จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ

จารึก

จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ

QR-code edit Share on Facebook print

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 13 ก.พ. 2550 13:59:58 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2567 14:31:06 )

ชื่อจารึก

จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

พย. 22, พย. 22 จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 22 จารึกเจ้าแสนพยาว

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศตวรรษ 21-22

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 15 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 10 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 5 บรรทัด

วัตถุจารึก

หินทรายสีแดง

ลักษณะวัตถุ

รูปใบเสมา หักชำรุด

ขนาดวัตถุ

กว้าง 36.5 ซม. สูง 28 ซม. หนา 5.5 ซม.

บัญชี/ทะเบียนวัตถุ

1) กองหอสมุดแห่งชาติ กำหนดเป็น “พย. 22”
2) ในหนังสือ จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 กำหนดเป็น “พย. 22 จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ พุทธศตวรรษที่ 21-22”
3) ในหนังสือ ประชุมจารึกเมืองพะเยา กำหนดเป็น “พย. 22 จารึกเจ้าแสนพยาว”

ปีที่พบจารึก

ไม่ปรากฏหลักฐาน

สถานที่พบ

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ผู้พบ

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ปัจจุบันอยู่ที่

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พิมพ์เผยแพร่

1) จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 (กรุงเทพฯ : มูลนิธิเจมส์ เอช ดับเบิ้ลยู ทอมป์สัน, 2534), 150-151.
2) ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538), 395-400.

ประวัติ

พระธรรมวิมลโมลี เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคำ รองเจ้าคณะภาค 6 นำมาเก็บรักษาไว้ที่วัดศรีโคมคำ เจ้าหน้าที่งานบริการหนังสือภาษาโบราณ กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร เดินทางขึ้นไปทำการสำรวจเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2519

เนื้อหาโดยสังเขป

ข้อความจารึกชำรุด ปรากฏเพียงรายนามพระสงฆ์ และขุนนาง ที่ได้รับมอบหมายให้ร่วมกันทำหรือสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

ผู้สร้าง

ไม่ปรากฏหลักฐาน

การกำหนดอายุ

กองหอสมุดแห่งชาติกำหนดให้จารึกหลักนี้เป็น จารึกอักษรฝักขาม อายุพุทธศตวรรษที่ 21-22

ข้อมูลอ้างอิง

เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2549, จาก :
1) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, “พย. 22 จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ พุทธศตวรรษที่ 21-22,” ใน จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่ (กรุงเทพฯ : มูลนิธิเจมส์ เอช ดับเบิ้ลยู ทอมป์สัน, 2534), 150-151.
2) “พย. 22 จารึกเจ้าแสนพยาว,” ใน ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538), 395-400.

ภาพประกอบ

1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-22, ไฟล์; PY 22 side 1.photo 1 และ PY 22 side 2.photo 1)
2) ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 1 ธันวาคม 2566