังทอง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19147?lang=th

160

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (เจ้าสอรัด)

ไทยสุโขทัย

กล่าวถึงนามผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยอธิษฐานขอให้ได้พบพระพุทธศาสนาในอนาคตกาลสมปรารถนา

หลักที่ 299 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (เจ้าสอรัด), หลักที่ 299 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (เจ้าสอรัด), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระพุทธรูปสำริด, ปิดทองทึบ, ประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, เจ้าสอรัด, นางขอด, พุทธศาสนา, โพธิสมภาร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในห้องผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-เจ้าสอรัด

ห้องผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 20-21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/142?lang=th

161

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ)

ไทยสุโขทัย

กล่าวถึงชื่อบุคคล คือ พระออกหมื่นโปศเทพ

หลักที่ 300 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ), หลักที่ 300 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย, พระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย, วัดเขาพระบาทน้อย, เมืองเก่าสุโขทัย, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระออกหมื่นโปศเทพ, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัยและ, ดอกรัก พยัคศรี, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระออกหมื่นโปศเทพ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/144?lang=th

162

จารึกถ้ำเด่นงัว 4

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุว่า พระเป็นเจ้าอยู่หัวซึ่งมีความกรุณาแก่คราวทั้งหลาย ได้ประกาศให้ตั้งศิลาจารึก(ว่าด้วยอำนาจของคราว) ไว้เพื่อคราวทั้งมวล และให้ทุกคนยึดตามคำสั่งในศิลาจารึกนั้น ห้ามรื้อถอนและละเมิดโดยเด็ดขาด

จารึกถ้ำเด่นงัว 4, จารึกถ้ำเด่นงัว 4, ลป. 45 จารึกถ้ำเด่นงัว 4 พ.ศ. 2058, ลป. 44 จารึกถ้ำเด่นงัว 4 พ.ศ. 2058, 1.6.2.1 ประตูผา (3), 1.6.2.1 ประตูผา (3), ลป. 45, ลป. 44, ถ้ำเด่นงัว อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-จัดเก็บภาษี, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าหมื่นญี่พิง, บุคคล-เจ้าหมื่นญี่สามลาน, บุคคล-เจ้าหมื่นคราวญี่พิง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2058

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15983?lang=th

163

จารึกถ้ำจอมธรรม

ฝักขาม

ในปี พ.ศ. 2045 สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า พร้อมด้วยอำมาตย์มนตรี ที่มาร่วมเป็นสักขีพยาน ในการทำบุญอุทิศส่วนกุศล แก่สมเด็จบพิตรพระอัครราชมาดาพระมหาเทวีเจ้า ด้วยการไถ่ข้าพระจำนวน 12 ครัว

ลป. 7 จารึกดอยจำ พ.ศ. 2045, ลป. 7 จารึกดอยจำ พ.ศ. 2045, จารึกถ้ำจอมธรรม, ลป. 7, ลป. 7, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม, ภาษาไทย, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, ม.ศ. 1424, มหาศักราช 1424, ม.ศ. 1424, มหาศักราช 1424, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดลำปาง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สักขีพยาน, เป็นเค้า, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า, พระราชมนตรี, พันโคตรพระขัน, หมื่นน้อยคำชลุนจุลาต้องแต้ม, เจ้าร้อยดง, เด็กชาย, เจ้าพวกพรมสือมิตรสันเถ้า, เจ้าพวกพรมสือมิตรสันเฒ่า, เจ้าพุทธิมาจารย์, ครู, กุศลโกฐาส, เค้า, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า, พระราชมนตรี, พันโคตรพระพัน, หมื่นน้อยคำชลุนจุลาต้องแต้ม, เจ้าร้อยดง, เด็กชาย, เจ้าพวกพรมสือ, มิตรสันเถ้า, มิตรสันเถ้า, เจ้าพุทธิมาจารย์, ครู, สมเด็จบพิตรพระอัครราชมาดามหาเทวีเจ้า, พระเจ้าดอยจำ, นักบุญ, คนเมือง, ท้าวพระยาอำมาตย์, ราชมนตรี, อาจารย์ญาวิลาสป่าแดง, สืบทอง, ธรรมบาล, อโน, หนอยขอด, จัน, ลวะ, บุญหลวง, อาจารย์ธรรมเตชะ, ข้าพระ, เบ้, เบี้ย, จังหัน, เงินพระ, พุทธศาสนา, ไถ่คน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, ราศีตุล, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีมังกร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, พระราหู, ราศีเมษ, มคธ, เม็ง, ปีจอ, หนไทย, เต่าเส็ด, เดือนเจียง, ดิถี, อุตราสาฒ, นักษัตร, วันอาทิตย์, เปลิกยี่, เปลิกยี, ยามแตร, นพเคราะห์, นบพระเคราะห์, ทวาทสอาวาส, พระราชอาทิตย์, ดุล, ลักษณ์, มนุษย์วิสัย, กุศลโกฐาส, ครัว, ทาน, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกศาลากลางจังหวัดลำปาง ลำปาง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ไถ่ข้าพระ

ศาลากลางจังหวัดลำปาง ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

พุทธศักราช 2045

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1963?lang=th

164

จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายที่ดินแด่พระพุทธรูปไสยาสน์

จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทรายสีเทา, รูปครึ่งวงกลม, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินมาดา, ดินทารอก, พุทธศาสนา, ถวายที่ดิน, พระพุทธรูป, พระไสยาสน์, ที่ดิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1392?lang=th

165

จารึกตัวเลข

ฝักขาม

อักษรในจารึกเป็นตัวเลขทั้งหมด

จารึกตัวเลข, พย. 83, พย. 83, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบันทึกตัวเลข, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1904?lang=th

166

จารึกด้านหลังฐานพระพุทธรูปหินทราย

ฝักขาม

ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “(-)ามบ่อเงิน”

จารึกด้านหลังฐานพระพุทธรูปหินทราย, พย. 74, พย. 74, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, บ่อเงิน, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1886?lang=th

167

จารึกดวงชาตาบนส่วนยอดของใบเสมา

ฝักขาม

เป็นวงดวงชาตาระบุฤกษ์, วันเดือนปีที่จารึก

จารึกดวงชาตาบนส่วนยอดของใบเสมา, พย. 73, พย. 73, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, หินทรายสีน้ำตาล, ใบเสมาชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, ราศีสิงห์, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีมีน, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2042, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2042

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1884?lang=th

168

จารึกฐานพระอิศวรเมืองกำแพงเพชร

ไทยสุโขทัย

คำจารึกฐานพระอิศวรนี้ บาดหลวงฉมิธได้เคยแปลและพิมพ์ในหนังสือเสียมอองเซียงมาครั้งหนึ่งแล้ว มีทั้งรูปถ่ายองค์พระอิศวร พร้อมทั้งแท่นที่ยืนและตัวอักษรที่จารึกนั้นด้วย จารึกที่ฐานรอบพระบาทพระอิศวรมี 3 บรรทัด (จารึกเรียงเป็นบรรทัดตามลำดับโดยรอบ) เป็นอักษรไทย ภาษาไทย เมื่อ ม.ศ. 1432 (พ.ศ. 2053) เป็นเรื่องเจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราชประดิษฐานรูปพระอิศวรนั้น (คำว่าประดิษฐานจะหมายความว่า หล่อขึ้นใหม่หรือเชิญมาจากที่อื่น เอามาไว้ในเทวสถานนั้น ข้อนี้สงสัยอยู่) และว่าได้บำเพ็ญสาธารณกุศลต่างๆ มีซ่อมแปลงพระมหาธาตุ และบำรุงถนนหนทางต่างๆ แล้ว และขอถวายพระราชกุศลแด่พระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์ คือสมเด็จพระบรมราชาพระเจ้าแผ่นดินกรุงศรีอยุธยาพระองค์หนึ่ง และสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เมื่อยังปรากฏพระนามว่า พระเชษฐา เป็นอุปราชครองเมืองพิษณุโลกอีกพระองค์หนึ่ง

จารึกฐานพระอิศวรกำแพงเพชร, กพ. 2, กพ. 2, หลักที่ 13 จารึกบนฐานพระอิศวรจังหวัดกำแพงเพชร, หลักที่ 13 จารึกบนฐานพระอิศวรจังหวัดกำแพงเพชร, พ.ศ. 2053, พุทธศักราช 2053, ม.ศ. 1432, มหาศักราช 1432, พ.ศ. 2053, พุทธศักราช 2053, ม.ศ. 1432, มหาศักราช 1432, โลหะ, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานสี่เหลี่ยม, ศาลพระอิศวร, เมืองกำแพงเพชร, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, อยุธยา, พระเทพกรรม, พระอิศวร, พระยาศรีธรรมาโศกราช, ปู่พระยาร่วง, ละว้า, สมเด็จบพิตรพระเจ้าอยู่หัว, วัว, โค, ข้าว, ท่อ, เมืองกำแพงเพชร, วัดบริพาร, บางพาน, บางพร้อ, เหมือง, ฝาย, เหย้า, เรือน, ถนนทลา, แม่ไตร, ยุ้ง, พุทธศาสนา, การซ่อมแปลงพระมหาธาตุ, การซ่อมแปลงวัดบริพาร, การทำบุญ, การถวายพระราชกุศล, มะเมียนักษัตร, วันอาทิตย์, อาทิตยพาร, หัสตฤกษ์, พุทธศาสตร์, ไสยศาสตร์, การค้าขาย, การทำนา, การดำนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2053, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานเทวรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3, บุคคล-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2, บุคคล-สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร

พุทธศักราช 2053

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/220?lang=th

169

จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง

ฝักขาม

ระบุถึงบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “เม(เมีย)นายร้อยสวนลิ”

จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง, พย. 76, พย. 76, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นายร้อยสวนลิ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เมียนายร้อยสวนลิ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1890?lang=th

170

จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง

ฝักขาม

ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “เถ้าเอ้ย”

จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง, พย. 79, พย. 79, หินทรายสีน้ำตาลปนแดง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เถ้าเอ้ย, เฒ่าเอ้ย, เถ้าเอื้อย, เฒ่าเอื้อย, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาลปนแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เถ้าเอ้ย

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1896?lang=th

171

จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี

สิงหล

ข้อความจารึกเป็นคาถา ว่าด้วย จตุราริยสัจ อันประกอบด้วย อริยสัจ 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

พย. 32, พย. 32, จารึกภาษามคธบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกษศรี จ. เชียงราย, หลักที่ 80 จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกศศรี จังหวัดเชียงราย, หลักที่ 80 จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกศศรี กิ่งอำเภอภูกามยาว จังหวัดเชียงราย, พย. 32 จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี พุทธศตวรรษที่ 21 - 22, พย. 32 จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี พุทธศตวรรษที่ 21-22, วัดเกษศรี, บ้านร้อง, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นักปราชญ์, ปัญญา, อรรถ, จตุราริยสัจ, ส.ม.นิ., ทุ.นิ.ม., ส.ม.ทุ., ส.นิ.ทุ., โตฏกฉันท์, ทุกขอริยสัจ, สมุทยอริยสัจ, นิโรธอริยสัจ, มรรคอริยสัจ, สัตวโลก, สัตว์โลก, สกลักษณะ, คาถา, ชรา, มรณะ, สังสารทุกข์, นิพพาน, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538), , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดเกษศรี บ้านร้อง ตำบลดงเจน อำเภอภูกามยาว (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอเมือง) จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2531?lang=th

172

จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง

ฝักขาม

ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “สามเจ้า”

จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง, พย. 64, พย. 64, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สามเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1857?lang=th

173

จารึกฐานพระพุทธรูปสามหมากม่วงสร้าง

ฝักขาม

ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “สามหมากม่วง”

จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง, พย. 78, พย. 78, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สามหมากม่วง, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามหมากม่วง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามหมากม่วง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1894?lang=th

174

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดแม่สรวย

ธรรมล้านนา

ข้อความในจารึกกล่าวถึงเหตุการณ์เมื่อ พ.ศ. 2058 พระเถระผู้ใหญ่ได้ป่าวร้องเชิญชวนทุกผู้ทุกคน

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดแม่สรวย, พุทธศักราช 2058, พุทธศักราช 2058, พ.ศ. 2058, พ.ศ. 2058, วัดแสงแก้วโพธิญาณ บ้านใหม่แสงแก้ว ตำบลเจดีย์หลวง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย, ปีจอศก, สีลิปารา, สิริปาลา, ฐานพระพุทธรูปสำริด, ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ปลีกาบเส็ด, ปีกาบเส็ด, มหาพรหมเทพาเจ้า, มหาเถรเจ้าญาณคัมภีร์, นวพรรณ ภัทรมูล, อัญชลี สินธุสอน, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแสงแก้วโพธิญาณ เชียงราย, บุคคล-มหาพรหมเทพาเจ้า, บุคคล-มหาเถรเจ้าญาณคัมภีร์

วัดแสงแก้วโพธิญาณ บ้านใหม่แสงแก้ว ตำบลเจดีย์หลวง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

พุทธศักราช 2058

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19119?lang=th

175

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น

ธรรมล้านนา

ตอนต้นเป็นคาถาย่ออริยสัจ 4 ภาษาบาลี จากนั้นกล่าวถึงรายนามผู้เป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปซึ่งได้แก่ มหาชวปัญญาณ มหาพุทธญาณ มหาสัทธรรมราชมุนี มหาธรรมกิตติ บงหวา [น] ? มหาเถรอารีย และระบุชื่อนางเลาผู้ค้ำชู (ศาสนา?)

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น, ชม. 71, 1 วัดเชียงมั่น, ชม. 71, 1 วัดเชียงมั่น, วัดเชียงหมั้น, จุลศักราช 827, พุทธศักราช 2008, จุลศักราช 827, พุทธศักราช 2008, จ.ศ. 827, พ.ศ. 2008, จ.ศ. 827, พ.ศ. 2008, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, มหาชวปัญญาณ, มหาพุทธญาณ, มหาสัทธรรมราชมุนี, มหาธรรมกิตติ, บงหวา [น] ?มหาเถรอารีย, นางเลา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2008, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดเชียงมั่น, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2008, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, วัตถุ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาชวปัญญาณ, บุคคล-มหาพุทธญาณ, บุคคล-มหาสัทธรรมราชมุนี, บุคคล-มหาธรรมกิตติ

ภายในวิหารวัดเชียงมั่น วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2008

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1721?lang=th

176

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง

ธรรมล้านนา

ตอนต้นเป็นคาถาย่ออริยสัจ 4 ภาษาบาลี จากนั้นกล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ในจุลศักราช 844 โดย (นาย) ธันบี? ซึ่งขอให้ตนได้เป็นอัครสาวกของพระพระเมไตรยเจ้า

ชม. 76 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง, 6 วัดเจดีย์หลวง, ชม. 76 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง, 6 วัดเจดีย์หลวง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง, ชม. 76, ชม. 76, 6 วัดเจดีย์หลวง, 6 วัดเจดีย์หลวง, จุลศักราช 844, พุทธศักราช 2025, จุลศักราช 844, พุทธศักราช 2025, จ.ศ. 844, พ.ศ. 2025, จ.ศ. 844, พ.ศ. 2025, ปีเต่ายี, ปีขาล จัตวาศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, นายธันบี, การสร้างพระพุทธรูป, พระแสนทอง, เมตไตรยะ, พระศรีอารย์, ศรีอาริยเมตไตร, อนาคตพุทธเจ้า, อริยสัจ 4, จตุราริยสัจ, คาถาย่อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2025, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ธันบี

วัดเจดีย์หลวง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2025

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1712?lang=th

177

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอุโมงค์

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 876 มหาสัทธัมมะมงคลปรัชญาวิเศษเจ้า มหาสวามีญาณมงคลเจ้า มหาสวามีสุ วัณณะรังสีเจ้า เป็นประธานในการหล่อพระพุทธรูปน้ำหนัก 285,000 แด่วัดไร่หอม

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอุโมงค์, ชม. 87, 17 วัดอุโมงค์, ชม. 87, 17 วัดอุโมงค์, จุลศักราช 876, พุทธศักราช 2057, จุลศักราช 876, พุทธศักราช 2057, จ.ศ. 876, พ.ศ. 2057, จ.ศ. 876, พ.ศ. 2057, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดอุโมงค์ ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่, พญาแก้ว, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การหล่อพระพุทธรูป, มหาสัทธัมมะมงคลปรัชญาวิเศษเจ้า, มหาสวามีญาณมงคลเจ้า, มหาสวามีสุวัณณะรังสี, วัดไร่หอม, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2057, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดอุโมงค์, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2057, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดอุโมงค์ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาสัทธัมมะมงคลปรัชญาวิเศษเจ้า, บุคคล-มหาสวามีญาณมงคลเจ้า, บุคคล-มหาสวามีสุวัณณะรังสีเจ้า

วัดอุโมงค์ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2057

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1667?lang=th

178

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 1

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พ.ศ. 2044 มหาเถระเจ้ารูปหนึ่งได้ชักชวนนักบุญทั้งหลายให้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 1, ชม. 86, ชม. 86, 16 วัดหัวข่วง, 16 วัดหัวข่วง, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, จ.ศ. 863, จุลศักราช 863, จ.ศ. 863, จุลศักราช 863, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดหัวข่วง, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเถระเจ้า นักบุญ, เจ้าห้าสิบต้าเพี้ยน, เจ้าท้านะสี, เจ้าขุนขวัน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2044, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวข่วง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาเถระ, บุคคล-เจ้าห้าสิบต้าเพี้ยน, บุคคล-เจ้าท้านะสี, บุคคล-เจ้าขุนขวัน

วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2044

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1522?lang=th

179

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง (เชียงใหม่)

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2024 พระภิกษุนามว่า พระสุมังคลเมธาวี ได้เชิญชวนให้อุบาสิกาซึ่งเป็นหลานสาวของหมื่นยูพวกหาญ สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่เมืองฝาง

ชม. 178 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2024, ชม. 178 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2024, ชม. 178, ชม. 178, ฐานพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระสุมังคลเมธาวี

พุทธศักราช 2024

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12908?lang=th

180

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมณเฑียร

ธรรมล้านนา

ระบุถึงศักราชที่สร้างพระพุทธรูป คือ จุลศักราช 854

ชม. 78 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมณเฑียร, 8 วัดมณเฑียร, ชม. 78 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมณเฑียร, 8 วัดมณเฑียร, จุลศักราช 854, พุทธศักราช 2035, จุลศักราช 854, พุทธศักราช 2035, จ.ศ. 854, พ.ศ. 2035, จ.ศ. 854, พ.ศ. 2035, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดมณเฑียร ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, มังราย, พญายอดเชียงราย, ท้าวยอดเมือง, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2035, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดมณเฑียร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2035, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมณเฑียร เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดมณเฑียร ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2035

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1487?lang=th

181

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 1

ธรรมล้านนา

ระบุศักราชที่สร้างพระพุทธรูปคือ จุลศักราช 859

ชม. 84 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 1, 14 วัดพันเตา, ชม. 84 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 1, 14 วัดพันเตา, จุลศักราช 859, พุทธศักราช 2040, จุลศักราชโ 859, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พญาแก้ว, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2040, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดพันเตา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพันเตา เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2040

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1491?lang=th

182

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกหงส์

ฝักขาม

เนื้อความระบุปีที่สร้าง ชื่อผู้สร้าง และน้ำหนักพระพุทธรูป

ชม. 79 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกหงส์, 9 วัดพวกหงส์, ชม. 79 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกหงส์, 9 วัดพวกหงส์, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, จ.ศ. 855, จุลศักราช 855, จ.ศ. 855, จุลศักราช 855, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพวกหงส์, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อครูพระเป็นเจ้า, เจ้าหมื่นหมอจัน, ประธาน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีก่าเป้า, ปีกาเป้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2036, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพวกหงส์ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อครูเป็นเจ้า, บุคคล-พ่อหมื่นหมอจันทร์

วัดพวกหงส์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2036

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1514?lang=th

183

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 3

ฝักขาม

เนื้อความระบุปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ พ.ศ. 2037

ชม. 81 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 3, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, ชม. 81 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 3, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระเจ้าเม็งราย, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2037, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2037

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1518?lang=th

184

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 2

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พ.ศ. 2024 ทิดพรหมอาจารย์ และนายยี่เขียงน้อย ร่วมกันเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้

ชม. 75 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 2, 5 วัดพระเจ้าเม็งราย, ชม. 75 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 2, 5 วัดพระเจ้าเม็งราย, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, จ.ศ. 843, จุลศักราช 843, จ.ศ. 843, จุลศักราช 843, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระเจ้าเม็งราย, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ทิดพรหมอาจารย์, นายยี่เขียงน้อย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, มาสเกณฑ์, หรคุณ, วันร้วงเม็ด, วันรวงเม็ด, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิดพรหมอาจารย์, บุคคล-นายยี่เขียงน้อย

วัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2024

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1510?lang=th

185

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1

ธรรมล้านนา

ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราช โปรดให้สร้างพระพุทธสิหิงค์องค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่บูชาแก่คนทั้งหลาย ตอนท้ายมีการระบุถึงน้ำหนักของพระพุทธรูป

ชม. 72 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, ชม. 72 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, ชม. 72, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, ชม. 72, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, จุลศักราช 831, พุทธศักราช 2012, จุลศักราช 831, พุทธศักราช 2012, จ.ศ. 831, พ.ศ. 2012, จ.ศ. 831, พ.ศ. 2012, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระพุทธสิหิงค์, ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราช, นิพพาน, ส่วนบุญ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2012, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2012, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราช

ภายในวิหารวัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2012

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1696?lang=th

186

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระสิงห์ (พระเจ้าทองทิพย์)

ธรรมล้านนา

ระบุน้ำหนักขององค์พระและวันเดือนปีที่สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ คือ วันเพ็ญ เดือน 6 จุลศักราช 839

ชม. 74 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระสิงห์ (พระเจ้าทองทิพย์), 4 วัดพระสิงห์, ชม. 74 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระสิงห์ (พระเจ้าทองทิพย์), 4 วัดพระสิงห์, จุลศักราช 839, พุทธศักราช 2020, จุลศักราช 839, พุทธศักราช 2020, จ.ศ. 839, พ.ศ. 2020, จ.ศ. 839, พ.ศ. 2020, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2020, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2020

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1479?lang=th

187

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุพนม 1

ธรรมอีสาน

ข้อความจารึกระบุปีศักราชที่จารึก คือ จ.ศ. 865 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2046

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุพนม 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุพนม 1, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปประธานในอุโบสถ, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดธาตุพนม, ไทย, ล้านช้าง, พุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนสำริด, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวิชุลละราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

ฐานพระพุทธรูปประธานในอุโบสถ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

พุทธศักราช 2046

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2219?lang=th

188

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผาบ่อง

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุ จ.ศ. 897 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2078 อันเป็นสมัยที่พระเมืองเกษเกล้าปกครองเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ. 2068-2081) (ช่วงครองราชย์ครั้งที่ 1)

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผาบ่อง, ชม. 89, ชม. 89, 20 วัดผาบ่อง, 20 วัดผาบ่อง, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดผาบ่อง, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: มหาเถรญาณตะนะเจ้า, นักบุญ, แม่เจ้าห้าสีบแก้ว, เจ้านายยาบัณฑิต, เงิน, พุทธศาสนา, วัดมงคลอารามขี้เหล็ก, การประดิษฐานพระพุทธรูป, ปีมะแม, ปีดับเม็ด, เดือนสาวนะ, เพ็ญ, มอญ, วันจันทร์, วันกาบไจ้, อายุ-จารึก พ.ศ. 2078, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดผาบ่อง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาเถรญาณตะนะเจ้า

วัดผาบ่อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2078

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1526?lang=th

189

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าเป้า

ฝักขาม

เนื้อความระบุปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ พ.ศ. 2030

ชม. 77 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าเป้า 1, 7 วัดป่าเป้า, ชม. 77 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าเป้า 1, 7 วัดป่าเป้า, พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัดป่าเป้า, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2030, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าเป้า เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดป่าเป้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2030

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1512?lang=th

190

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าพร้าวใน

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พ.ศ. 2062 สมเด็จวัดสวนดอกบุปผาราม (เจ้าอาวาส) ได้ชักชวนผู้คนทั้งหลายให้ร่วมกันหล่อพระพุทธรูปองค์นี้

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าพร้าวใน 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าพร้าวใน 1, ชม. 88, ชม. 88, 19 วัดป่าพร้าวใน, 19 วัดป่าพร้าวใน, พ.ศ. 2062, พุทธศักราช 2062, พ.ศ. 2062, พุทธศักราช 2062, จ.ศ. 881, จุลศักราช 881, จ.ศ. 881, จุลศักราช 881, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดป่าพร้าวใน, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าอาวาสสมเด็จวัดสวนดอกบุปผาราม, อธิบดีมหาลรยบัณฑิต, ข้าวัด, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, การประดิษฐานพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, ปีกัดเหม้า, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระอังคาร, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, พระเสาร์, พระราหู, ราศีมีน, ราศีกรกฏ, ราศีกุมภ์, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, ราศีพฤษภถ, ราศีเมถุน, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2062, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าพร้าวใน เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สมเด็จวัดสวนดอกบุปผาราม

วัดป่าพร้าวใน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2062

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1524?lang=th

191

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู

ฝักขาม

เนื้อความระบุปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ พ.ศ. 2037

ชม. 80 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, 10 วัดทุงยู, ชม. 80 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, 80 วัดทุงยู, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, ชม. 80, ชม. 80, 10 วัดทุงยู, 10 วัดทุงยู, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดทุงยู, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2037, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทุงยู เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดทุงยู ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2037

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1516?lang=th

192

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 1

ธรรมล้านนา

กล่าวถึงการประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่วัดต้นหมากเหนือเมื่อจุลศักราช 858 (พ.ศ. 2039)

ชม. 83 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 1, 13 วัดดวงดี, ชม. 83 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 1, 13 วัดดวงดี, จุลศักราช 858, พุทธศักราช 2039, จุลศักราช 858, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, พ.ศ. 2039, จ.ศ. 858, พ.ศ. 2039, สำริด, สัมฤทธิ์, วัดดวงดี จังหวัดเชียงใหม่, ฐานพระพุทธรูป, พญาแก้ว, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, วัดต้นหมากเหนือ, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดวงดี เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป

ภายในวิหารวัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2039

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1651?lang=th

193

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 1

ฝักขาม

พ.ศ. 2038 พระมหาสารสิทธิเจ้าและนายโสมหมืนเขาร่วมกันเป็นประธานสร้างพระพุทธรูปองค์นี้

ชม. 82 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 1, 12 วัดช่างแต้ม, ชม. 82 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 1, 12 วัดช่างแต้ม, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดช่างแต้ม, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาสารสิทธิเจ้า, ประธาน, นายโสมหมืนเขาเม, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีดับเหม้า, ปีมะโรง, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาสารสิทธิเจ้า, บุคคล-นายโสมหมืนเขา

วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2038

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1520?lang=th

194

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 2

ฝักขาม

เนื้อความระบุปีที่สร้าง และชื่อผู้สร้างพระพุทธรูป

ชม. 64 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 2, 18 วัดชัยพระเกียรติ์, ชม. 64 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 2, 18 วัดชัยพระเกียรติ์, พุทธศักราช 2060, พ.ศ. 2060, พุทธศักราช 2060, จ.ศ. 879, จุลศักราช 879, จ.ศ. 879, จุลศักราช 879, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดชัยพระเกียรติ, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพันจ่าพวกเรือ, มหาเทวีเจ้า, ประธาน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีเมืองเป้า, ปีเมิงเป้า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2060, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดชัยพระเกียรติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าพันจ่าพวกเรือ, บุคคล-มหาเทวีเจ้า

วัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2060

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1528?lang=th

195

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดคูยาง

ขอมสุโขทัย

กล่าวถึงคาถาภาษาบาลีบทหนึ่ง

จารึกฐานพระพุทธรุปวัดคูยาง, กพ. 3, กพ. 3, สัมฤทธิ์, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดคูยาง, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, อรรถ, จตุราริยสัจ, ส.ม.นิ., ทุ.นิ.ม., ส.ม.ทุ., ส.นิ.ทุ., พระธรรมจักร, ทุกขอริยสัจ, สมุทยอริยสัจ, นิโรธอริยสัจ, มรรคอริยสัจ, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, อริยสัจ, ธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ยุคสมัย-พุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดคูยาง กำแพงเพชร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, รูปหาย

วัดคูยาง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร

พุทธศตวรรษ 21

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/84?lang=th

196

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 1

ธรรมล้านนา

ระบุศักราชที่สร้างพระพุทธรูปคือ จุลศักราช 862 ตรงกับ พ.ศ. 2043

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 1, ชม. 85, 15 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 1, ชม. 85, 15 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 862, พุทธศักราช 2043, จุลศักราช 862, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, พ.ศ. 2043, จ.ศ. 862, พ.ศ. 2043, สำริด, สัมฤทธิ์, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา, พุทธ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2043

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1471?lang=th

197

จารึกฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1398 (พ.ศ. 2019) พระยายุธิษฐิระ ได้สร้างพระพุทธรูปสำริดองค์นี้ขึ้น มีน้ำหนัก 14,000 เพื่อดำรงพระพุทธศาสนา

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, กท. 93 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ, กท. 93 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ, กท. 93, กพช. เลขที่ ก. 7, กท. 93, เลขที่ ก. 7, Notes on the Art of Siam, No. 6 : Prince Yudhisthira, จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ อักษรธรรมล้านนา, หลักที่ 303 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, หลักที่ 303 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, ม.ศ. 1398, มหาศักราช 1398, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, ม.ศ. 1398, มหาศักราช 1398, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดบุนนาค (วัดป่าแดงหลวงดอนไชยบุนนาค) ตำบลดงเจน อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ยุธิษฐิระ, ยุฐิเสถียร, เชียงใหม่, อภินวปุรี, เมืองพะเยา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาบาลีและสันสกฤต, จารึก พ.ศ. 2019, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่พะเยา, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ผู้ครองเมืองพะเยา, พระยายุธิษฐิระ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2019, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเมืองพะเยา, บุคคล-พระยายุธิษฐิระ, บุคคล-พระยายุทธิษฐิระ

พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2019

สันสกฤต,บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1767?lang=th

198

จารึกฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

ไทยสุโขทัย

สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช้างค้ำ องค์ที่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช้างค้ำ องค์ที่ 3, นน. 15, นน. 15, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูปปางประทานอภัย, วิหารวัดพระธาตุช้างค้ำ, ตำบลในเวียง, จังหวัดน่าน, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, ปีมะเมีย, วันพุธ, บุญ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จารึกสมัยสุโขทัย, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, ศิลปากร, เมืองน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางประทานอภัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม

ในวิหารวัดพระธาตุช้างค้ำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 1969, 1970

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/86?lang=th

199

จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง

ฝักขาม

ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พุดเถ้างาง”

จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง, พย. 65, พย. 65, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุดเถ้างาง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พุดเถ้างาง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1861?lang=th

200

จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมหล้าสร้าง

ฝักขาม

ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พันซัมหล้า” พร้อมด้วย “แม่เม”

จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมมหล้าสร้าง, พย. 82, พย. 82, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พันซัมหล้า, เม, เมีย, พุทธศาสนา, ศอก, พระพุทธสมณะ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พันซัมหล้า, บุคคล-แม่เม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1902?lang=th

201

จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง

ฝักขาม

ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อบุญ”

จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง, พย. 60, พย. 60, หินทรายสีเทา, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบสถานที่พบ: จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อบุญ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1846?lang=th

202

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเถรอนงค์

ฝักขาม

ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พระเถรอนงค์”

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเถรอนงค์, พย. 63, พย. 63, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเถรอนงค์, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเถรอนงค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1852?lang=th

203

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26

ฝักขาม

ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พระเจ้าเถร”

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26, จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26, พย. 61, พย. 6, หินทรายสีเทา, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้าเถร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเจ้าเถร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1848?lang=th

204

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน

ฝักขาม

ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อจน”

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน, พย. 62, พย. 62, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อจน, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พ่อจน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1850?lang=th

205

จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง

ฝักขาม

ระบุชื่อพระพุทธรูป คือ “พระพุทธสรณัง” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “แม่คำเชียง”

จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง, พย. 77, พย. 77, หินทรายสีแดง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แม่คำเชียง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่คำเชียง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1892?lang=th

206

จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร

ฝักขาม

ระบุชื่อพระพุทธรูป คือ “พระพุทธตัณหังกร” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “ไสพ่อเ-”

จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร, พย. 75, พย. 75, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไสพ่อ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21 ,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ไสพ่อ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1888?lang=th

207

จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง

ไทยสุโขทัย

ผ้าขาวทอง (หมายถึงชีปะขาว) สร้างพระพุทธรูปเมื่อปี พ.ศ. 1965

จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง, กท. องค์ที่ 16, กท. องค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, ไทย, สุโขทัย, ผ้าขาวทอง, ชีปะขาว, พระแม่มูยเมีย, ยงลูก, ข้าพระ, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ผ้าขาวทอง

ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1965

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/80?lang=th

208

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดเบ็งสกัด

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึก ได้กล่าวถึงเฉพาะปีจุลศักราช 871 อันเป็นรัชสมัยของพระเมืองแก้ว ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ ร่วมสมัยกับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดเบงสกัด, นน. 17, นน. 17, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดเบ็งสกัด, อำเภอปัว, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2052, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเบงสกัด น่าน

วัดเบ็งสกัด ตำบลวรนคร อำเภอปัว จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2052

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1546?lang=th

209

จารึกฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ข้อความสี่บรรทัดแรกเป็นภาษาบาลี ว่าด้วยคาถาบทพุทธคุณ และบทปัจจยาการ บรรทัดสุดท้ายกล่าวถึงบุคคลชื่อ เจ้าวิเชียร ผู้สร้างพระพุทธรูป

จารึกฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท, ชร. 15, ชร. 15, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, จ.ศ. 834, จุลศักราช 834, จ.ศ. 834, จุลศักราช 834, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า, บุรุษ, ศาสดา, มนุษย์, พระศรีอาริยเมตไตรย์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, กิเลส, วิชา, จรณะ, โลก, ตรัสรู้, เทวดา, โลก, ตรัสรู้, อวิชชา, ปัจจัย, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, อายตนะ 6, อายตนะ 6, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรา, มรณ, โสกะ, ปริเทวะ, ทุกขโทมนัส, อุปายาสะ, กองทุกข์, เหตุ, ปีเต่ายี, พุทธทำนาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าวิเชียร, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2024

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1397?lang=th

210

จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

ธรรมล้านนา

ระบุจุลศักราช 889 ปีเมิงไก๊ ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2070

จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, นน. 18, นน. 18, จุลศักราช 889, พุทธศักราช 2070, จุลศักราช 889, พุทธศักราช 2070, จ.ศ. 889, พ.ศ. 2070, จ.ศ. 889, พ.ศ. 2070, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พญาเกศเชษฐราช, พระเกษเกล้า, มังราย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึก พ.ศ. 2070, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2070

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1786?lang=th

211

จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง

ฝักขาม

ปรากฏชื่อพระพุทธรูป คือ “ทีปังกร” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อหลอม”

จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง, พย. 66, พย. 66, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหลอม, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, บุคคล-พ่อหลอม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1863?lang=th

212

จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวว่า ซาวหมุกเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้

จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง, พย. 41 จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 41 จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พุทธศตวรรษที่ 21-22, สำริดสีดำ, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาวหมุก, พุทธศาสนาพิธี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ไม่มีรูป

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1748?lang=th

213

จารึกฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง

ฝักขาม

ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “ซาวจัน”

จารึกฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง, พย. 80, พย. 80 หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาวจัน, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ซาวจัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1898?lang=th

214

จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง

ฝักขาม

ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “คำต่อน” และ “นางสิ”

จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง, พย. 81, พย. 81, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, คำต่อน, นางสิ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-คำต่อน, บุคคล-นางสิ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1900?lang=th

215

จารึกญอดเถรเจ้า

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด จับความไม่ได้

จารึกญอดเถรเจ้า, พย. 87, พย. 87, หิน, เศษจารึกชำรุด, วัดลี, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1910?lang=th

216

จารึกชื่อคัมภีร์

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ศิลาจารึกชำรุดมาก เข้าใจว่าข้อความจารึกมีว่า มีการถวายคัมภีร์พระธรรม รวมทั้งอรรถกถา และฎีกาแด่วัดแห่งหนึ่ง มีรายชื่อหนังสือดังกล่าวจารึกไว้ แต่ชื่อหนังสือเหล่านั้นไม่สมบูรณ์แล้ว

ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 22-23, ชร. 37, ชร. 37, 165/30, 165/30, จารึกเวียงชัย, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, Wiang Chai A.D. 1598-1617, Wiang Chai A.D. 1598-1617, หิน, ตำบลเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายคัมภีร์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1416?lang=th

217

จารึกชิ้นส่วนแผ่นอิฐวัดลี

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุวันและเดือน

จารึกชิ้นส่วนแผ่นอิฐวัดลี, พย. 85, พย. 85, ดินเผา, เศษจารึกชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, วันเปิกสี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนเศษจารึก, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1906?lang=th

218

จารึกชิ้นส่วนหินทรายสันกู่ห้อ

ฝักขาม

ชำรุด จับใจความไม่ได้

จารึกชิ้นส่วนหินทรายสันกู่ห้อ, พย. 71, พย. 71, หินทรายสีแดง, ชิ้นส่วน, วัดห้วย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่น, ลักษณะ-จารึกชำรุด, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1878?lang=th

219

จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 2

ฝักขาม

ชำรุด จับใจความไม่ได้

จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 2, พย. 70, พย. 70, หินทรายสีแดง, ชิ้นส่วน, วัดห้วย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนเศษชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1875?lang=th

220

จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 1

ฝักขาม

ชำรุด จับใจความไม่ได้

จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 1, พย. 69, พย. 69, หินทราย, ชิ้นส่วน, วัดห้วย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกเศษชิ้นส่วน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเศษชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1871?lang=th

221

จารึกชิ้นส่วนของเสมา

ฝักขาม

ข้อความจารึกชำรุด ระบุเพียงศักราชที่จารึกคือ จ.ศ. 884 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2065

จารึกชิ้นส่วนของเสมา, พย. 18, พย. 18, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, หินทรายสีแดง, วัดร้าง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, ปีเต่าสง้า, ปีเต่าซง้า, ออก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ลักษณะ-จารึกชิ้นส่วนเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2065

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1653?lang=th

222

จารึกชาวอ้ายดาบเรือน

ฝักขาม

พ.ศ. 2067 (ใน ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1 ว่าเป็น พ.ศ. 2068) กษัตริย์เชียงใหม่มีพระราชโองการแต่งตั้งให้ เจ้าพวกดาบเรือน เป็นเจ้าพันธสังฆการีเชียงราย มีอำนาจผูกพัทธสีมาในวัด

ชร. 36 จารึกชาวอ้ายดาบเรือน พ.ศ. 2067, ชร. 36 จารึกชาวอ้ายดาบเรือน พ.ศ. 2067, จารึกเวียงชัย, ชร. 36, ชร. 36, 156/30, 156/30, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2068, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2068, Wiang Chai A.D. 1525, Wiang Chai A.D. 1525, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, จ.ศ. 866, พุทธศักราช 866, พ.ศ. 866, พุทธศักราช 866, หิน, อำเภอเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พวกดาบเรือน, พันสังฆการีเชียงราย, ชาวอ้ายดาบเรือน, จืงเมือง, สิงเมือง, เจ้าพัน, ปากรัด, โรงคำ, ปราสาททอง, ท้องพระโรง, ผูกพัทธสีมา, ปีกาบสัน, เดินห้า, เดือนห้า, ออก, วันกัดไก๊, เมง, มอญ, วันศุกร์, กลองงาย, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-เจ้าพวกดาบเรือน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2067

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1411?lang=th

223

จารึกจุลคิรี

ฝักขาม

พ.ศ. 2097 พญาเมกุฏิทรงระลึกถึงเจดีย์บนดอยน้อย อันพระนางจามเทวีเคยทรงนำองค์พระธาตุมาบรรจุไว้ และทรงได้ถวายผ้าขาว (ปะขาว) 4 คน ทั้งลูกหลานด้วย พญาเมกุฏิรับสั่งให้รวบรวมเครือญาติผ้าขาวทั้ง 4 คนนั้น เพื่อถวายไว้ให้รักษาดูแลพระธาตุดังเก่า นอกจากนั้นพญาเมกุฏิยังทรงถวายนาและบ้านเพิ่มขึ้นด้วย

ชม. 20 จารึกสมเด็จพระนางจามเทวีถาปนาพระธาตุดอยน้อย, ชม. 20 จารึกสมเด็จพระนางจามเทวีถาปนาพระธาตุดอยน้อย, ชม. 20 จารึกจุลคิรี พ.ศ. 2097, ชม. 20 จารึกจุลคิรี พ.ศ. 2097, ชม. 20, ชม. 20, 1.2.1.1 จุลคิรี พ.ศ. 2097/ค.ศ. 1554, 1.2.1.1 จุลคิรี พ.ศ. 2097/ค.ศ. 1554, พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, แผ่นหินสีน้ำตาล, หินทรายสีเหลือง, พระเป็นเจ้า, ธรรมิกราชาธิราช, นางจามเทวี, ผ้าขาวเทือน, ผ้าขาวคำ, ผ้าขาวฟาน, ผ้าขาวคม, ลูกหลาน, ข้าพระ, ขุนปก, ขุนแคว้น, เจ้าหมื่น, พวกดาบเรือน, คำน้อย, หมื่นต้องแต้มซ้าย, สุธน, ติกปัญญา, พญาเมกุฏิ, อาจารย์ประดับรูม, ลูกหญิง, จ่าขานอัง, หลานหญิง, ใจนาง, หลานชาย, จันทรา, ธรรมปัญญา, ประนนท์, นางแก้วน้อง, บุญรักษา, เอ้ยสน, เอื้อยสน, แม่เฟื้องแก้ว, นางจำปา, นางยอด, ย่าเป็ง, ลูกชาย, ยาเทา, ถวิล, ย่าหมู, แก้วตา, พญาแสนหลวง, ข้าว, ต้นกวาว, ต้นแค, เผียก, วัว, โค, ทองคำ, จาริด, สุวรรณจุลคิรี, สุวรรณจุลคีรี, บ้านหนองแงง, บ้านหนองกวาง, บ้านเจ็ดป้อม, บ้านแงน้อย, พุทธศาสนา, มหาธาตุเจ้า, สถาปนาพระมหาธาตุ, สถาปนามหาธาตุเจ้า, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, อุทิศผ้าขาว, อุทิศที่นา, ปีขาน, ปีขาล, ปีกาบญี, ปีกาบยี, ระวายสี, รวายสี, ยามเที่ยงวัน, นา, หนอง, การศึก, การเวียก, พระบัณฑูร, ครัว, ราชอาญา, วัดพระธาตุดอยน้อย ตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเหลือง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุดอยน้อย จังหวัดเชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุดอยน้อย, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระนางจามเทวี, ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551)

วัดพระธาตุดอยน้อย ตำบลดอยแก้ว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

พุทธศักราช 2097

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2119?lang=th

224

จารึกคำอธิษฐาน

ไทยสุโขทัย

แม้ข้อความจารึกคำอธิษฐานนี้จะขาดหายไปมาก แต่ก็นับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สังคมไทยสมัยโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวัฒนธรรมความเชื่อเกี่ยวกับเทวปกรณ์ และบรรดาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ซึ่งคนในสมัยก่อนมิอยากให้มาเบียดเบียน ดังจะเห็นได้ว่าด้านที่ 1 สตรีชั้นสูงผู้ประกอบบุญกุศลในพุทธศาสนา ได้อัญเชิญเทพในเทวปกรณัมของฮินดูมาเป็นสักขีพยาน และแสดงคำอธิษฐาน ขออุทิศส่วนกุศลแก่คนทั้งหลาย ขอให้ได้พบแต่ความสุขอายุยืนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ นอกจากนั้น ตัวนางเองปรารถนาได้บรรลุอรหัตตผล แต่ก่อนวันได้บรรลุสิ่งนั้นก็ขอให้มีรูปและพรรณงามดั่งนางพิสาขา นอกจากนี้ก็ขออย่าได้มีโรคพยาธิต่างๆ มากล้ำกลาย ส่วนในด้านที่ 2 นางอธิษฐานขอให้ได้เกิดในสวรรค์และได้พบกับพระศรีอาริยเมตตรัย ซึ่งเป็นอนาคตพุทธเจ้า

หลักที่ 290 จารึกคำอธิษฐาน, หลักที่ 290 จารึกคำอธิษฐาน, พย. 17, พย. 17, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดศรีโคมคำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, อธิษฐาน, ขุนมาร, พระจตุบาล, พระอินทร์, พระพรหม, พระยม, พระกาล, พระพาย, พระนารายณ์, พระยาม, บารเมสูร, ปารเมศวร, นางพิสาขา, นางวิสาขา, พระพุทธเจ้า, พระศรีอาริยเมตไตร, พระศรีอารยไมตรี, พุทธศาสนา, ไข้เจ็บ, เล็บ, ปวด, เหนื่อยเมื่อย, ห้าน, คร้านอิด, หิด, ฝี, มะเร็ง, แผ่นดิน, อนันตจักรวาล, บุญ, สุข, เมืองฟ้าเมืองบน, ภพ, อรหัตตผล, มะเร็ง, ชรา, ทาน, ฟ้า, ตาวติงสา, ดาวดึงส์, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 20-21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/263?lang=th

225

จารึกคำสาปแช่ง

ฝักขาม

จารึกชำรุด ข้อความที่เหลือกล่าวสาปแช่งบุคคลผู้กระทำความผิด ให้ตกนรกอวจี อย่าได้ผุดได้เกิด

จารึกคำสาปแช่ง, พย. 19, พย. 19, หินทรายขัดสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ขุนชื่อ, เมิงคน, เมืองคน, เมืองมนุษย์, หม้ออเพจี, หม้อเพจี, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, บ้าน, พุทธศาสนา, เม็ง, ออก, พระพุทธรูป, เนียนพาน, เนียรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1657?lang=th

226

จารึกคามวาสีอรัญวาสี

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงการอุปถัมภ์ค้ำจุนพุทธศาสนา ทั้งฝ่ายคามวาสีและอรัญวาสี

จารึกคามวาสีอรัญวาสี, พย. 56, พย. 56, จารึกวัดครามวาสี อรัญวาสี, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, ชำรุด, วัดร้าง, กว๊านพะเยา, โรงสีแสงพะเยา, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, อำเภอเชียงคำ, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าภิกษุ, พุทธศาสนา, คามวาสี, อรัญวาสี, พระไตรปิฎก, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1802?lang=th

227

จารึกคอระฆังเจดีย์หินทรายวัดลี

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีน้อยคำ กล่าวถึงศิลาหลักหนึ่ง และชาวบ้านเริง

จารึกคอระฆังเจดีย์หินทรายวัดลี, พย. 30, หินทรายสีแดง, ชิ้นส่วนคอระฆังเจดีย์, วัดลี, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวบ้านเริง, หิน, ศิลา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนระฆังเจดีย์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1729?lang=th

228

จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ

ไทยสุโขทัย

ข้อความจารึกเป็นคำอธิษฐานของผู้สร้าง ขอให้ได้เกิดในยุคของพระศรีอาริย์ ด้วยอานิสงส์จากการสร้างพระพุทธรูป 1,000 องค์ นั้น

1.4.1.1 กู่บ้านค่ายเจริญ, 1.4.1.1 กู่บ้านค่ายเจริญ, ชร. 35, ชร. 35, จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ พุทธศตวรรษที่ 21–23, จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ พุทธศตวรรษที่ 21–23, หินสีเทา, แผ่นรูปใบเสมา, พระมหาจักรพรรดิ, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระอริยเมตไตรย, พญาจักรพรรดิ, พุทธศาสนา, พระบรรณศาลา, สร้างศาสน, เดินเจ็ด, วันพุธ, พระเจ้าพันตน, ปีดับใส้, ปีดับไส้, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมิ่งเมือง เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดมิ่งเมือง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3933?lang=th

229

จารึกการสร้างเจดีย์

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงการสร้างเจดีย์ของบุคคลกลุ่มหนึ่ง

พย. 34, พย. 34, พย. 34 จารึกการสร้างเจดีย์ พ.ศ. 2058, พย. 34 จารึกการสร้างเจดีย์ พ.ศ. 2058, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

ในวิหารเก่า วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศักราช 2058

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2533?lang=th