ชุดข้อมูลจารึกที่ฐานพระพุทธรูป
ชุดข้อมูลรวบรวมรายนามจารึกที่ฐานพระพุทธรูป ทั้ง 275 รายการ โดยจารึกฐานพระพุทธรูปที่เป็นอักษรธรรมล้านนา มีข้อมูลมากที่สุดถึง 180 รายการ โดยจารึกฐานพระพุทธรูปที่เป็นอักษรกวิ มีเพียง 1 หลักเท่านั้น
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา |
หลังปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, รบ. 2, รบ. 2, ศิลาสีเขียว, พระพุทธรูปยืน ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, วัดเพลง, ตำบลหลุมดิน, จังหวัดราชบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
พระอุโบสถวัดมหาธาตุวรวิหาร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี |
พุทธศตวรรษ 13-14 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/152?lang=th |
2 |
จารึกหลังพระพุทธรูปนาคปรก |
ขอมโบราณ |
บันทึกไว้ว่าศรจมัทยาหินได้เป็นผู้ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิไว้ที่ต้นโพธิ์ (พระศรีมหาโพธิ) |
จารึกหลังพระพุทธรูปนาคปรก, ลบ. 13, ลบ. 13, Lopburi, K. 995, หลักที่ 36 จารึกด้านหลังพระพุทธรูปนาคปรก, หลักที่ 36 จารึกด้านหลังพระพุทธรูปนาคปรก, พ.ศ. 1756, ม.ศ. 1135, พ.ศ. 1756, ม.ศ. 1135, พุทธศักราช 1756, มหาศักราช 1135, พุทธศักราช 1756, มหาศักราช 1135, ศิลา, พระปฤษฎางค์พระพุทธรูปนาคปรกไม่มีพระเศียร, บริเวณศูนย์การทหารราบ, ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช, อำเภอเมือง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระพุทธสมาธิ, พระพุทธรูปปางสมาธิ, พระศกจันทสวารัตน์, ศรัจมัทยาหิน, ศรจมัทยาหนิ, ศรัจมัทยาหนิ, ศรีมหาโพธิ์, พระศรีมหาโพธิ, พุทธศาสนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1756, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่หลังพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ศรจมัทยาหิน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศักราช 1756 |
สันสกฤต,เขมร,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/487?lang=th |
3 |
จารึกวัดโอกาส |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ได้ทรงแต่งตั้งเจ้าอุปราดขึ้นเป็นพระพนมนครานุรักษาธิบดีศรีโคตรบองหลวง เจ้าเมืองนครพนม จึงสร้างพระพุทธศิลาขนาดหนักเท่าตัวในวันขึ้นครองเมืองนครพนม |
นพ. 5, นพ. 5, จารึกวัดโอกาส, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโอกาส, พ.ศ. 2398, พุทธศักราช 2398, พ.ศ. 2398, พุทธศักราช 2398, จ.ศ. 1217, จุลศักราช 1217, จ.ศ. 1217, จุลศักราช 1217, ศิลา ประเภทหินทราย, ฐานพระพุทธรูป, วัดโอกาส, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, เจ้าอุปราชชื่น, พระพนมนครานุรักษาธิบดีศรีโคตรบองหลวงเจ้า, เมืองนครบุรีราชธานี, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูปศิลา, ปีเถาะ, สัปตศก, วันเสาร์, โรหิณี, ลูกดีพิจิตร, วันเสวยราชย์ |
วัดโอกาส ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2398 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2417?lang=th |
4 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 2 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงหัวครูจันทรา ว่าได้สร้างพระพุทธรูปศิลาไว้กับวัดธาตุพนม |
จารึกวัดพระธาตุพนม 2, จารึกวัดพระธาตุพนม 4, จารึกพระพุทธรูปจำหลักหิน สมัยล้านช้างเวียงจันทน์ มีจารึกอยู่ข้างขวา, พ.ศ. 2440, พุทธศักราช 2440, พ.ศ. 2440, พุทธศักราช 2440, ศิลา, ด้านหลังของพระพุทธรูปศิลา, กะตึบใกล้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, พระพุทธเจ้า, เจ้าหัวครูจันทรา, พุทธศาสนา, วัดธาตุพนม, สร้างพระพุทธรูปศิลา, สร้างพระเจ้าศิลา, วสา, ปีจอ, นวพรรณ ภัทรมูล, กนกวรรณ โสภณวัฒนวิจิตร, นครพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2440, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่หลังพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหัวครูจันทรา |
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมรัตนโมลีศรีโคตรบูร วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2440 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2419?lang=th |
5 |
จารึกพุทธอุทานคาถา |
ธรรมล้านนา |
ตอนต้นระบุจุลศักราช 876 นอกนั้นเป็น “พุทธอุทานคาถา” ภาษาบาลี ซึ่งเป็นคาถาอยู่ในพระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาคที่ 1 มหาขันธกะ เรื่องโพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ |
ชร. 62 จารึกพุทธอุทานคาถา พ.ศ. 2057, ชร. 62 จารึกพุทธอุทานคาถา พ.ศ. 2057, จุลศักราช 876 (พ.ศ. 2057), สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานรูปปราสาท, ล้านนา, พญาแก้ว, มังราย, วัดพูขีง (วัดสันทราย) บ้านดงชัย อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย, พุทธ, วินัยปิฎก, คาถา, พระพุทธเจ้า, พระไตรปิฎกมหาขันธกะ, เรื่องโพธิกถา, ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2057, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พุทธคาถา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2057, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2057 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1662?lang=th |
6 |
จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปกาไหล่ทอง วัดนิเวศธรรมประวัติ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) และพระราชเทวี ทรงสถาปนาพระพุทธรูปองค์หนึ่งขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา พระราชธิดา |
อย. 71, อย.71, หลักที่ 182 จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปปางสมาธิ กาไหล่ทอง, หลักที่ 182 จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปปางสมาธิ กาไหล่ทอง, จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปกาไหล่ทอง วัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธศักราช 2430, พุทธศักราช 2430, พ.ศ. 2430, พ.ศ. 2430, ทองคำ, ฐานพระพุทธรูป, ผ้าทิพย์, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่5,รัชกาลที่ 5, ร.5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5,ร. 5, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 5, พระราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทรา บรมราชเทวี ฯ, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา, วัดนิเวศธรรมประวัติ, เกาะบางปะอิน, อยุธยา, การเปรียญ, พุทธ, พระราชกุศล, อุทิศ, ปรโลก, การสร้างพระพุทธรูป, การสถาปนาพระพุทธรูป |
พิพิธภัณฑ์วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/786?lang=th |
7 |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง |
ขอมโบราณ,กวิ |
กล่าวถึงเจ้าเมืองครหิ ได้รับพระราชโองการจากพระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะให้หล่อพระพุทธรูปนี้เมื่อ พ.ศ. 1726 |
กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ศาสนาพุทธ, สรรเพ็ชญาณ, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ตลาไน, คลาไน, มรเตงศรีญาโน, กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, ครหิ, ปฏิมากร, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, สฎ. 9, สฎ. 9, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, วิหารวัดเวียง ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปนาคปรก, เถาะนักษัตร, กัมรเดงอัญมหาราช ศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษณวรรมเทวะ, เชฏฐมาส, วันพุธ, มหาเสนาบดีตลาไน, เมืองครหิ, มรเตง ศรีญาโน, พระพุทธรูปปฏิมากร, ภาระ, ตุละ, ทองคำ, สรรเพ็ชญาณ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1859, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองครหิ, บุคคล-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศักราช 1726 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/505?lang=th |
8 |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปถ้ำเขาบันไดอิฐ |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาภาษาบาลีพร้อมคำแปล ความว่า “ไม่มีสุขแก่ผู้ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏ” |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปถ้ำเขาบันไดอิฐ, หลักที่ 229 จารึกบนฐานพระพุทธรูป, หลักที่ 229 จารึกบนฐานพระพุทธรูป, ทองเหลือง ปิดด้วยทองคำเปลว, ฐานพระพุทธรูป, ถ้ำเขาบันไดอิฐ ตำบลไร่ดอน อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่5, ร.5, รัชกาลที่5, ร.5, จักรี, รัตนโกสินทร์, ดุ๊กโยฮันอันเบรชด์, ถ้ำเขาบันไดอิฐ ตำบลไร่ดอน ตำบลไร่ส้ม อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี, พุทธศาสนา |
ศาลาการเปรียญ วัดเขาบันไดอิฐ ตำบลไร่ดอน (ข้อมูลปัจจุบัน คือ ตำบลไร่ส้ม) อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี (สำรวจเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2557) |
ไม่ปรากฏศักราช |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1018?lang=th |
9 |
จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงประวัติการเคลื่อนย้ายหลวงพ่อเพชรไปที่วัดเบญจมบพิตรเมื่อ ร.ศ. 119 และการอัญเชิญกลับมาที่วัดท่าถนน ใน ร.ศ. 129 โดยหลวงนฤนารถเสนี (พัน) (รัชกาลที่ 5 พระราชทานคืน) |
ชื่อจารึก : จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร), หลักที่ 234 จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร), หลักที่ 234 จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร) ศักราช : พุทธศักราช 2453, รัตนโกสินทร์ศักราช 129, พุทธศักราช 2453, รัตนโกสินทร์ศักราช 129วัตถุจารึก : ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ลักษณะวัตถุ : ฐานพระพุทธรูปสถานที่พบ : วิหารหลวงพ่อเพชร วัดท่าถนน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่5, ร.5, รัชกาลที่ 5 , ร.5ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5, หลวงนฤนารถเสนี (พัน), จุ (ภรรยา) สถานที่ : วัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. , วัดท่าถนน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพ ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : อัญเชิญ, พระราชทานคืน |
วิหารหลวงพ่อเพชร วัดท่าถนน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ |
พุทธศักราช 2443 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/818?lang=th |
10 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (เจ้าสอรัด) |
ไทยสุโขทัย |
กล่าวถึงนามผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยอธิษฐานขอให้ได้พบพระพุทธศาสนาในอนาคตกาลสมปรารถนา |
หลักที่ 299 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (เจ้าสอรัด), หลักที่ 299 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (เจ้าสอรัด), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระพุทธรูปสำริด, ปิดทองทึบ, ประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, เจ้าสอรัด, นางขอด, พุทธศาสนา, โพธิสมภาร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในห้องผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-เจ้าสอรัด |
ห้องผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20-21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/142?lang=th |
11 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ) |
ไทยสุโขทัย |
กล่าวถึงชื่อบุคคล คือ พระออกหมื่นโปศเทพ |
หลักที่ 300 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ), หลักที่ 300 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย, พระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย, วัดเขาพระบาทน้อย, เมืองเก่าสุโขทัย, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระออกหมื่นโปศเทพ, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัยและ, ดอกรัก พยัคศรี, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระออกหมื่นโปศเทพ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/144?lang=th |
12 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ) |
ไทยสุโขทัย |
กล่าวถึงนามผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันสร้างพระพุทธรูป พร้อมทั้งระบุความปรารถนาแห่งตนให้ได้อานิสงส์แห่งการสร้างพระพุทธรูปนั้น เป็นผลบุญหนุนส่งให้ได้พบพระศรีอาริยเมตตรัย ซึ่งได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าต่อไปในอนาคต |
หลักที่ 298 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ), หลักที่ 298 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, พระพุทธรูปสำริดประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, วัดลาวพันลำ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าญี่บุญ, นายญี่บุญ, แม่จัน, นางเริ่ม, นางไร, เจ้าไสอานนท์, สายใจ, นางยอด, พระศรีอาริยไมตรี, ลูกชาย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-นายญี่บุญ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20 (ตอนต้น) |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/138?lang=th |
13 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูป วัดนิเวศธรรมประวัติ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2422 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) และพระราชเทวี ทรงสถาปนาพระพุทธรูปองค์หนึ่งขึ้น เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์ พระราชโอรสซึ่งสวรรคตครบ 100 วัน โดยโปรดให้ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นั้นไว้ที่ศาลาการเปรียญ วัดนิเวศธรรมประวัติ |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูป วัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 72, หลักที่ 181 จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, อย. 72, หลักที่ 181 จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, พุทธศักราช 2422, พุทธศักราช 2422, ทองคำ, ฐานพระพุทธรูป, ผ้าทิพย์, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทรา บรมราชเทวีฯ, พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์, วัดนิเวศธรรมประวัติ, เกาะบางปะอิน, อยุธยา, การเปรียญ, พุทธศาสนา, พระราชกุศล, อุทิศ, ผลานิสงส์, ปรโลก, ทำบุญ 100 วัน , การสร้างพระพุทธรูป, การสถาปนาพระพุทธรูป, การทำบุญ 100 วัน, ทำบุญ 100 วัน, ทำบุญร้อยวัน |
พิพิธภัณฑ์วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2422 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/784?lang=th |
14 |
จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี |
ปัลลวะ |
เป็นจารึกที่อาจเป็นการบอกชื่อของผู้สร้างพระพุทธรูป ในที่นี้คือ ฤษีสมาธิคุปตะ หรือ พระศรีสมาธิคุปตะ ว่าเป็น ผู้บริสุทธิ์ ด้วยการทำบุญ |
รบ. 1, รบ. 1, หลักที่ 22 จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี, หลักที่ 22 จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี, จารึกที่ 22 จารึกในถ้ำฤษี เขางู จังหวัดราชบุรี, จารึกที่ 22 จารึกในถ้ำฤษี เขางู จังหวัดราชบุรี, จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี, ศิลา, ฐานพระพุทธรูป, ถ้ำฤๅษีเขางู จังหวัดราชบุรี, วัดเขางู, ตำบลเจดีย์หัก, ทวารวดี, ฤษีศรีสมาธิคุปตะ, พระศรีสมาธิคุปตะ, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ฤๅษี, ฤษี, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 : จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ และประเทศราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปศิลา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเขางู ราชบุรี, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระศรีสมาธิคุปตะ |
ถ้ำฤๅษีเขางู วัดเขางู ตำบลเจดีย์หัก อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/66?lang=th |
15 |
จารึกด้านหลังฐานพระพุทธรูปหินทราย |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “(-)ามบ่อเงิน” |
จารึกด้านหลังฐานพระพุทธรูปหินทราย, พย. 74, พย. 74, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, บ่อเงิน, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1886?lang=th |
16 |
จารึกฐานพระเสตังคมณี |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2416 เจ้าพระนครเชียงใหม่ และอัครราชเทวีแม่เจ้าทิพพเกษร พร้อมด้วยราชบุตรราชธิดาและพระญาติ ร่วมกันสร้างฐานพระเสตังคมณี หวังได้รับผลแห่งนิพพานโดยถ้วนหน้ากัน |
ชม. 63 จารึกฐานพระเสตังคมณี, หลักที่ 177 จารึกที่ฐานพระเสตังคมณี, 255 วัดเชียงมั่น, ชม. 63 จารึกฐานพระเสตังคมณี, หลักที่ 177 จารึกที่ฐานพระเสตังคมณี, 255 วัดเชียงมั่น, พ.ศ. 2416, พุทธศักราช 2416, พ.ศ. 2416, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, จุลศักราช 1235, จ.ศ. 1235, จุลศักราช 1235, แผ่นโลหะปิดทอง, สีเหลือง, ฐานพระเสตังคมณี, วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระองค์เป็นเจ้าเหง้าภูมินตามหาอิสราธิบดี, เจ้าพระนครเชียงใหม่, อัครราชเทวีแม่เจ้าทิพพเกษร, ประธาน, ราชบุตตาบุตรี, เจ้าราชภาคิไนย, เจ้าอุบลวรรณา, บาท, แก่นจันทน์, แผ่นคำ, ฉัตร, พุทธศาสนา, ปีกาเร้า, เพ็ง, เพ็ญ, เม็ง, กัดเม็ด, แท่นนั่งแห่งพระพุทธเจ้าเสตังคมณี, อุตตมมงคล, พระนิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, พระอธิการอินถา อินฺทจกฺโก, พระสมพงษ์ สมจิตฺโต, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2416, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-แม่เจ้าทิพพเกษร |
วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1530?lang=th |
17 |
จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2147 (สมเด็จ) บรมบพิตรพระเป็นเจ้าเมืองเชียงแสน พร้อมทั้งพระมหาสมเด็จราชครู วัดพระหลวง และพระสังฆโมลี ร่วมกันสร้างรูปพระฤาษีตนนี้ ต่อจากนั้นเป็นคำไหว้พระธาตุบนดอยตุง ตำนานพระธาตุดอยตุงโดยย่อ และคำอธิบายรูปที่ฐานรูปพระฤาษี |
ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, จารึกดอยตุง, ชร. 6, ชร. 6, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, T. 62, ช.ส. 58, T. 62, ช.ส. 58, Dòy Tung A.D. 1605, Dòy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, ประติมากรรมฤาษีกัมมะโล, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, สำริดสีเขียว, สัมฤทธิ์สีเขียว, ฐานพระฤาษีวัชมฤค, วัดน้อยดอยตุง, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้ารัสสี, พ่อนาง, แม่นาง, บรมบพิตร, พระเป็นเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, พระมหาสมเด็จราชครูเจ้าวัดพระหลวง, พระพุทธเจ้า, พระสงฆมูฬีเจ้า, พระสงฆ์มูฬีเจ้า, ประธาน, อำมาตย์, ลูกชาวสากยะ, พระเจ้าไพลองอากาศ, อานนท์, พระยาอินทร์, เทวบุตร, พระยามังราย, พระยามังคราม, พระยาแสนพู, พระยาคำฟู, พระยาผายู, ท้าวพันตู, ชาวมิลักขุ, พระยาอุชุตตราช, กวาง, หม้อน้ำมัน, ภาชนะ, ไหน้ำ, ไม้คาน, ก้อนเส้า, ไม้เท้า, หินหมากนาวตัด, ข้าว, ทุง, ธง, เมิงเชียงแสน, เมืองเชียงแสน, ดอยปู่เจ้า, เมิงยวน, เมืองยวน, พุทธศาสนา, บูชาพระธาตุเจ้า, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีธนู, พระราหู, ราศีตุล, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีกาบสี, ออก, เม็ง, มอญ, ไทยกาบสัน, กลองงาย, กรรมภาระ, นิทาน, พุทธทำนาย, บิณฑบาต, บิณฑบาต, นิพพาน, ผืน, หยาดน้ำ, อุปฐาก, ครัว, แช่ง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2147, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรูปเคารพ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุดอยตุง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงแสน, บุคคล-พระมหาสมเด็จราชครู, บุคคล-พระสังฆโมลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2147 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1441?lang=th |
18 |
จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม |
ฝักขาม |
เมื่อปี จ.ศ. 964 หรือ พ.ศ. 2145 พญาแสนหลวงพิงไชยนครและพระสงฆ์เชิญชวนให้บรรดาเจ้าขุนทั้งหลายร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยมีเจ้าหัวแสนหลวงไนเป็นองค์อุปถัมภ์ |
ลป. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม พ.ศ. 2145, ลป. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม พ.ศ. 2145, วัดเกาะวาลุการาม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, จ.ศ. 964, พ.ศ. 2145, จ.ศ. 964, พ.ศ. 2145, จุลศักราช 964, พุทธศักราช 2145, จุลศักราช 964, พุทธศักราช 2145, อาณาจักรล้านนา, พญาแสนหลวงพิงไชยนคร, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2145, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเกาะวาลุการาม ลำปาง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-พญาแสนหลวงพิงไชยนคร |
วัดเกาะวาลุการาม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18127?lang=th |
19 |
จารึกฐานพระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา |
ไทยสุโขทัย |
แม่ศรีมหาตา สร้างพระพุทธรูป แล้วตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ขอให้ได้เป็นศิษย์แห่งพระศรีอาริยโพธิสัตว์ |
จารึกฐานพระพุทะรูปแม่ศรีมหาตา, กท. องค์ที่ 26, กท. องค์ที่ 26, จารึกบนฐานพระพุทธรูปที่กุฏิคณะ 15, จารึกบนฐานพระพุทธรูปที่กุฏิคณะ 15, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, กุฏิ น. คณะ 15, คณะ 15, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าแม่ศรีมหาตา, พระองค์เจ้าอยู่หัว, แม่พระพิลก, แม่ศรี, พระเจ้า, ศิษย์, พระศรีอาริย์โพธิสัตว์เจ้า, ข้าพระ, โสกโขไท, สุโขทัย, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, จังหัน, เบี้ย, ศอก, คืบ, นิ้ว, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-แม่ศรีมหาตา |
กุฏิ น. คณะ 15 วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/101?lang=th |
20 |
จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุถึงบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “เม(เมีย)นายร้อยสวนลิ” |
จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง, พย. 76, พย. 76, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นายร้อยสวนลิ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เมียนายร้อยสวนลิ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1890?lang=th |
21 |
จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “เถ้าเอ้ย” |
จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง, พย. 79, พย. 79, หินทรายสีน้ำตาลปนแดง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เถ้าเอ้ย, เฒ่าเอ้ย, เถ้าเอื้อย, เฒ่าเอื้อย, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาลปนแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เถ้าเอ้ย |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1896?lang=th |
22 |
จารึกฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อดำ |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้างและนามผู้สร้าง คือ พระครูนาขาม พร้อมด้วยอุบาสก อุบาสิกา ว่าได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อดำ, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, สำริดรมดำ, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, กุฏิเจ้าอาวาสวัดกลางกาฬสินธุ์, อำเภอเมือง, จังหวัดกาฬสินธุ์, ไทย, รัตนโกสินทร์, เจ้าครูนาขาม, สงฆ์, เป็นเค้า, ประธาน, อุบาสก, อุบาสิกา, ตัมพโลหะ, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีกดสง้า, ปีกดซง้า, ปีกดซะง้า, ปีกดสะง้า, มื้อรวงเม้า, นักขัตฤกษ์, บุษยะ, เทวดา, นิพพานปัจจโยโหตุ, วัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2343, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 4 (พระเจ้าอินทวงศ์), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดกลางกาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
กุฏิเจ้าอาวาสวัดกลางกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ |
พุทธศักราช 2353 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2413?lang=th |
23 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี |
สิงหล |
ข้อความจารึกเป็นคาถา ว่าด้วย จตุราริยสัจ อันประกอบด้วย อริยสัจ 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค |
พย. 32, พย. 32, จารึกภาษามคธบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกษศรี จ. เชียงราย, หลักที่ 80 จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกศศรี จังหวัดเชียงราย, หลักที่ 80 จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกศศรี กิ่งอำเภอภูกามยาว จังหวัดเชียงราย, พย. 32 จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี พุทธศตวรรษที่ 21 - 22, พย. 32 จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี พุทธศตวรรษที่ 21-22, วัดเกษศรี, บ้านร้อง, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นักปราชญ์, ปัญญา, อรรถ, จตุราริยสัจ, ส.ม.นิ., ทุ.นิ.ม., ส.ม.ทุ., ส.นิ.ทุ., โตฏกฉันท์, ทุกขอริยสัจ, สมุทยอริยสัจ, นิโรธอริยสัจ, มรรคอริยสัจ, สัตวโลก, สัตว์โลก, สกลักษณะ, คาถา, ชรา, มรณะ, สังสารทุกข์, นิพพาน, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538), , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดเกษศรี บ้านร้อง ตำบลดงเจน อำเภอภูกามยาว (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอเมือง) จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2531?lang=th |
24 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “สามเจ้า” |
จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง, พย. 64, พย. 64, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สามเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1857?lang=th |
25 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสามหมากม่วงสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “สามหมากม่วง” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง, พย. 78, พย. 78, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สามหมากม่วง, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามหมากม่วง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามหมากม่วง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1894?lang=th |
26 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดแสงเมืองมา |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า มหาเถรนาคแสนเจ้าให้หล่อพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดแสงเมืองมา, ลป. 22 จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดแสงเมืองมา, ลป. 22 จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดแสงเมืองมา, ลป. 22, ลป. 22, วัดแสงเมืองมา ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแสงเมืองมา ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-มหาเถรนาคแสนเจ้า, บุคคล-มหาพุทธสาคร |
วัดแสงเมืองมา ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15989?lang=th |
27 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดปงสนุกเหนือ |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า เจ้านันทประหยาให้สร้าง(พระพุทธรูปองค์นี้) เพื่อให้ได้ตรัสรู้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดปงสนุกเหนือ, ลป. 21 จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดปงสนุกเหนือ, ลป. 21 จารึกฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์วัดปงสนุกเหนือ, ลป. 21, ลป. 21, วัดปงสนุกเหนือ ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดปงสนุกเหนือ ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้านันทประหยา |
วัดปงสนุกเหนือ ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15987?lang=th |
28 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสลักบนงาช้าง วัดเจดีย์หลวง |
ธรรมล้านนา |
แม่เจ้าคำแผ่น เจ้านายน้อยมหาพรหม เจ้าราชบุตร เจ้านายหนานมหาเทพ รวมถึงอัครชายาและลูกหลานทุกคน ร่วมกันสลักพระพุทธรูปจากงาช้างมงคลนามว่าปราบเมืองมาซึ่งตายลง โดยขอให้ตนได้ถึงแก่นิพพานและสมความปรารถนาในทุกสิ่ง ตอนท้ายอุทิศส่วนกุศลถวายแด่พ่อเจ้าชีวิต |
จารึกฐานพระพุทธรูปสลักบนงาช้าง วัดเจดีย์หลวง, ชม. 144, 252 วัดเจดีย์หลวง, ชม. 144, 252 วัดเจดีย์หลวง, ไม้, ฐานไม้ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งสลักจากงาช้างจำนวน 2 กิ่ง, ล้านนา, พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, แม่เจ้าคำแผ่น, เจ้านายน้อยมหาพรหม, เจ้าหนานมหาเทพ, เจ้าราชบุตร, ช้างมงคล, ปราบเมืองมา, ช้างพู้, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าหลวงน้อยอินทร์ |
วัดเจดีย์หลวง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1775?lang=th |
29 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสร้างโดยเจ้าหลวงน้อยอินทร์แห่งลำปาง |
ธรรมล้านนา |
พระองค์เจ้าหลวง (เจ้าหลวงน้อยอินทร์) แม่เจ้าจุมปา และแม่เจ้าศรีบุญเรือง เป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ร่วมกับราชโอรส-ธิดาและทาสชายหญิงทุกคน เมื่อจุลศักราช 1202 โดยขอให้เป็นปัจจัยสู่นิพพาน |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปสร้างโดยเจ้าหลวงน้อยอินทร์แห่งลำปาง, A BUDDHA IMAGE SPONSORED BY JAO LUANG NòI IN OF LAMPANG IN 1841, จุลศักราช 1202, พ.ศ. 2384, 1202, 2384, ไม้ ลงรัก ปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา, เจ้าหลวงน้อยอินทร์, พระยาน้อยอินทร์, ลำปาง, นครไชยสุขาวดี, แม่เจ้าจุมปา, แม่เจ้าศรีบุญเรือง, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2384, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าหลวงน้อยอินทร์ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2384 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2529?lang=th |
30 |
จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาเขียววัดข้าวสาร |
ไทยสุโขทัย |
เป็นจารึกสั้นๆ กล่าวถึง ชีผ้าขาวผู้หนึ่งชื่อ เวสสันดร (เพสสันดร) ขอบูชาพระรัตนตรัย |
จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาสีเขียววัดข้าวสาร พุทธศตวรรษที่ 20, จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาสีเขียววัดข้าวสาร พุทธศตวรรษที่ 20, สท. 36, สท. 36, ศ.ก. 3 ท. 29, ศ.ก. 3 ท. 29, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปนั่ง, หลักที่ 90 ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูปนั่ง, หลักที่ 90 ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูปนั่ง, หินชนวน, สีเขียว, แผ่นหิน, ปลายมน, จำหลักรูปพระพุทธปฏิมากร, วัดข้าวสาร, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ชีผ้าขาวเวสสันดร, ชีผ้าขาวเพสสันดร, ชีปะขาวเวสสันดร, ชีปะขาวเพสสันดร, พระเทพาธิราช, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกที่จำหลักรูปพุทธปฏิมากร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระรัตนตรัย, บุคคล-เวสสันดร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/231?lang=th |
31 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 |
ธรรมล้านนา |
ขนานอุตมะพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย และแผ่ส่วนบุญกุศลไปหาบิดา มารดา วงศาคณาญาติและครูบาอาจารย์ที่ล่วงลับไปแล้ว |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 (นน. 2107) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 (นน. 2107) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานอุตมะ |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14966?lang=th |
32 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 |
ธรรมล้านนา |
หนานมุดพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 (นน. 2106) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 (นน.2106) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานมุด |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14963?lang=th |
33 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3 |
ธรรมล้านนา |
หนานวงศ์พร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3 (นน. 2105) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, พระพุทธรูปวัดใหม่ 3 (นน. 2105) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานวงศ์ |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14960?lang=th |
34 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ.2395 สวาธุเจ้าเมธังได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2 (นน. 2103) จ.ศ. 1214 (พ.ศ. 2395), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2 (นน. 2103) จ.ศ. 1214 (พ.ศ. 2395), วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2395, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ,, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าสวาธุเมธัง |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2395 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14956?lang=th |
35 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 |
ธรรมล้านนา |
หนานมุดพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 (นน. 2103) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 (นน. 2103) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานหมุด |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14953?lang=th |
36 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 4 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกระบุวัน เดือน ปี ที่จารึก |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 4, พ.ศ. 2246, พุทธศักราช 2246, พ.ศ. 2246, พุทธศักราช 2246, จ.ศ. 1065, จุลศักราช 1065, จ.ศ. 1065, จุลศักราช 1065, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, ในพระอุโบสถวัดโพธิสมภรณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, พุทธศาสนา, เดือนเจียง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2246, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (พระไชยองค์เว้), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
ในพระอุโบสถวัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2246 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2491?lang=th |
37 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึงผู้สร้างคือ อัครวรราชครู เจ้าสายสุวรรณ หลวงเมืองคุก ว่าได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ รวมทั้งได้ถวายข้าโอกาสกับพระพุทธรูปองค์นี้ 4 ครัว เพื่อรักษาและบูชาพระพุทธรูปและได้สาปแช่งผู้ที่มาเอาทาสโอกาสของพระพุทธรูปไป ในตอนสุดท้ายได้บอกว่า สังฆครูเจ้า เป็นผู้เขียนจารึกและได้บอก วัน เดือน ปี ไว้ในตอนสุดท้าย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, กุฏิรองเจ้าอาวาส, วัดโพธิสมภรณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, อัครวรราชครู, เจ้าสายสุวรรณ, หลวงเมืองคุก, นางแสนสุรี, นางแสนไชยเสน, นางแสนสุทธิ, แม่อบ, ข้อย, ลูก, หลาน, บ่าว, พระขนานศรีกัญญา, เจ้าด้าน, สังฆครูเจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระทองเจ้า, พระเจ้า, เม็ดหินเม็ดทราย, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2209 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-สังฆครูเจ้า |
กุฏิรองเจ้าอาวาส วัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2209 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2489?lang=th |
38 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 2 |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้าง และนามผู้สร้าง |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 2, พ.ศ. 2205, พุทธศักราช 2205, พ.ศ. 2205, พุทธศักราช 2205, จ.ศ. 1024, จุลศักราช 1024, จ.ศ. 1024, จุลศักราช 1024, สำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ด้านขวามือพระประธานในโบสถ์, วัดโพธิสมภรณ์, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, หัวท้าวสมแตทด, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, เพ็ง, วันเพ็ญ, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2205, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-หัวท้าวสมแตทด |
ด้านขวามือพระประธานในโบสถ์ วัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2205 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2240?lang=th |
39 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 1 |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุศักราชและวันที่จารึก ปรากฏชื่อบุคคลคือ สมเด็จสงคสามเจ้าพันไชย ข้อความต่อจากนี้ชำรุด จับความไม่ได้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 1, พ.ศ. 2127, พุทธศักราช 2127, พ.ศ. 2127, พุทธศักราช 2127, จ.ศ. 946, จุลศักราช 946, จ.ศ. 946, จุลศักราช 946, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, ตำบลเวียงคุก, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จสงคสามเจ้าพันไชย, พุทธศาสนา, ปีสัน, ปีวอก, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2127, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-สมเด็จสงคสามเจ้าพันไชย |
พระพุทธรูปองค์ซ้ายมือของพระประธาน ในอุโบสถวัดโพธิสมภรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2127 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2407?lang=th |
40 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดแม่สรวย |
ธรรมล้านนา |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงเหตุการณ์เมื่อ พ.ศ. 2058 พระเถระผู้ใหญ่ได้ป่าวร้องเชิญชวนทุกผู้ทุกคน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดแม่สรวย, พุทธศักราช 2058, พุทธศักราช 2058, พ.ศ. 2058, พ.ศ. 2058, วัดแสงแก้วโพธิญาณ บ้านใหม่แสงแก้ว ตำบลเจดีย์หลวง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย, ปีจอศก, สีลิปารา, สิริปาลา, ฐานพระพุทธรูปสำริด, ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ปลีกาบเส็ด, ปีกาบเส็ด, มหาพรหมเทพาเจ้า, มหาเถรเจ้าญาณคัมภีร์, นวพรรณ ภัทรมูล, อัญชลี สินธุสอน, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแสงแก้วโพธิญาณ เชียงราย, บุคคล-มหาพรหมเทพาเจ้า, บุคคล-มหาเถรเจ้าญาณคัมภีร์ |
วัดแสงแก้วโพธิญาณ บ้านใหม่แสงแก้ว ตำบลเจดีย์หลวง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2058 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19119?lang=th |
41 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2420 ฝ่ายบรรพชิตมีทุ(พระ)ธรรมไชยเป็นประธานพร้อมด้วยลูกศิษย์ทุกคน และฝ่ายฆราวาสมีหนานชนาเป็นประธานพร้อมด้วยภรรยาได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 2 (นน. 2042) จ.ศ. 1239 (พ.ศ. 2420), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 2 (นน. 2042) จ.ศ. 1239 (พ.ศ. 2420), วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2420, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเปา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทุพระธรรมไชย, บุคคล-หนานชนา |
วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2420 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15104?lang=th |
42 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 1 |
ธรรมล้านนา |
ระหว่างปี พ.ศ. 2420 ผู้ไม่ทราบนาม (เนื่องจากจารึกลบเลือน) เป็นประธานพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระศาสนา ด้วยปรารถนาความสุข 3 ประการ มีพระนิพพานเป็นเป้าหมายสูงสุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 1 (นน. 2041) อายุระหว่าง พ.ศ. 2420 (จ.ศ. 1239), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 1 (นน. 2041) อายุระหว่าง พ.ศ. 2420 (จ.ศ. 1239), วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2420, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเปา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2420 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15101?lang=th |
43 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกศักราชปีที่สร้าง และนามผู้สร้าง คือ เจ้าหมื่นทิพย์ พร้อมด้วยครอบครัว ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อเป็นที่สักการะบูชาแก่คนทั้งหลาย |
นค. 18, นค. 18, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3, พ.ศ. 2199, พุทธศักราช 2199, พ.ศ. 2199, พุทธศักราช 2199, จ.ศ. 1018, จุลศักราช 1018, จ.ศ. 1018, จุลศักราช 1018, ฐานพระพุทธรูปประธาน, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย,ไทย, ล้านช้าง, เจ้าหมื่นทิพย์, ภริยา, บุตร, ธิดา, ปู่ย่าตานาย, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, ปีรวายสัน, มื้อรวงเม้า, ยามแถใกล้เที่ยง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2199, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหมื่นทิพย์ |
ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2199 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2467?lang=th |
44 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 2 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายข้าโอกาสกับพระพุทธรูป |
นค. 20, นค. 20, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 2, พ.ศ. 2191, พุทธศักราช 2191, พ.ศ. 2191, พุทธศักราช 2191, จ.ศ. 1010, จุลศักราช 1010, จ.ศ. 1010, จุลศักราช 1010, สัมริด, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ด้านขวามือพระประธาน, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, หญิงเจิม, บักหมื่นข้าว, ลูก, บักบุญข่า, ผัวเมีย, บักสุกโต, ข้อย, พุทธศาสนา, ให้ทาส, อุทิศทาส, ถวายข้าโอกาส, ขายทาส, ไถ่ทาส, มื้อกาบยี่, มื้อกาบยี, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2171, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหม่อมแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป |
ในพระอุโบสถ ด้านขวามือพระประธาน วัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2191 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2477?lang=th |
45 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงนางหมื่นนาหลัก ให้ทาสโอกาสแก่วัด และได้กำหนดค่าตัวของทาสไว้ด้วย |
นค. 19, นค. 19, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 1, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, สัมริด, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เจ้านางหมื่นนาหลัก, ข้าทาส, ข้อย, เทวทัต, พุทธศาสนา, ให้ทาส, อุทิศทาส, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, วันไส้, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2179, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าวิชัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าต่อนคำ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้านางหมื่นนาหลัก |
ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2179 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2469?lang=th |
46 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงยืน |
ธรรมล้านนา |
อุบาสกนามว่า อ้ายกาง ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้แด่วัดเชียงยืน เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา ในจุลศักราช 1194 ขอให้มีอานิสงส์ได้ถึงโลกุตรธรรม 9 ประการ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงยืน, ชม. 103, 74 วัดเชียงยืน, ชม. 103, 74 วัดเชียงยืน, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดเชียงยืน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระยาพุทธวงศ์, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, อ้ายกาง, โลกุตรธรรม 9 ประการ, นิพพาน, ฉลอง, กินทาน, ผลานิสงส์, อุบาสก, ผลบุญ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2375, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดเชียงยืน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดเชียงยืน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1708?lang=th |
47 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น |
ธรรมล้านนา |
ตอนต้นเป็นคาถาย่ออริยสัจ 4 ภาษาบาลี จากนั้นกล่าวถึงรายนามผู้เป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปซึ่งได้แก่ มหาชวปัญญาณ มหาพุทธญาณ มหาสัทธรรมราชมุนี มหาธรรมกิตติ บงหวา [น] ? มหาเถรอารีย และระบุชื่อนางเลาผู้ค้ำชู (ศาสนา?) |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น, ชม. 71, 1 วัดเชียงมั่น, ชม. 71, 1 วัดเชียงมั่น, วัดเชียงหมั้น, จุลศักราช 827, พุทธศักราช 2008, จุลศักราช 827, พุทธศักราช 2008, จ.ศ. 827, พ.ศ. 2008, จ.ศ. 827, พ.ศ. 2008, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, มหาชวปัญญาณ, มหาพุทธญาณ, มหาสัทธรรมราชมุนี, มหาธรรมกิตติ, บงหวา [น] ?มหาเถรอารีย, นางเลา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2008, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดเชียงมั่น, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2008, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, วัตถุ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาชวปัญญาณ, บุคคล-มหาพุทธญาณ, บุคคล-มหาสัทธรรมราชมุนี, บุคคล-มหาธรรมกิตติ |
ภายในวิหารวัดเชียงมั่น วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2008 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1721?lang=th |
48 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 |
ธรรมล้านนา |
ขนานคัมภีระได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 (นน. 2092) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 (นน. 2092) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานคัมภีระ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14864?lang=th |
49 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2379 จินดาภิกขุได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8 (นน. 2091) จ.ศ. 1198 (พ.ศ. 2379), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8 (นน. 2091) จ.ศ. 1198 (พ.ศ. 2379), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2379, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-จินดาภิกขุ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2379 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14861?lang=th |
50 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 7 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2443 พ่อเฒ่าจันทาและแม่เฒ่ามูลมาพร้อมด้วยญาติพี่น้องและบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา และปรารถนาให้ผลบุญนั้นเป็นปัจจัยค้ำชูพวกตนไปทุกภพชาติ">ปี พ.ศ. 2443 พ่อเฒ่าจันทาและแม่เฒ่ามูลมาพร้อมด้วยญาติพี่น้องและบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา และปรารถนาให้ผลบุญนั้นเป็นปัจจัยค้ำชูพวกตนไปทุกภพชาติ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 7 (นน. 2090) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 7 (นน. 2090) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเฒ่าจันทา, บุคคล-แม่เฒ่ามูลมา, แม่เฒ่า |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2443 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14859?lang=th |
51 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 6 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2443 หนานนันพร้อมด้วยภรรยาชื่อนางเลี่ยม ญาติพี่น้องและบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี และปรารถนาให้กุศลผลบุญนั้นเป็นปัจจัยค้ำชูพวกตนไปทุกภพชาติ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 6, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 6 (นน. 2089) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 6 (นน. 2089) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานนัน, บุคคล-นางเลี่ยม |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2443 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14857?lang=th |
52 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 5 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2374 ขนานชินะรินทา ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 5, จารึกจารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 5 (นน. 2088) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 5 (นน. 2088) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานชินะรินทา |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2374 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14855?lang=th |
53 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 4 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2348 วัชชิระสามเณรพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 4 (นน. 2087) จ.ศ. 1167 (พ.ศ. 2348), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 4 (นน. 2048) จ.ศ. 1167 (พ.ศ. 2348), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2348, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-วัชชิระสามเณร |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2348 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14845?lang=th |
54 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2360 ปรมวังสะภิกขุพร้อมด้วยลูกศิษย์ทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยทองแดง ทองแข และทองเหลือง เพื่อค้ำชูพระศาสนาตราบ 5,000 ปี โดยมีศิษย์ที่ชื่อยาสิทธิเป็นผู้ตกแต่งพระพักตรของพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 3, จารึกจารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 3 (นน. 2086) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 3 (นน. 2086) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปรมวังสะภิกขุ, บุคคล-ยาสิทธิ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14843?lang=th |
55 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2492 พ่อหนานบูรณะเป็นประธาน พร้อมด้วยบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 2 (นน. 2085) จ.ศ. 1311 (พ.ศ. 2492), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 2 (นน. 2085) จ.ศ. 1311 (พ.ศ. 2492), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2492, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 9, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคู้, บุคคล-มหาปรมวังสะ, บุคคล-พระอุปละ, บุคคล-ธรรมสิทธิภิกขุพ่อหนานบูรณะ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2492 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14841?lang=th |
56 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2363 น้อยคู้พร้อมครอบครัว ร่วมกับฝ่ายสงฆ์คือ มหาปรมวังสะ (น่าจะเป็นเจ้าอาวาส) พระอุปละและลูกศิษย์ทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยทองสำริด โดยมีธรรมสิทธิภิกขุเป็นผู้จารตัวอักษร |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1 (นน. 2084) จ.ศ. 1182 (พ.ศ. 2363), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1 (นน. 2084) จ.ศ. 1182 (พ.ศ. 2363), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2363, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคู้, บุคคล-มหาปรมวังสะ, บุคคล-พระอุปละ, บุคคล-ธรรมสิทธิภิกขุ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2363 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14839?lang=th |
57 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง |
ธรรมล้านนา |
ตอนต้นเป็นคาถาย่ออริยสัจ 4 ภาษาบาลี จากนั้นกล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ในจุลศักราช 844 โดย (นาย) ธันบี? ซึ่งขอให้ตนได้เป็นอัครสาวกของพระพระเมไตรยเจ้า |
ชม. 76 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง, 6 วัดเจดีย์หลวง, ชม. 76 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง, 6 วัดเจดีย์หลวง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเจดีย์หลวง, ชม. 76, ชม. 76, 6 วัดเจดีย์หลวง, 6 วัดเจดีย์หลวง, จุลศักราช 844, พุทธศักราช 2025, จุลศักราช 844, พุทธศักราช 2025, จ.ศ. 844, พ.ศ. 2025, จ.ศ. 844, พ.ศ. 2025, ปีเต่ายี, ปีขาล จัตวาศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, นายธันบี, การสร้างพระพุทธรูป, พระแสนทอง, เมตไตรยะ, พระศรีอารย์, ศรีอาริยเมตไตร, อนาคตพุทธเจ้า, อริยสัจ 4, จตุราริยสัจ, คาถาย่อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2025, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ธันบี |
วัดเจดีย์หลวง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2025 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1712?lang=th |
58 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอุโมงค์ |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 876 มหาสัทธัมมะมงคลปรัชญาวิเศษเจ้า มหาสวามีญาณมงคลเจ้า มหาสวามีสุ วัณณะรังสีเจ้า เป็นประธานในการหล่อพระพุทธรูปน้ำหนัก 285,000 แด่วัดไร่หอม |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอุโมงค์, ชม. 87, 17 วัดอุโมงค์, ชม. 87, 17 วัดอุโมงค์, จุลศักราช 876, พุทธศักราช 2057, จุลศักราช 876, พุทธศักราช 2057, จ.ศ. 876, พ.ศ. 2057, จ.ศ. 876, พ.ศ. 2057, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดอุโมงค์ ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่, พญาแก้ว, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การหล่อพระพุทธรูป, มหาสัทธัมมะมงคลปรัชญาวิเศษเจ้า, มหาสวามีญาณมงคลเจ้า, มหาสวามีสุวัณณะรังสี, วัดไร่หอม, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2057, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดอุโมงค์, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2057, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดอุโมงค์ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาสัทธัมมะมงคลปรัชญาวิเศษเจ้า, บุคคล-มหาสวามีญาณมงคลเจ้า, บุคคล-มหาสวามีสุวัณณะรังสีเจ้า |
วัดอุโมงค์ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2057 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1667?lang=th |
59 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอ่างแก้ว |
ธรรมอีสาน |
เจ้าหม่อมพิมพา ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
สค. 1, สค. 1, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากวัดศรีสระเกศ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอ่างแก้ว, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, สัมฤทธิ์, สำริด, ฐานพระพุทธรูป ปางสมาธิ, จังหวัดศรีสะเกษ, วัดอ่างแก้ว, เชิงสะพานท่าจีน, อำเภอเมือง, จังหวัดสมุทรสาคร, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, เจ้าหม่อมพิมพา, พุทธศาสนา, ปีระวายสี, วันพุธ, มีกดสัน, มื้อกดสัน, ตุลนรราศี, ตุลณราศี, ตุลราศี, ยามเที่ยงวัน, นิรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, พิทูร มลิวัลย์, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, พิทูร มลิวัลย์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 : อักษรธรรมและอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าหม่อมพิมพา |
วัดอ่างแก้ว เชิงสะพานท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร (เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2557 ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทยได้ไปสำรวจแต่ไม่พบจารึกหลักนี้) |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2449?lang=th |
60 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายตันพร้อมด้วยมารดา ภรรยา และบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บิดาชื่อ น้อยอุตมะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 8 (นน. 2083) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 8 (นน. 2083) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายตัน, บุคคล-น้อยอุตมะ |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14918?lang=th |
61 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 6 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2306 อุ้ยจมปากับภรรยาทั้ง 7 ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา และปรารถนาให้ถึงพระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 6, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 7 (นน. 2082) จ.ศ. 1125 (พ.ศ. 2306), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 7 (นน. 2082) จ.ศ. 1125 (พ.ศ. 2306), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2306, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าขี้หุด, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-โป่อภัยคามินี, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-อุ้ยจมปา |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2306 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14913?lang=th |
62 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 5 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2412 หนานเสนาอาจารย์ (มัคทายก) พร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 6 (นน. 2081) จ.ศ. 1231 (พ.ศ. 2412), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง (นน. 2081) จ.ศ. 1173 (พ.ศ. 2354), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานเสนาอาจารย์ |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2412 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14908?lang=th |
63 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 4 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2404 อ้ายน้อยได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 5 (นน. 2080) จ.ศ. 1223 (พ.ศ. 2404), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 5 (นน. 2080) จ.ศ. 1223 (พ.ศ. 2404), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2404, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายน้อย |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2404 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14906?lang=th |
64 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2434 ขนานจันดีพร้อมด้วยมารดา ภรรยา และญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 4 (นน. 2079) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 4 (นน. 2079) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2434, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล--ขนานจันดี |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2434 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14901?lang=th |
65 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2403 อ้ายผงพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 3 (นน. 2078) จ.ศ. 1222 (พ.ศ. 2403), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 3 (นน. 2078) จ.ศ. 1222 (พ.ศ. 2403), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2403, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายผง |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2403 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14899?lang=th |
66 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1 |
ธรรมล้านนา |
น้อยวันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ด้วยปรารถนาความสุข 3 ประการ มีนิพพานเป็นที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 2 (นน. 2077) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 2 (นน. 2077) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-น้อยวัน |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14896?lang=th |
67 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1238 เจ้าจันทน์หอมพร้อมด้วยราชบุตร ราชธิดาและชาววังทุกคนร่วมกันสร้างพระพิมพ์ไม้จันทน์ 4 อิริยาบถ ไว้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยค้ำชูทั้งในภพนี้และภพหน้าจนกระทั่งเข้าสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2, ชม. 111, 114 วัดหัวข่วง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2, ชม. 111, 114 วัดหัวข่วง, จุลศักราช 1238, พุทธศักราช 2419, จุลศักราช 1238, พุทธศักราช 2419, จ.ศ. 1238, พ.ศ. 2419, จ.ศ.1238, พ.ศ. 2419, ไม้จันทน์, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, วัดหัวข่วง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, อินทนนท์, เจ้าหลวงตาขาว, เจ้าเจ็ดตน, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล, เจ้าจันทน์หอม, ราชบุตรา, ราชบุตรี, ชาววัง, พระพิมพ์, ไม้จันทน์, นิพพาน, พระสี่อิริยาบท, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2419, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้จันทน์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหัวข่วง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2419 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1638?lang=th |
68 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 1 |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2044 มหาเถระเจ้ารูปหนึ่งได้ชักชวนนักบุญทั้งหลายให้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 1, ชม. 86, ชม. 86, 16 วัดหัวข่วง, 16 วัดหัวข่วง, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, จ.ศ. 863, จุลศักราช 863, จ.ศ. 863, จุลศักราช 863, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดหัวข่วง, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเถระเจ้า นักบุญ, เจ้าห้าสิบต้าเพี้ยน, เจ้าท้านะสี, เจ้าขุนขวัน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2044, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวข่วง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาเถระ, บุคคล-เจ้าห้าสิบต้าเพี้ยน, บุคคล-เจ้าท้านะสี, บุคคล-เจ้าขุนขวัน |
วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2044 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1522?lang=th |
69 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นเงินกอง |
ธรรมล้านนา |
พระครูปลัดทองอิน สีลํวโร เจ้าอาวาสวัดหมื่นเงินกองพร้อมทั้งผู้มีศรัทธาได้หล่อพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับศาสนาเมื่อวันพุธที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2514 ถวายแด่วัดหมื่นเงินกอง ตอนท้ายระบุนามช่างที่เป็นผู้หล่อ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นเงินกอง, ชม. ชม. 141, ชม. 141, 246 วัดหมื่นเงินกอง, 246 วัดหมื่นเงินกอง, พ.ศ. 2514, พ.ศ. 2514, พุทธศักราช 2514, พุทธศักราช 2514, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 9, รัชกาลที่ 9, พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุยเดช, จารึกสมัยหลังตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม ศาสนาพุทธ, พระครูปลัดทองอิน สีลํวโร, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2514, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 26, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทรายมูลเมือง, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระครูปลัดทองอิน สีลํวโร |
กุฏิเจ้าอาวาสวัดหมื่นเงินกอง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2514 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1628?lang=th |
70 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 7 |
ธรรมล้านนา |
กำหนดจากศักราชที่ปรากฏในจารึกคือ พ.ศ. 2474 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 7, ชม. 132, 230 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 7, ชม. 132, 230 วัดหมื่นล้าน, พุทธศักราช 2474, พุทธศักราช 2474, พ.ศ. 2474, พ.ศ. 2474, สำริด, ฐานพระพุทธรูป ประทับยืนสถานที่พบ, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นางขันแก้ว, ศรัทธา, เจ้าศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2474, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2474 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1675?lang=th |
71 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 6 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2460 ภิกษุชมพู อธิการวัดหมื่นล้าน พร้อมทั้งศิษย์และผู้มีศรัทธาทั้งหลายร่วมกันสร้างพระพุทธองค์นี้ขึ้นไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 6, ชม. 123, 178 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 6, ชม. 123, 178 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1279, พุทธศักราช 2460, จุลศักราช 1279, พุทธศักราช 2460, จ.ศ. 1279, พ.ศ. 2460, จ.ศ.1279, พ.ศ. 2460, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัชราสน์, ขัดสมาธิเพชร, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุชมพู, ตุ๊ชมพู, ธุชมพู, สิกยม, ลูกศิษย์, เจ้าศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2460, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2460 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1673?lang=th |
72 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 5 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1266 นายบัวผัดและพี่น้องร่วมกันสร้างพระพุทธรูปแล้วสมโภชไว้กับวัดหมื่นล้าน โดยขอให้ตนมีปัญญาเหมือนแม่น้ำทั้ง 5 สายและได้ถึงแก่ สุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นสิ่งสูงสุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 5, ชม. 121, 171 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 5, ชม. 121, 171 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จ.ศ. 1266, พ.ศ. 2447, จ.ศ.1266, พ.ศ. 2447, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง, จังหวัดเชียงใหม่, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์, รัชกาลที่ 5, ร.5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัตนโกสินทร์, อาณาจักรล้านนา, ไทย, สยาม, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นายบัวผัดและพี่น้อง, แม่น้ำทั้ง 5, คงคา, ยมุนา, อจิรวดี, อิระวดี, มหิ, สรภู, นิพพาน, สุขสามประการ, มนุษยสุข, ทิพยสุข, นิพพานสุข, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2447, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1671?lang=th |
73 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 4 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2443 เจ้าสุริยวงศา เจ้าสุคนธาผู้เป็นภรรยา และลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา ขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 4, ชม. 119, 166 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 4, ชม. 119, 166 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1262, พุทธศักราช 2443, จุลศักราช 1264, พุทธศักราช 2443, จ.ศ. 1262, พ.ศ. 2443, จ.ศ. 1264, พ.ศ. 2443, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติ, วัดหมื่นล้าน, ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าสุคนธา, เจ้าสุริยวงศา, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหมื่นล้าน เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าสุริยวงศา, บุคคล-เจ้าสุคนธา |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2443 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1680?lang=th |
74 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1241 นายน้อยคันธาและพ่อแม่พี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 3, ชม. 113, 120 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 3, ชม. 113, 120 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, ปีกดสี, ปีมะโรง โทศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ไทย, สยาม, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, น้อยคันธา, พ่อแม่พี่น้อง, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2422, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2422 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1497?lang=th |
75 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 2 |
ธรรมล้านนา |
ป้าจันพร้อมทั้งแม่, ลูกและญาติทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปปางรับบาตรและปางห้ามมาร แด่วัดหมื่นล้าน โดยทำการสมโภชใหม่ในจุลศักราช 1241 ขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน อนึ่ง พระพุทธรูปที่ระบุไว้ในจารึก ว่าเป็นปางรับบาตรนั้น เข้าใจว่าน่าจะหมายถึงปางอุ้มบาตร ส่วนที่ระบุว่าปางห้ามมารนั้น เมื่อพิจารณาจากลักษณะของพระพุทธรูปดังกล่าว พบว่าแท้จริงแล้วเป็นปางห้ามญาติ เนื่องจากปางห้ามมารจะประทับนั่งขัดสมาธิ ไม่ใช่ประทับยืน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 2, ชม. 112, 117 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 2, ชม. 112, 117 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, ไม้, ฐานพระพุทธรูป 2 องค์ซึ่งทำเป็นรูปบันได, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, เจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ป้าจัน, แม่, ลูก, ญาติ, มรรคผล, นิพพาน, ปางห้ามญาติ, ปางห้ามมาร, ปางอุ้มบาตร, ปางรับบาตร, ป้าจัน พร้อมทั้งแม่, ลูกและญาติๆ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2422, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2422 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1710?lang=th |
76 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1179 นางแก้ววัณณา น้อยคันธิยะพร้อมทั้งภรรยาและลูกหลานเหลนทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปด้วยละอองเกสรดอกไม้องค์นี้ ไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 1, ชม. 98, 53 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 1, ชม. 98, 53 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1179, พุทธศักราช 2360, จุลศักราช 1179, พุทธศักราช 2360, จ.ศ. 1179, พ.ศ. 2360, จ.ศ. 1179, จ.ศ. 2360, เมิงเป้า, ฉลู นพศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูปมุกเกสรปางสมาธิ, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระยาคำฝั้น, รัชกาลที่ 2, ร.2, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยอาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นางแก้ววัณณา น้อยคันธิยะและภรรยารวมถึงลูกหลานเหลน, ละอองเกสร, พระพุทธไกรสร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2360, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1503?lang=th |
77 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นตุม |
ธรรมล้านนา |
ตอนต้นระบุถึงวันเวลาและฤกษ์ยามที่สร้างพระพุทธรูปองค์นี้เมื่อจุลศักราช 924 จากนั้นผู้สร้างได้กล่าวถึงการถวายบ้านแด่พระพุทธรูปองค์ดังกล่าว อีกทั้งให้บุคคลนามว่า คำสน และหลานชื่อสุนทร รวมทั้งภรรยาของตนดูแลเรื่องจังหันของพระ โดยกำชับไม่ให้ลูกชายมาอยู่ที่บ้านหลังจากตนเสียชีวิตไปแล้ว หากภรรยาตายให้น้องชื่อว่า กิ และบุคคลอื่นๆ กระทำแทน ตอนท้ายมีคำสาปแช่งให้ฉิบหาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นตุม, ชม. 90, 21 วัดหมื่นตุม, ชม. 90, 21 วัดหมื่นตุม, จุลศักราช 924, พุทธศักราช 2105, จุลศักราช 924, พุทธศักราช 2105, จ.ศ. 924, พ.ศ. 2105, จ.ศ. 924, พ.ศ. 2105, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ปางอุ้มบาตร, วัดหมื่นตุม, จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, ท้าวเมกุ, แม่กุฏิ, ตองอู, ศาสนพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, สาปแช่ง, คำสน, สุนทร, กิ, พันตวาน, พันทวาร, พันประตู, หมื่นตุมตาม, พันตุมตาม, หมื่นหนังสือ, พวกดาบเรือนขวา, พวกล่าม, พินัยกรรม, จังหัน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2105, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นตุม, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นตุม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2105 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1706?lang=th |
78 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 3 |
ธรรมล้านนา |
ภิกษุปัญญา อธิการวัดสำเภาสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบถ กับพระเจ้า 7 ประการไว้กับวัดสำเภาเมื่อพุทธศักราช 2468 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 3, ชม. 130, 216 วัดสำเภา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 3, ชม. 130, 216 วัดสำเภา, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 2468, พ.ศ. 2468, จ.ศ. 1287, พ.ศ. 2468, จ.ศ. 2468, ปีดับเป้า, ปีฉลู สัปตศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, วัดสำเภา ตำบลศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุปัญญา, อธิการวัดสำเภา,วัดสำเภา, พระ 4 อิริยาบถ, พระเจ้า 7 ประการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2463, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดสำเภา, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดสำเภา ตำบลศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2468 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1477?lang=th |
79 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 2 |
ธรรมล้านนา |
เจ้าสุริยะและเจ้านางทิพพโสตาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้แด่วัดสำเภาใน จุลศักราช 1252 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 2, ชม. 115, 141 วัดสำเภา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 2, ชม. 115, 141 วัดสำเภา, จุลศักราช 1252, พุทธศักราช 2433, จุลศักราช 1252, พุทธศักราช 2433, จ.ศ. 1252, พ.ศ. 2433, จ.ศ.1252, พ.ศ. 2433, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, ไทย, สยาม, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, ร. 5, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าสุริยะและเจ้านางทิพพโสตา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2433, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดสำเภา, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2433 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1475?lang=th |
80 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1219 เจ้าพระยาไชยพร้อมทั้งภรรยา, ลูกและพี่น้องทุกคน สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 1, ชม. 107, 91 วัดสำเภา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 1, ชม. 107, 91 วัดสำเภา, จุลศักราช 1219, พุทธศักราช 2400, จุลศักราช 1219, พุทธศักราช 2400, จ.ศ. 1219, พ.ศ. 2400, จ.ศ.1219, พ.ศ. 2400, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้ากาวิโรรสสุริยวงศ์, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระพุทธรูปยืน, เจ้าพระยาไชยพร้อมทั้งภรรยา, ลูกและพี่น้องทุกคน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2400, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสำเภา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าพระยาไชย |
วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2400 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1473?lang=th |
81 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดส้าน |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2409 แสนท้าวเป็นประธาน พร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดส้าน, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดส้าน 1 (นน. 2129) จ.ศ. 1228 (พ.ศ. 2409), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดส้าน 1 (นน. 2129) จ.ศ. 1228 (พ.ศ. 2409), วัดส้าน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดส้าน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนท้าว |
วัดส้าน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2409 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15092?lang=th |
82 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2338 ขนานทิพพละและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 2 (นน. 2128) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 2 (นน. 2128) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2338, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสันทะ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานทิพพละ |
วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2338 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15089?lang=th |
83 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 1 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายดวงพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 1 (นน. 2127) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 1 (นน. 2127) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสันทะ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายดวง |
วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15086?lang=th |
84 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 3 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2397 ญาณภิกขุพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 3 (นน. 2123) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 3 (นน. 2123) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2397, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถาน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ญาณภิกขุ |
วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2397 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15074?lang=th |
85 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2397 แสนยนพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 2 (นน. 2122) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 2 (นน. 2122) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2397, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถาน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนยน |
วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2397 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15065?lang=th |
86 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2397 ท้าววุฒาและภรรยาพร้อมด้วยบุตรหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 1 (นน. 2121) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 1 (นน. 2121) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2397, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถาน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท้าววุฒา |
วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2397 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15063?lang=th |
87 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 4 |
ไทย |
ปี พ.ศ. 2453 สาธุเจ้าพรหมเสนาได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 4 (นน. 2120) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 4 (นน. 2120) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2453, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สาธุเจ้าพรหมเสนา |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2453 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15060?lang=th |
88 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 3 |
ธรรมล้านนา |
หนานวัฒนะ บ้านบง พร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยไม้จันทน์ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 3 (นน. 2119) อายุประมาณพุทธศตวรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 3 (นน. 2119) อายุประมาณพุทธศตวรษที่ 25, วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานวัฒนะ |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15056?lang=th |
89 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2453 น้อยมโนชัยและนางตาหน้อยพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 2 (นน. 2118) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 2 (นน. 2118) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2453, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยมโนชัย, บุคคล-นางตาหน้อย |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2453 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15053?lang=th |
90 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2453 สาธุเจ้ากุณณาพร้อมด้วยบิดามารดา ญาติพี่น้องทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 1 (นน. 2117) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 1 (นน. 2117) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2453, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สาธุเจ้ากุณณา |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2453 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15050?lang=th |
91 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเมือง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระราชมารดามหากษัตริย์ขัตติยวรกัญญาเจ้าที่ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ พร้อมตั้งคำอธิษฐาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเมือง, พ.ศ. 2306, พุทธศักราช 2306, พ.ศ. 2306, พุทธศักราช 2306, จ.ศ. 1125, จุลศักราช 1125, จ.ศ. 1125, จุลศักราช 1125วัตถุ, สำริด,ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปประธาน, ในโบสถ์วัดศรีเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พระราชมารดามหากษัตราขัตติยวรกัญญาเจ้า, มหากษัตราขัตติยวรกัญญาอุตตมา, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, วัดกลางหลวงจันทบุรี, หล่อพุทธรูปเจ้า, หล่อพระพุทธรูป, สร้างพระพุทธรูป, ปีก่ามด, มื้อกัดมด, สัทธาธิก, ธิษฐานุคติ, คน, เทวดา, มนุษยโลกา, เมืองฟ้า, สวรรค์, นางเทพดา, นิพพาน, เมืองแก้วนิรพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, ายุ-จารึก พ.ศ. 2306, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 (พระเจ้าศิริบุญสาร), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีเมือง หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พระพุทธรูปประธาน ในโบสถ์วัดศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2306 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2485?lang=th |
92 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4 |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการหล่อและสมโภชพระพุทธรูปองค์นี้ใน พ.ศ. 2476 โดยระบุนามผู้สร้างและน้ำหนักขององค์พระรวมถึงฤกษ์อย่างละเอียด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4, ชม. 129, 209 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4, ชม. 129, 209 วัดศรีเกิด, พุทธศักราช 2467, จุลศักราช 1286, พุทธศักราช 2467, จุลศักราช 1286, พ.ศ. 2467, จ.ศ. 1286, พ.ศ. 2467, จ.ศ.1286, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร, อาณาจักรล้านนา, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การฉลองพระอุโบสถ, นางคำใส แต่ย่งฮวด, ลูกทุกคน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2467, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
พิพิธภัณฑ์วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2467 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1636?lang=th |
93 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2463 ท้าววิเศษบุญสูงพร้อมทั้งภรรยาคือนางเกียงคำและนางสา รวมถึงลูกชายหญิงทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนาเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 3, ชม. 125, 198 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 3, ชม. 125, 198 วัดศรีเกิด, พุทธศักราช 2463, พุทธศักราช 2463, พ.ศ. 2463, พ.ศ. 2463, ไม้, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ท้าววิเศษบุญสูง, นางเกียงคำ, นางสา, ลูกชายหญิง, อุทิศส่วนกุศล, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2463, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่ปรากฏพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดศรีเกิด |
พุทธศักราช 2463 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1660?lang=th |
94 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2463 พระครูญาณลังกา วัดทุงยูเป็นประธานสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ถวายแด่วัดศรีเกิด ในคราวฉลองวิหารและเจดีย์ โดยขอให้ผลบุญเป็นเครื่องนำตนไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 2, ชม. 124, 194 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 2, ชม. 124, 194 วัดศรีเกิด, พุทธศักราช 2463, พุทธศักราช 2463, พ.ศ. 2463, พ.ศ. 2463, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัชราสน์, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระครูญาณลังกา, วัดทุงยู, เชียงใหม่, วัดศรีเกิด, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2463, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
พิพิธภัณฑ์วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2463 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1586?lang=th |
95 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1201 เจ้านางโนชาทรงสร้างพระพุทธรูปเพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 1, ชม. 104, 76 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 1, ชม. 104, 76 วัดศรีเกิด, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2382, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์, อำเภอเมือง, จังหวัดเชียงใหม่รัชกาล, พระยาพุทธวงศ์, รัตนโกสินทร์, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้านางโนชา, นิพพาน, เมืองฟ้า, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2382, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่พบพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดศรีเกิด |
พุทธศักราช 2382 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1682?lang=th |
96 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 6 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
เนื่องจากข้อความในจารึกหายไปบางส่วน จึงไม่ทราบชื่อผู้สร้าง ทราบแต่เพียงปี เดือน และวันที่สร้างเท่านั้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 6 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 6 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 8 (นน. 2102) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 8 (นน. 2102) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2374, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2374 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14942?lang=th |
97 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 5 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ทุ(พระ)นันทะสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 5 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 5 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 7 (นน. 2101) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 7 (นน. 2101) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทุพระนันทะ |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14939?lang=th |
98 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 4 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ขนานมหาวันพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 4 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 4 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 6 (นน. 2100) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 6 (นน. 2100) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานมหาวัน |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14936?lang=th |
99 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 3 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ขนานสมวันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 3 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 3 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 5 (นน. 2099) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 5 (นน. 2099) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานสมวัน |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14933?lang=th |
100 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (หนองคาย) |
ไทยน้อย |
หัวเจ้าสมเด็จพรหมมาและบรรดาญาติโยมได้มีศรัทธาพร้อมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2, พ.ศ. 2319, พุทธศักราช 2319, พ.ศ. 2319, พุทธศักราช 2319, จ.ศ. 1137, จุลศักราช 1137, จ.ศ. 1137, จุลศักราช 1137, สำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง, ตำบลมีชัย, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, หัวเจ้าสมเด็จพรหมาวชิรปัญญา, เป็นเค้า, พ่อทอง, เฒ่าแก่ท้าวพระยาบ้านเมือง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าหัวทิดบุญคำ, พระเจ้าอริยะเมตตรัยโพธิสัตว์เจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, จุลศักราชร้อย 37, จุลศักราชร้อย 37, ปีรับมด, ปีดับเม็ด, ยามกลองงาย, นิพพานปัจจโยโหตุ, สัพพัญญุตญาณ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2319, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 (พระเจ้าศิริบุญสาร), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหัวทิดบุญคำ, บุคคล-หัวเจ้าสมเด็จพรหมมา, ไม่มีรูป |
ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2319 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2409?lang=th |
101 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2374 หมื่นคำวังพร้อมด้วยภรรยาและญาติพี่น้อง ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 4 (นน. 2098) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 4 (นน. 2098) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2374, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นคำวัง |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2374 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14930?lang=th |
102 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (หนองคาย) |
ธรรมอีสาน |
นางแสนเพชร และนางฮีน ได้ถวายข้าโอกาสไว้กับพระพุทธรูปทององค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1, พ.ศ. 2201, พุทธศักราช 2201, พ.ศ. 2201, พุทธศักราช 2201, จ.ศ. 1020, จุลศักราช 1020, จ.ศ. 1020, จุลศักราช 1020, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง, ตำบลมีชัย, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, นางแสนเพชร, นางฮีน, อีแลบ, ข้อย, พระเจ้า แสนปัญญา, แสนจอง, แก้วพิลา, ภายใน, เจ้าสังฆราชา, พืชชะ, พุทธศาสนา, ถวายข้าโอกาส, ปีเปิกเส็ด, พระเจ้าทอง, พระพุทธรูป, มาตรา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2201, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง หนองคาย, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าครูศีลาภิรัตน์, บุคคล-นางแสนเพชร, บุคคล-นางฮีน |
ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2201 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2483?lang=th |
103 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2335 นางยอดได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 3 (นน. 2097) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 3 (นน. 2097) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335), วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2435, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางยอด |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2435 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14927?lang=th |
104 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง (เชียงใหม่) |
ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2024 พระภิกษุนามว่า พระสุมังคลเมธาวี ได้เชิญชวนให้อุบาสิกาซึ่งเป็นหลานสาวของหมื่นยูพวกหาญ สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่เมืองฝาง |
ชม. 178 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2024, ชม. 178 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2024, ชม. 178, ชม. 178, ฐานพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระสุมังคลเมธาวี |
พุทธศักราช 2024 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12908?lang=th |
|
105 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า หมื่นน้อยมงคลเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ตั้งแต่เมื่อครั้งยังบวชมีนามว่า เจ้าเพียรผระหยา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย, ลป. 10 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย พ.ศ. 2217, ลป. 10 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย พ.ศ. 2217, ลป. 10, ลป. 10, พ.ศ. 2217, พ.ศ. 2217, พุทธศักราช 2217, พุทธศักราช 2217, จ.ศ. 1036, พ.ศ. 1036, พุทธศักราช 1036, พุทธศักราช 1036, วัดพิชัย ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2217, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-อุปราชอึ้งแซะ, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพิชัย ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นน้อยมงคล, บุคคล-เจ้าเพียรผระหยา |
พระมหาวัฒนา สุวุฒฺโฒ เจ้าอาวาสวัดพิชัย กล่าวว่า จารึกดังกล่าวถูกนำไปบรรจุไว้ในพระธาตุมณีมงคล วัดพิชัย ตำบลพิชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2217 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16090?lang=th |
106 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมณเฑียร |
ธรรมล้านนา |
ระบุถึงศักราชที่สร้างพระพุทธรูป คือ จุลศักราช 854 |
ชม. 78 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมณเฑียร, 8 วัดมณเฑียร, ชม. 78 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมณเฑียร, 8 วัดมณเฑียร, จุลศักราช 854, พุทธศักราช 2035, จุลศักราช 854, พุทธศักราช 2035, จ.ศ. 854, พ.ศ. 2035, จ.ศ. 854, พ.ศ. 2035, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดมณเฑียร ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, มังราย, พญายอดเชียงราย, ท้าวยอดเมือง, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2035, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดมณเฑียร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2035, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมณเฑียร เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดมณเฑียร ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2035 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1487?lang=th |
107 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1234 อุปราชอินทนนท์ (ในเวลาต่อมาคือพระเจ้าอินทวิชยานนท์) แม่เจ้าคำแผ่น และแม่เจ้าบัวทิพย์ เป็นประธานในการทำพิธีพุทธาภิเษกและถวายพระพุทธรูปองค์นี้แด่วัดพันเตา เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระราชบิดา, พระราชมารดาและพระญาติที่ทรงล่วงลับไปแล้ว |
ชม. 109 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, 105 วัดพันเตา, ชม. 109 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, 105 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, ชม. 109, 105 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, ชม. 109, 105 วัดพันเตา, จุลศักราช 1234, พุทธศักราช 2415, จุลศักราช 1234, พุทธศักราช 2415, จ.ศ. 1234, พ.ศ. 2415, จ.ศ. 1234, พ.ศ. 2415, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, กุศล, บุญ, อุทิศ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพันเตา เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้าอินทวิชยานนท์, บุคคล-พระเจ้าอินทวิชยานนท์, บุคคล-อุปราชอินทนนท์, บุคคล-แม่เจ้าคำแผ่น, บุคคล-แม่เจ้าบัวทิพย์ |
พิพิธภัณฑ์หอคำ ภายในวัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2415 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1995?lang=th |
108 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1229 เจ้าเสมิราพร้อมด้วยพระบิดาพระมารดาและพี่น้องในวังทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปนามว่าพระเจ้าไกรสรเพื่อค้ำชูพระศาสนา โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน |
ชม. 108 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, 98 วัดพันเตา, ชม. 108 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, 98 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, ชม. 108, 98 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, ชม. 108, 98 วัดพันเตา, จุลศักราช 1229, พุทธศักราช 2410, จุลศักราช 1229, พุทธศักราช 2410, จ.ศ. 1229, พ.ศ. 2410, จ.ศ. 1229, พ.ศ. 2410, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าเสมิรา, พระบิดา, พระมารดา, พี่น้อง, พระพุทธเจ้าไกรสร, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ |
พิพิธภัณฑ์หอคำ ภายในวัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2410 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1621?lang=th |
109 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 1 |
ธรรมล้านนา |
ระบุศักราชที่สร้างพระพุทธรูปคือ จุลศักราช 859 |
ชม. 84 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 1, 14 วัดพันเตา, ชม. 84 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 1, 14 วัดพันเตา, จุลศักราช 859, พุทธศักราช 2040, จุลศักราชโ 859, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พญาแก้ว, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2040, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดพันเตา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพันเตา เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2040 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1491?lang=th |
110 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกแต้ม |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2475 พระอภัยสารทนพีสีบุราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พระครูวิเชียรปัญญา พระขัตติยะ เจ้าอาวาสวัดพวกแต้ม ขุนบริบาลและผู้มีศรัทธาทั้งหลาย ร่วมกันหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น ตอนท้ายระบุนามช่างที่ทำการหล่อ รวมถึงนามผู้สร้างวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปคือ นางบัวชำ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกแต้ม, ชม. 133, 231 วัดพวกแต้ม, ชม.133, 231 วัดพวกแต้ม, พุทธศักราช 2475, พุทธศักราช 2475, พ.ศ. 2475, พ.ศ. 2475, จุลศักราช 1294, จุลศักราช 1294, จ.ศ. 1294, จ.ศ. 1294, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปไสยาสน์, ล้านนา, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐราชวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นางบัวชำ, อ้ายใหม่, อ้ายป้อม, อ้ายเมือง, พระขัตติยะ, พระครูปลัดมหาเถรานุวัตร, พระอภัยทนพีสีบุราจารย์, เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่, พระครูโพธิรังสี, รองเจ้าคณะเจ้าหวัด, ขุนบริบาล, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2475, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดพวกแต้ม, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ชื่อเฉพาะ, พระอภัยสารทนพีสีบุราจารย์, เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ |
ด้านหน้าเจดีย์ภายในวัดพวกแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2475 |
สันสกฤต,บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1649?lang=th |
111 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกหงส์ |
ฝักขาม |
เนื้อความระบุปีที่สร้าง ชื่อผู้สร้าง และน้ำหนักพระพุทธรูป |
ชม. 79 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกหงส์, 9 วัดพวกหงส์, ชม. 79 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกหงส์, 9 วัดพวกหงส์, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, จ.ศ. 855, จุลศักราช 855, จ.ศ. 855, จุลศักราช 855, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพวกหงส์, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อครูพระเป็นเจ้า, เจ้าหมื่นหมอจัน, ประธาน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีก่าเป้า, ปีกาเป้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2036, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพวกหงส์ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อครูเป็นเจ้า, บุคคล-พ่อหมื่นหมอจันทร์ |
วัดพวกหงส์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2036 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1514?lang=th |
112 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 3 |
ฝักขาม |
เนื้อความระบุปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ พ.ศ. 2037 |
ชม. 81 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 3, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, ชม. 81 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 3, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, 11 วัดพระเจ้าเม็งราย, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระเจ้าเม็งราย, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2037, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2037 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1518?lang=th |
113 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 2 |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2024 ทิดพรหมอาจารย์ และนายยี่เขียงน้อย ร่วมกันเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
ชม. 75 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 2, 5 วัดพระเจ้าเม็งราย, ชม. 75 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 2, 5 วัดพระเจ้าเม็งราย, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, จ.ศ. 843, จุลศักราช 843, จ.ศ. 843, จุลศักราช 843, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระเจ้าเม็งราย, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ทิดพรหมอาจารย์, นายยี่เขียงน้อย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, มาสเกณฑ์, หรคุณ, วันร้วงเม็ด, วันรวงเม็ด, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิดพรหมอาจารย์, บุคคล-นายยี่เขียงน้อย |
วัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2024 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1510?lang=th |
114 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1 |
ธรรมล้านนา |
ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราช โปรดให้สร้างพระพุทธสิหิงค์องค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่บูชาแก่คนทั้งหลาย ตอนท้ายมีการระบุถึงน้ำหนักของพระพุทธรูป |
ชม. 72 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, ชม. 72 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, ชม. 72, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระเจ้าเม็งราย 1, ชม. 72, 2 วัดพระเจ้าเม็งราย, จุลศักราช 831, พุทธศักราช 2012, จุลศักราช 831, พุทธศักราช 2012, จ.ศ. 831, พ.ศ. 2012, จ.ศ. 831, พ.ศ. 2012, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระพุทธสิหิงค์, ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราช, นิพพาน, ส่วนบุญ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2012, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2012, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ศรีสัทธรรมไตรโลกรัตนจุฬามหาสังฆราช |
ภายในวิหารวัดพระเจ้าเม็งราย ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2012 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1696?lang=th |
115 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระสิงห์ (พระเจ้าทองทิพย์) |
ธรรมล้านนา |
ระบุน้ำหนักขององค์พระและวันเดือนปีที่สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ คือ วันเพ็ญ เดือน 6 จุลศักราช 839 |
ชม. 74 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระสิงห์ (พระเจ้าทองทิพย์), 4 วัดพระสิงห์, ชม. 74 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระสิงห์ (พระเจ้าทองทิพย์), 4 วัดพระสิงห์, จุลศักราช 839, พุทธศักราช 2020, จุลศักราช 839, พุทธศักราช 2020, จ.ศ. 839, พ.ศ. 2020, จ.ศ. 839, พ.ศ. 2020, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2020, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2020 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1479?lang=th |
116 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุพนม 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกระบุปีศักราชที่จารึก คือ จ.ศ. 865 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2046 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุพนม 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุพนม 1, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปประธานในอุโบสถ, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดธาตุพนม, ไทย, ล้านช้าง, พุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนสำริด, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวิชุลละราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
ฐานพระพุทธรูปประธานในอุโบสถ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2046 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2219?lang=th |
117 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3 |
ธรรมอีสาน |
พ่อออกราชามาศพร้อมด้วยลูกหลาน ญาติพี่น้อง ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3ศักราช: พ.ศ. 2388, พุทธศักราช 2388, พ.ศ. 2388, พุทธศักราช 2388วัตถุจารึก: หินลักษณะวัตถุ: ฐานพระพุทธรูปสถานที่พบ: โบสถ์วัดพระธาตุดอนตาลบ้านชีทวน, ตำบลชีทวน, อำเภอเขื่องใน, จังหวัดอุบลราชธานีอาณาจักร: ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์เทพเจ้า: พระยาอินทร์, พระยาพรหม, ยมภิบาล, จตุโลกบาลทั้งสี่, นางธรณี, อิศวร, ครุฑ, นาค, อากาศา, เมฆขลา, เมขลา, เทพา, มนุษย์, พี่น้องบุคคล: พ่อออกราชามาศ, บุตร, นัดดา, คณาญาติวงศ์วานศาสนา: พุทธศาสนาพิธีกรรม: สร้างพระพุทธรูปหิน, สร้างพระพุทธรูปไม้จันทน์อื่นๆ: พุทธภูมิ, กุศล, นิพพานปัจจโยโหตุ, ปรโลก |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2388 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2509?lang=th |
118 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 2 |
ธรรมอีสาน |
หัวครูศรีสุมนต์ พร้อมด้วยญาติโยม ได้พร้อมใจกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 2, พ.ศ. 2409, พุทธศักราช 2409, พ.ศ. 2409, พุทธศักราช 2409, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, โบสถ์วัดพระธาตุดอนตาลบ้านชีทวน, ตำบลชีทวน, อำเภอเขื่องใน, จังหวัดอุบลราชธานี, วัดพระธาตุสวนตาล, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, หัวครูศรีสุนนท์, ราชาคณะ, ลูกเต้า, ศิษย์โยม, อุบาสก, อุบาสิกา, หัวครูจันดี, ทอง, บ้านชีทวน, บ้านโคนเมืองหมากทัน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ยามกลองแลง, วันศุกร์, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุดอนตาล อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หัวครูศรีสุมนต์, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2409 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2511?lang=th |
119 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกชื่อผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ คือ พระมหาธรรมเทโวเจ้า |
อบ. 24, อบ. 24, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 1, จารึกฐานพระพุทธพระมหาธัมมเทโวเจ้า, พ.ศ. 2325, พุทธศักราช 2325, พ.ศ. 2325, พุทธศักราช 2325, จ.ศ. 1144, จุลศักราช 1144, จ.ศ. 1144, จุลศักราช 1144, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, พระอุโบสถวัดพระธาตุดอนตาล, บ้านชีทวน, ตำบลชีทวน, อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, กรุงธนบุรี, พระมหาธรรมเทโวเจ้า, เจ้าขนาน, คำมลุน, ทอง, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูป, สร้างพระพุทธรูป, ปีเต่ายี่, วันอาทิตย์, ยามกลองแลง, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2325, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระเจ้าองค์หลวงไชยกุมาร, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุสวนตาล อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาธรรมเทโวเจ้า |
ในกุฏิเจ้าอาวาส วัดพระธาตุสวนตาล (ข้อมูลเดิมว่า อยู่ในพระอุโบสถวัดพระธาตุดอนตาล) บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2325 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2507?lang=th |
120 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผาบ่อง |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุ จ.ศ. 897 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2078 อันเป็นสมัยที่พระเมืองเกษเกล้าปกครองเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ. 2068-2081) (ช่วงครองราชย์ครั้งที่ 1) |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผาบ่อง, ชม. 89, ชม. 89, 20 วัดผาบ่อง, 20 วัดผาบ่อง, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดผาบ่อง, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: มหาเถรญาณตะนะเจ้า, นักบุญ, แม่เจ้าห้าสีบแก้ว, เจ้านายยาบัณฑิต, เงิน, พุทธศาสนา, วัดมงคลอารามขี้เหล็ก, การประดิษฐานพระพุทธรูป, ปีมะแม, ปีดับเม็ด, เดือนสาวนะ, เพ็ญ, มอญ, วันจันทร์, วันกาบไจ้, อายุ-จารึก พ.ศ. 2078, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดผาบ่อง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาเถรญาณตะนะเจ้า |
วัดผาบ่อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2078 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1526?lang=th |
121 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผ้าขาว |
ธรรมล้านนา |
คาถาย่ออริยสัจ 4 ภาษาบาลี ตอนท้ายระบุจุลศักราช 835 (พ.ศ. 2016) |
ชม. 73 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผ้าขาว 1, 3 วัดผ้าขาว, ชม. 73 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดผ้าขาว 1, 3 วัดผ้าขาว, จุลศักราช 835, พุทธศักราช 2016, จุลศักราช 835, พุทธศักราช 2016, จ.ศ. 835, พ.ศ. 2016, จ.ศ. 835, พ.ศ. 2016, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, อริยสัจ 4, คาถาย่อ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2016, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดผ้าขาว, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, |
ภายในวิหารวัดผ้าขาว ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2016 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1719?lang=th |
122 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 3 |
ธรรมอีสาน |
พระมหาราชครูธรรมคุต วัดป่ามณีโชติศรีสวัสดิ์สัสดี (ชื่อเดิมวัดป่าใหญ่) ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เมื่อปี พ.ศ. 2374 |
อบ. 20, อบ. 20, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 5, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 3, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 3, พ.ศ. 2374, พุทธศักราช 2374, พ.ศ. 2374, พุทธศักราช 2374, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปอินทร์แปง, วิหารอินทร์แปง, วัดป่าใหญ่, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, พระมหาราชครูธรรมคุต, พุทธศาสนา, วัดป่ามณีโชติ, สร้างพระพุทธรูป, ปีเถาะ, ตรีศก, เหมันตฤดู, นิพพานปัจจโยโหตุ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2374, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-เจ้าฮุย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาราชครูธรรมคุต |
อยู่ทางด้านขวาของพระพุทธรูปอินทร์แปลง ในวิหารอินทร์แปลง วัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2374 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2505?lang=th |
123 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 2 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึง วัน เดือน ปี ที่สร้างและนามของผู้สร้าง คือ ท่านเจ้าครูศรีวิลาส |
อบ. 17, อบ. 17, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 4, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 5, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 5, พ.ศ. 2372, พุทธศักราช 2372, พ.ศ. 2372, พุทธศักราช 2372, จ.ศ. 1191, จุลศักราช 1191, จ.ศ. 1191, จุลศักราช 1191, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดป่าใหญ่, วัดมหาวนาราม, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, ท่านเจ้าครูศรีวิลาส, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีเป้า, นิพพานปัจจโยโหตุ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2372, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-เจ้าฮุย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท่านเจ้าครูศรีวิลาส |
ในวิหารวัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2372 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2503?lang=th |
124 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 1 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึง วัน เดือน ปี ที่สร้างพระพุทธรูปนี้ และบอกชื่อผู้สร้าง คือ มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา ซึ่งเป็นองค์เดียวกันกับที่สร้าง พระเจ้าอินแปง |
อบ. 16, อบ. 16, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 1, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 4, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 4, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, หิน, ฐานพระพุทธรูป, พระอุโบสถวัดป่าใหญ่, วัดมหาวนาราม, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, ล้านช้าง,มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, พุทธศาสนา, สร้างพระศิลามุจลินทร์, สร้างพระพุทธรูป, ปีรวายยี่, มื้อเมิงเม้า, สัพพัญญุตญาณ, ปัจจโยโหตุ, คน, เทวดา, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2349, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (พระเจ้าอนุวงศ์), วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2349, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา |
ในพระอุโบสถวัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2349 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2501?lang=th |
125 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าเป้า |
ฝักขาม |
เนื้อความระบุปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ พ.ศ. 2030 |
ชม. 77 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าเป้า 1, 7 วัดป่าเป้า, ชม. 77 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าเป้า 1, 7 วัดป่าเป้า, พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัดป่าเป้า, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2030, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าเป้า เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดป่าเป้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2030 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1512?lang=th |
126 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าพร้าวใน |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2062 สมเด็จวัดสวนดอกบุปผาราม (เจ้าอาวาส) ได้ชักชวนผู้คนทั้งหลายให้ร่วมกันหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าพร้าวใน 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าพร้าวใน 1, ชม. 88, ชม. 88, 19 วัดป่าพร้าวใน, 19 วัดป่าพร้าวใน, พ.ศ. 2062, พุทธศักราช 2062, พ.ศ. 2062, พุทธศักราช 2062, จ.ศ. 881, จุลศักราช 881, จ.ศ. 881, จุลศักราช 881, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดป่าพร้าวใน, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าอาวาสสมเด็จวัดสวนดอกบุปผาราม, อธิบดีมหาลรยบัณฑิต, ข้าวัด, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, การประดิษฐานพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, ปีกัดเหม้า, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระอังคาร, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, พระเสาร์, พระราหู, ราศีมีน, ราศีกรกฏ, ราศีกุมภ์, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, ราศีพฤษภถ, ราศีเมถุน, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2062, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าพร้าวใน เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สมเด็จวัดสวนดอกบุปผาราม |
วัดป่าพร้าวใน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2062 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1524?lang=th |
127 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางหมอปวง |
ธรรมล้านนา |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปของบุคคลชื่อ นาคเสน นางแสนโฆสาผู้เป็นภรรยา และนักบุญทั้งหลาย เมื่อ พ.ศ. 2155 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางหมอปวง, พุทธศักราช 2155, พุทธศักราช 2155, พ.ศ. 2155, พ.ศ. 2155, วัดปางหมอปวง ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย, ปลีเต่าไจ้, ปีเต่าไจ้, มหาสามีนาคเสน, นางแสนโฆสา, ฐานพระพุทธรูปสำริด, ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, อัญชลี สินธุสอน, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2155, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระชัยทิพ, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระช้อย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดปางหมอปวง เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาสามีนาคเสนเจ้า, บุคคล-นางแสนโฆสา |
วัดปางหมอปวง ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2155 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19122?lang=th |
128 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปราสาท |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 952 พระยาหลวงเจ้านามว่าแสนคำ สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เจ้าหมื่นทองมีความปรารถนา ให้ตนได้บวชในสำนักพระอริยเมไตรย ขอให้ได้เป็นพระอรหันต์ เหมือนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปราสาท, ชม. 91, 23 วัดปราสาท, ชม. 91, 23 วัดปราสาท, จุลศักราช 952, พุทธศักราช 2133, จุลศักราช 952, พุทธศักราช 2133, จ.ศ. 952, พ.ศ. 2133, จ.ศ. 952, พ.ศ. 2133, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดปราสาท ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, สาวถีนรตรามังซอศรีมังนรธาช่อ, ขุนนางพม่า, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระยาหลวงเจ้านามว่าแสคำ, เจ้าหมื่นทอง, โมคคัลลานะ, สารีบุตร, พระศรีอารย์, เมไตรย, อาริยเมตตรัย, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2133, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดปราสาท, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
ภายในวิหารวัดปราสาท ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2133 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1584?lang=th |
129 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบุ้ง |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2354 ธุยาวิลาส (พระยาวิลาส) พร้อมด้วยมารดา พี่ชายและญาติพี่น้อง ได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบุ้ง, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดบุ้ง (นน. 2075) จ.ศ. 1173 (พ.ศ. 2354), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดบุ้ง (นน. 2075) จ.ศ. 1173 (พ.ศ. 2354), วัดบุ้ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรต, จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบุ้ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ธุยาวิลาส |
วัดบุ้ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14888?lang=th |
130 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบ้านแวง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี และบอกว่าหัวครูนริศวงศาส่องแจ้ง เป็นผู้จารึกไว้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบ้านแวง, พ.ศ. 2361, พุทธศักราช 2361, พ.ศ. 2361, พุทธศักราช 2361, จ.ศ. 1180, จุลศักราช 1180, จ.ศ. 1180, จุลศักราช 1180, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ปางนาคปรก, ฐานพระหลวงพ่อนาค, ในอุโบสถวัดบ้านแวง, (วัดโพธิ์ชัย), ตำบลบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, หัวครูนริศวงศาส่องแจ้ง, พุทธศาสนา, ปีเปิกยี่, มื้อฮับไส้, กลองแลง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2361 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (พระเจ้าอนุวงศ์), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบ้านแวง อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-หัวครูนริศวงศาส่องแจ้ง |
ฐานพระหลวงพ่อนาค ในอุโบสถวัดบ้านแวง (วัดโพธิ์ชัยศรี) ตำบลบ้านผือ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2361 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2487?lang=th |
131 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง |
ธรรมล้านนา |
น้อยสุทธะพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง 1 (นน. 2116) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง 1 (นน. 2116) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดบง ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยสุทธะ |
วัดบง ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15047?lang=th |
132 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 4 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2338 ขนานพลและครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 5 (นน. 2115) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 5 (นน. 2115) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2338, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานพล |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2338 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15045?lang=th |
133 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 3 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2337 ธุขนานยาวิไชยพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 4 (นน. 2114) จ.ศ. 1156 (พ.ศ. 2337), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 4 (นน. 2114) จ.ศ. 1156 (พ.ศ. 2337), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2337, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ธุขนานวิไชย |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2337 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15042?lang=th |
134 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2347 นางคำผังและครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 3 (นน. 2113) จ.ศ. 1166 (พ.ศ. 2347), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 3 (นน. 2113) จ.ศ. 1166 (พ.ศ. 2347), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2347, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางคำผัง |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2347 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15039?lang=th |
135 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 1 |
ธรรมล้านนา |
เนื่องจากจารึกมีสภาพไม่สมบูรณ์จึงไม่ทราบชื่อผู้สร้าง ทราบแต่เพียงว่าพระพุทธรูปสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2343 เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 2 (นน. 2112) จ.ศ. 1162 (พ.ศ. 2343), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 2 (นน. 2112) จ.ศ. 1162 (พ.ศ. 2343), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2343, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2343 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14981?lang=th |
136 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2447 ศรัทธาผู้ไม่ระบุชื่อพร้อมภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 2 (นน. 2125) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 2 (นน. 2125) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาแดง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15080?lang=th |
137 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2447 น้อยคันธาพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 1 (นน. 2124) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 1 (นน. 2124) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาแดง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคันธา |
วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15077?lang=th |
138 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาหลวง |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2336 พระขนานปัญญาพร้อมด้วยพระลูกศิษย์ทุกรูป ร่วมกับศรัทธาฝ่ายฆราวาส ได้แก่ เจ้านาซ้าย โยมมารดาและโยมบิดาของพระขนานปัญญา คือ หมื่นทักขิณะได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาหลวง, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาหลวง 2 (นน. 22) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาหลวง 2 (นน. 22) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), วัดนาหลวง ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาหลวง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้านาซ้าย, บุคคล-พระขนานปัญญา, บุคคล-หมื่นทักขิณะ |
วัดนาหลวง ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14885?lang=th |
139 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 18 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2335 พ่อขนานคุณาพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 18, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 18, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 21 (นน. 2072) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 21 (นน. 2072) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335)), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2335, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อขนานคุณา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2335 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14837?lang=th |
140 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 17 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2449 พ่อเฒ่านวลพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 17, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 17, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 20 (นน. 2071) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 20 (นน. 2071) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2449, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเฒ่านวล |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2449 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14835?lang=th |
141 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 16 |
ธรรมล้านนา |
น้อยอุปนันท์พร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนา 5,000 ปี และขอผลานิสงส์ที่ได้จงช่วยค้ำชูพวกตนทั้งชาตินี้และชาติหน้า จนกว่าจะได้บรรลุพระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 16, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 16, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 19 (นน. 2070) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 19 (นน. 2070) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-น้อยอุปนันท์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14833?lang=th |
142 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 15 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2335 ขนานไชยเสนพร้อมด้วยพี่น้องและบุตรหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปชิน 1 องค์และพระพุทธรูปเงิน 2 องค์ ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา ปรารถนาเอาสุข 3 ประการมีพระนิพพานเป็นที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 15, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 15, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 18 (นน. 2069) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2335), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 18 (นน. 2069) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2335), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2335, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานไชยเสน |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2335 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14831?lang=th |
143 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 14 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2360 ขนานอุปละได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 14, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 14, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 17 (นน. 2068) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 17 (นน. 2068) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานอุปละ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14829?lang=th |
144 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 13 |
ธรรมล้านนา |
ผู้ชื่ออินถาพร้อมด้วยน้องและบุตรหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 13, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 13, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 16 (นน. 2067) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 16 (นน. 2067) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อินถา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14827?lang=th |
145 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 12 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 แสนอภิชัยพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้บูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 12, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 12, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 15 (นน. 2066) จ.ศ.1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 15 (นน. 2066) จ.ศ.1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอภิชัย |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14825?lang=th |
146 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 11 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2446 แม่เฒ่าปองพร้อมด้วยบุตรและญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้และนำเข้าบรรพชาในวันเพ็ญเดือน 6 เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 11, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 11, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 14 (นน. 2065) จ.ศ. 1265 (พ.ศ. 2446), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 14 (นน. 2065) จ.ศ. 1265 (พ.ศ. 2446), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2446, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่เฒ่าปอง |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2446 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14823?lang=th |
147 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 10 |
ธรรมล้านนา |
พรหมจักรรัสสภิกขุพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปสังกัจจายนะไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 10, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 10, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 13 (นน. 2064) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 13 (นน. 2064) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปพระสังกัจจจาย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พรหมจักรรัสสภิกขุ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14821?lang=th |
148 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 9 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2449 แม่เฒ่าหลวงคำยองพร้อมด้วยบุตรและญาติ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 9, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 12 (นน. 2063) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 12 (นน. 2063) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2449, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่เฒ่าหลวงคำยอง |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2449 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14819?lang=th |
149 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 8 |
ธรรมล้านนา |
ขนานนันท์ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 8, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 8, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 11 (นน. 2062) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 11 (นน. 2062) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานนันท์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14817?lang=th |
150 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 7 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ.2415 ปู่เรือนพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อกราบไหว้บูชาตราบ 5,000 ปี โดยมีเขยมุดเป็นผู้จารตัวอักษรที่ฐาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 10 (นน. 2061) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 10 (นน. 2061) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปู่เรือน |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14815?lang=th |
151 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 6 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2467 พ่อเมืองหนานตาพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 6, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 9 (นน. 2060) จ.ศ. 1286 (พ.ศ. 2467), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 9 (นน. 2060) จ.ศ. 1286 (พ.ศ. 2467), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2467, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเมืองหนานตา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2467 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14813?lang=th |
152 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 หมื่นพิชชกาพร้อมด้วยบุตรและพี่น้องทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้บูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 8 (นน. 2059) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 8 (นน. 2059) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นพิชชกา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14811?lang=th |
153 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 4 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 แสนคันธวงศ์พร้อมด้วยภรรยาและบุตรธิดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 7 (นน. 2058) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 7 (นน. 2058) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนคันธวงศ์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14809?lang=th |
154 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 ทุหลวง (เจ้าอาวาส) ชื่อยาวิไชยได้สลักพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อค้ำชูศาสนาตราบ 5,000 ปี พร้อมทั้งอุทิศกุศลผลบุญที่ตนได้กระทำให้แก่บิดามารดาและญาติพี่น้องทุกคน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 6 (นน. 2057) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 6 (นน. 2057) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทุหลวงยาวิไชย |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14807?lang=th |
155 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2447 แม่ป้าคำหน้อยพร้อมครอบครัวได้สร้างพระ พุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 3 (นน. 2054) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 3 (นน. 2054) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่ป้าคำหน้อย |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14801?lang=th |
156 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 1 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2385 หมื่นไชยสิทธิพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 2 (นน. 2073) จ.ศ. 1204 (พ.ศ. 2385), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 2 (นน. 2073) จ.ศ. 1204 (พ.ศ. 2385), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2385, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นไชยสิทธิ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2385 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14782?lang=th |
157 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 5 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2434 แสนหลวงขันธสีมาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 5, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 5 (นน. 2051) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 5 (นน. 2051) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2434, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนหลวงขันธสีมา |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2434 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14776?lang=th |
158 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 4 |
ธรรมล้านนา |
แสนอินทปัญญาพร้อมด้วยครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปไม้จันทน์องค์นี้ไว้ให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 4 (นน. 2050) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 4 (นน. 2050) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอินทปัญญา |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13684?lang=th |
159 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2258 ท้าวสิทธิได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ด้วยปรารถนาจะไปเกิดเป็นพระอรหันต์ในยุคพระศรีอาริยเมตไตรย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 3 (นน. 2049) จ.ศ. 1077 (พ.ศ. 2258), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 3 (นน. 2340) จ.ศ. 1077 (พ.ศ. 2258), วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2258, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-มังแรนร่า, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ท้าวสิทธิ |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2258 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13647?lang=th |
160 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2360 ขนานสุปินะพร้อมด้วยบุตรภรรยาได้สร้างและถวายพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 2 (นน. 2048) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 2 (นน. 2048) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), 1.7.2.2 วัดนาน้อย พ.ศ. 2360, 1.7.2.2 วัดนาน้อย พ.ศ. 2360, วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 5 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ น่าน และจารึกเมืองน่านที่น่าสนใจ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา (เจ้าเชียงใหม่ช้างเผือก), วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ขนานสุปินะ |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13633?lang=th |
161 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 1 (พระเจ้าทองทิพย์) |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2336 เจ้าฟ้าอัทธวรปัญโญพร้อมด้วยพระญาติ หมื่นศรีสรรพช่าง (ช่างออกแบบหล่อ) และอาจารย์อุ่น (ผู้จารึก) ได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ และอธิษฐานขอให้ได้พบกับพระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 1 (พระเจ้าทองทิพย์), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 1 (พระเจ้าทองทิพย์), จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์ วัดนาน้อย 1 (นน. 2047) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์ วัดนาน้อย 1 (นน. 2047) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), 1.7.3.1 วัดนาน้อย พ.ศ. 2336, 1.7.3.1 วัดนาน้อย พ.ศ. 2336, วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 5 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ น่าน และจารึกเมืองน่านที่น่าสนใจ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-หมื่นศรีสรรพช่าง, บุคคล-อาจารย์อุ่น |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13472?lang=th |
162 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู |
ฝักขาม |
เนื้อความระบุปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ พ.ศ. 2037 |
ชม. 80 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, 10 วัดทุงยู, ชม. 80 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, 80 วัดทุงยู, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, ชม. 80, ชม. 80, 10 วัดทุงยู, 10 วัดทุงยู, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, พ.ศ. 2037, พุทธศักราช 2037, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, จ.ศ. 856, จุลศักราช 856, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดทุงยู, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2037, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทุงยู เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดทุงยู ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2037 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1516?lang=th |
163 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 7 |
ธรรมล้านนา |
นางไส สิทธิขันธ์ ถวายพระพุทธรูปองค์นี้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 7, ชม. 140, ชม. 140, 245 วัดทรายมูลเมือง, 245 วัดทรายมูลเมือง, พ.ศ. 2512, พ.ศ. 2512, พุทธศักราช 2512, พุทธศักราช 2512, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 9, รัชกาลที่ 9, พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุยเดช, จารึกสมัยหลังตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม ศาสนาพุทธ, แม่ทิม พุทธดิลก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2512, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 26, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทรายมูลเมือง, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางไส สิทธิขันธ์ |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2512 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1485?lang=th |
164 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 6 |
ธรรมล้านนา |
แม่ทิม พุทธดิลก ถวายพระพุทธรูปองค์นี้ไว้แด่วัดทรายมูล เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2497 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 6, ชม. 138, ชม. 138, 242 วัดทรายมูลเมือง, 242 วัดทรายมูลเมือง, พ.ศ. 2497, พ.ศ. 2497, พุทธศักราช 2497, พุทธศักราช 2497, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 9, รัชกาลที่ 9, พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุยเดช, จารึกสมัยหลังตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม ศาสนาพุทธ, แม่ทิม พุทธดิลก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2497, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางถวายเนตร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทรายมูลเมือง, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่ทิม พุทธดิลก |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2497 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1600?lang=th |
165 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 5 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายสุขและนางออนถวายพระพุทธรูปเป็นทานในการฉลองวิหารวัดทรายมูลเมืองเมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 พ.ศ. 2479 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 5, ชม. 136, 237 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 5, ชม. 136, 237 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2479, พุทธศักราช 2479, พ.ศ. 2479, พ.ศ. 2479, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ล้านนา, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐราชวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, อ้ายสุข, นางออน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2479, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2479 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1598?lang=th |
166 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4 |
ธรรมล้านนา |
ระบุนามผู้สร้างคือ แม่ขอดแก้ว และวันเดือนปีที่สร้างคือ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 พ.ศ. 2466 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4, ชม. 128, 208 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4, ชม. 128, 208 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4, ชม. 128, 208 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พ.ศ. 2466, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางห้ามพระแก่นจันทน์, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, แม่ขอดแก้ว, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2466, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1483?lang=th |
167 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3 |
ธรรมล้านนา |
ระบุนามผู้สร้างคือ แม่ขอดแก้ว และวันเดือนปีที่สร้างคือ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 พ.ศ. 2466 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม. 127, 207 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม. 127, 207 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พ.ศ. 2466, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางห้ามพระแก่นจันทน์, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, แม่ขอดแก้ว, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2466, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1481?lang=th |
168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 2 |
ธรรมล้านนา |
แม่ขอดแก้วสร้างพระพุทธรูปเมื่อ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 พ.ศ. 2466 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 2, ชม. 126, 206 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 2, ชม. 126, 206 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พ.ศ. 2466, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, แม่ขอดแก้ว, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2466, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1596?lang=th |
169 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1249 พระสงฆ์นามว่ากรุณาพร้อมทั้งพ่อแม่พี่น้องและลูกศิษย์ทุกคน ร่วมกันสร้างพระพิมพ์ไว้ค้ำชูพุทธศาสนาตราบเท่า 5, 000 ปี ขอให้ได้สุข 3 ประการ มีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม. 114, 137 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม.114,137 วัดทรายมูลเมือง, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, โลหะ, เงิน, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา, อินทวิชยานนท์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, สาธุเจ้ากรุณา, เจ้าขูณา, นิพพาน, สุข 3 ประการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2430, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนแผ่นเงิน, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1591?lang=th |
170 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอนไชย |
ธรรมล้านนา |
ขนานชัยได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอนไชย, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดดอนไชย 2 (นน. 2045) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดดอนไชย 2 (นน. 2045) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอนไชย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานชัย |
วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13438?lang=th |
171 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 2 |
ธรรมล้านนา |
นางเกียงคำ ไชยคำเมาและลูก ถวายทานในงานฉลองพระวิหารวัดดอกเอื้องเมื่อวันที่ 18 เดือน 3 พ.ศ. 2475 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 2, ชม. 134, 233 วัดดอกเอื้อง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 2, ชม. 134, 233 วัดดอกเอื้อง, พุทธศักราช 2475, จุลศักราช 1294, พุทธศักราช 2475, จุลศักราช 1294, พ.ศ. 2475, จ.ศ. 1294, พ.ศ. 2475, จ.ศ.1294, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางรำพึง, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, งานฉลองพระวิหาร, ถวายทาน, พระวิหาร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2475, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกดอกเอื้อง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดดอกเอื้อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2475 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1634?lang=th |
172 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1267 ภิกษุบุญปันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูศาสนา โดยขอให้ตนได้ถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 1, ชม. 122, 173 วัดดอกเอื้อง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 1, ชม. 122, 173 วัดดอกเอื้องศั, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2448, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2448, ปีดับไส้, ปีมะเส็ง สัปตศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์, เจ้าเจ็ดตน, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุบุญปัน, ธุบุญปัน, ตุ๊บุญปัน, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2448, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกดอกเอื้อง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดดอกเอื้อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2448 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1582?lang=th |
173 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 7 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1254 อภิชัยทิพพรหมภิกขุ, ลูกศิษย์, นางอุสา, นางคำทองและลูกทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปด้วยมุกข้าวชีวิต |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 7, ชม. 117, 143 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 7, ชม. 117, 143 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1254, พุทธศักราช 2435, จุลศักราช 1254, พุทธศักราช 2435, จ.ศ. 1254, พ.ศ. 2435, จ.ศ. 1254, พ.ศ. 2435, มุกข้าวชีวิต, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, เจ้าหลวงตาขาว, เจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูปบุคคล : อภิชัยทิพพรหมภิกขุ, ลูกศิษย์, นางอุสา, นางคำทองและลูกทุกคนอื่นๆ : นิพพาน, ทาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2435, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนมุกข้าวชีวิต, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิชัยทิพพรหมภิกขุ, บุคคล-นางอุสา, บุคคล-นางคำทอง |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่ปรากฏพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดดอกคำ |
พุทธศักราช 2435 |
บาลี,เขมร,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1669?lang=th |
174 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1253 หนานโพธา นางคำทิพย์และลูกหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปไม้กุ่มเพื่อค้ำชูศาสนา และขอให้ผลบุญนำไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6, ชม. 116, 142 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6, ชม. 116, 142 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1253, พุทธศักราช 2434, จุลศักราช 1253, พุทธศักราช 2434, จ.ศ. 1253, พ.ศ. 2434, พ.ศ. 1253, พ.ศ. 2434, ไม้กุ่ม, ฐานพระพุทธรูป, วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, เจ้าหลวงตาขาว, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2434, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2434, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานโพธา, บุคคล-นางคำทิพย์ |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2434 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1495?lang=th |
175 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 5 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1209 นางแดงและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
ชื่อจารึก : จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 5, ชม. 105, 78 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 5, ชม. 105, 78 วัดดอกคำศักราช : จุลศักราช 1209, พุทธศักราช 2390, จุลศักราช 1209, พุทธศักราช 2390, จ.ศ. 1209, พ.ศ. 2390, จ.ศ.1209, พ.ศ. 2390วัตถุจารึก : มุกลักษณะวัตถุ : ฐานพระพุทธรูปสถานที่พบ : วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่รัชกาล : พระเจ้ามโหตรประเทศ, พระยามหาวงศ์ราชวงศ์ : เจ้าเจ็ดตนอาณาจักร : ล้านนา ศาสนา : พุทธเหตุการณ์สำคัญ : การสร้างพระพุทธรูปบุคคล : นางแดงและลูกทุกคน,จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2390, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนมุก, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2390, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนมุกข้าวชีวิต, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางแดง |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2390 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1630?lang=th |
176 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 4 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1176 เจ้าแสนเมืองมาและครอบครัว ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยไม้แก่นจันทน์ เพื่อเป็นที่บูชาแก่มนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ตอนท้ายขอให้ตนได้สมปรารถนา และขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการ อันมีนิพพานเป็นยอด |
ชื่อจารึก : จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 4, ชม. 97, 50 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 4, ชม. 97, 50 วัดดอกคำศักราช : จุลศักราช 1176, พุทธศักราช 2357, จุลศักราช 1176, พุทธศักราช 2357, จ.ศ. 1176, พ.ศ. 2357, จ.ศ. 1176, พ.ศ. 2357 วัตถุจารึก : ไม้จันทน์ลักษณะวัตถุ : ฐานพระพุทธรูปไม้ปางเปิดโลก อาณาจักร : ล้านนา ศาสนา : พุทธเหตุการณ์สำคัญ : การสร้างพระพุทธรูปบุคคล : แสนเมืองมาอื่นๆ : ไม้แก่นจันทน์, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2357, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้จันทน์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าแสนเมืองมา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2357, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางเปิดโลก, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าแสนเมืองมา |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2357 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1655?lang=th |
177 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1173 น้อยคันธิ, นางดีและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปเจ้าดอกไม้หอมองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา รวมทั้งเป็นที่สักการะแก่คนและเทวดา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 3, ชม. 96, 34 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 3, ชม. 96, 34 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1173, พุทธศักราช 2354, จุลศักราช 1173, พุทธศักราช 2354, จ.ศ. 1173, พ.ศ. 2354, จ.ศ. 1173, พ.ศ. 2354, ไม้, ฐานพระพุทธรูปมุกดอกไม้ปางมารวิชัย, พระเจ้ากาวิละ, เจ้าเจ็ดตนอาณาจักรล้านนา ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, น้อยคันธิ, นางดีและครอบครัว, มุกดอกไม้, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2354, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคันธิ, บุคคล-นางดี |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่พบพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดดอกคำ |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1580?lang=th |
178 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปู่ทิพย์และนางจ้อยผู้เป็นภรรยา รวมทั้งลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นไว้แด่วัดช่างดอกคำ โดยมีการทำพิธีพุทธาภิเษกในจุลศักราช 1163 โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพานในที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 2, ชม. 95, 28 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 2, ชม. 95, 28 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1163, พุทธศักราช 2344, จุลศักราช 1163, พุทธศักราช 2344, จ.ศ. 1163, พ.ศ. 2344, จ.ศ.1163, พ.ศ. 2344, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา,กาล, พระเจ้ากาวิละ, เจ้าเจ็ดตน ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ปู่ทิพย์, นางจ้อย, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2344, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2344, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ปู่ทิพย์, บุคคล-นางจ้อย |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2344 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1612?lang=th |
179 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1145 ท้าวบุญเรืองและครอบครัว ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 1, ชม. 93, 25 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 1, ชม. 93, 25 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1145, พุทธศักราช 2326, จุลศักราช 1145, พุทธศักราช 2326, จ.ศ. 1145, พ.ศ. 2326, จ.ศ.1145, พ.ศ. 2326, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดดอกคำ จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้ากาวิละ, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, ร.1, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, จักรี, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธ, ท้าวบุญเรืองและครอบครัว, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2326, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2326, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท้าวบุญเรือง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2326 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1458?lang=th |
180 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3 |
ธรรมล้านนา |
วันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 10 จุลศักราช 1218 ได้สร้างพระเจ้าชะตาเจ้ามหาพรหมองค์นี้ และทำการสมโภชในวันเดียวกัน |
ชม. 106 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3, 89 วัดดวงดี, ชม. 106 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3, 89 วัดดวงดี, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3, จุลศักราช 1218, พุทธศักราช 2399, จุลศักราช 1218, พุทธศักราช 2399, จ.ศ. 1218, พ.ศ. 2399, จ.ศ. 1218, พ.ศ. 2399, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระเจ้าชาตา, พระเจ้าชะตา, สมโภช, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2399, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดวงดี, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, |
วัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2399 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1453?lang=th |
181 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 2 |
ธรรมล้านนา |
เจ้าบุญทาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นในจุลศักราช 1184 |
ชม. 100 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 2, 60 วัดดวงดี, ชม. 100 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 2, 60 วัดดวงดี, จุลศักราช 1184, พุทธศักราช 2365, จุลศักราช 1148, พุทธศักราช 2365, จ.ศ. 1184, พ.ศ. 2365, จ.ศ.1148, พ.ศ. 2365, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดดวงดี จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 2, ร.2, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2365, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดวงดี เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าบุญทา |
วัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2365 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1451?lang=th |
182 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 1 |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่วัดต้นหมากเหนือเมื่อจุลศักราช 858 (พ.ศ. 2039) |
ชม. 83 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 1, 13 วัดดวงดี, ชม. 83 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 1, 13 วัดดวงดี, จุลศักราช 858, พุทธศักราช 2039, จุลศักราช 858, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, พ.ศ. 2039, จ.ศ. 858, พ.ศ. 2039, สำริด, สัมฤทธิ์, วัดดวงดี จังหวัดเชียงใหม่, ฐานพระพุทธรูป, พญาแก้ว, มังราย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, วัดต้นหมากเหนือ, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดวงดี เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป |
ภายในวิหารวัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1651?lang=th |
183 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 5 |
ธรรมล้านนา |
นายบุญชู และนางเทื่อมตา เผ่ามงคง (ล?) ถวายพระพุทธรูปองค์นี้ถวายเมื่อ พ.ศ. 2506 |
ชม. 139 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 5, 243 วัดช่างแต้ม, ชม. 139 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 5, 243 วัดช่างแต้ม, พ.ศ. 2506, พ.ศ. 2506, พุทธศักราช 2506, พุทธศักราช 2506, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 9, รัชกาลที่ 9, พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุยเดช, จารึกสมัยหลังตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม ศาสนาพุทธ, นายบุญชู, นางเทื่อมตา เผ่ามงคง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2506, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 26, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 9, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นายบุญชู เผ่ามงคง, บุคคล-นางเทื่อมตา เผ่ามงคง |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2506 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1608?lang=th |
184 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 4 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1266 เจ้าหนานอุ่นเมือง เจ้าบัวเที่ยง เจ้าหนานคำวงศาพร้อมทั้งอัครชายา โอรสธิดา และทาสชายหญิงทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นด้วยมุกเขี้ยวงาช้าง เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา โดยขอให้ตนได้สมความปรารถนา |
ชม. 120 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 4, 168 วัดช่างแต้ม, ชม. 120 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 4, 168 วัดช่างแต้ม, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จ.ศ. 1266, พ.ศ. 2447, จ.ศ. 1266, พ.ศ. 2447, ปีกาบสี, ปีมะเมีย ฉศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, ล้านนา, พุทธ, เจ้าหนานอุ่นเมืองเจ้าบัวเที่ยง เจ้าหนานคำวงศา พร้อมทั้งอัครชายา โอรสธิดา และทาสชายหญิง, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหนานอุ่นเมือง, บุคคล-เจ้าบัวเที่ยง, บุคคล-เจ้าหนานคำวงศา |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1499?lang=th |
185 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3 |
ธรรมล้านนา |
ระบุปีที่สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ คือ “ศักราช 1235 ตัว” ตรงกับ พ.ศ. 2416 |
ชม. 110 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3, 108 วัดช่างแต้ม, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3, ชม. 110, 108 วัดช่างแต้ม, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3, ชม. 110, 108 วัดช่างแต้ม จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, พ.ศ. 2416, จ.ศ.1235, พ.ศ. 2416, หินอ่อน, ฐานพระพุทธรูป, วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, จักรี, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1447?lang=th |
186 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1158 ภิกษุเทวินทร์และศิษย์ทุกคนรวมทั้งปู่ร้อยอ้ายและย่าใจ ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ในพุทธศาสนา โดยขอให้ได้ถึงแก่นิพพาน |
ชม. 94 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 2, 27 วัดช่างแต้ม, ชม. 94 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 2, 27 วัดช่างแต้ม, จุลศักราช 1158, พุทธศักราช 2339, จุลศักราช 1158, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, พ.ศ. 2339, จ.ศ. 1158, พ.ศ. 2339, ปีรวายสี, ปีมะโรง อัฏฐศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระยากาวิละ, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร. 1, ร. 1, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, จักรี, รัตนโกสินทร์, ล้านนา , ปู่ร้อยอ้าย, ย่าใจ, ธุเทวินทร์, ตุ๊เทวินทร์, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ปู่ร้อยอ้าย, บุคคล-ย่าใจ, บุคคล-เทวินทร์ภิกษุ |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1449?lang=th |
187 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 1 |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2038 พระมหาสารสิทธิเจ้าและนายโสมหมืนเขาร่วมกันเป็นประธานสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
ชม. 82 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 1, 12 วัดช่างแต้ม, ชม. 82 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 1, 12 วัดช่างแต้ม, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดช่างแต้ม, ตำบลพระสิงห์, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาสารสิทธิเจ้า, ประธาน, นายโสมหมืนเขาเม, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีดับเหม้า, ปีมะโรง, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาสารสิทธิเจ้า, บุคคล-นายโสมหมืนเขา |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2038 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1520?lang=th |
188 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 4 |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นโดยบุคคล 2 คน คนหนึ่งขอให้ได้เป็นพระสารีบุตร ส่วนอีกคนหนึ่งขอให้ได้เป็นพระโมคคัลลานะ |
ชม. 145 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 4, ชม. 145 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ์ 4, ชม. 145, 253 วัดชัยพระเกียรติ์, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ์ 4, ชม. 145, 253 วัดชัยพระเกียรติ์, สำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, สารีบุตร, โมคคัลลานะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, |
วัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1445?lang=th |
189 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 953 เจ้าหัวหมื่นหลวงดาบเรือนซ้าย และครอบครัวบ้านหน้าวัดไชยผาเกียน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา |
ชม. 92 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 3, ชม. 92 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 3, 24 วัดชัยพระเกียรติ์, 24 วัดชัยพระเกียรติ์, จุลศักราช 953, พุทธศักราช 2134, จุลศักราช 953, พุทธศักราช 2134, จ.ศ. 953, พ.ศ. 2134, จ.ศ. 953, พ.ศ. 2134, ปีรวงเหม้า, ปีเถาะ ตรีศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดชัยพระเกียรติ จังหวัดเชียงใหม่, สาวถีนรตรามังชซอศรีมังนรธาช่อ, ขุนนางพม่า, พม่าปกครอง, ตองอู, ล้านนา, พุทธ, เจ้าหัวหมื่นหลวงดาบเรือนซ้ายผัวเมีย, พ่อแม่ลูกบ้านหน้าวัดไชยผาเกียน, วัดไชยผาเกียน, เชียงใหม่, การสร้างพระพุทธรูป, วันกัดไส้, ยามกลองงาย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2134, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกบนฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยุ๋ปัจจุบัน-จารึกวัดชัยพระเกียรติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหัวหมื่นหลวงดาบเรือนซ้าย |
วัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2134 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1617?lang=th |
190 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 2 |
ฝักขาม |
เนื้อความระบุปีที่สร้าง และชื่อผู้สร้างพระพุทธรูป |
ชม. 64 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 2, 18 วัดชัยพระเกียรติ์, ชม. 64 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 2, 18 วัดชัยพระเกียรติ์, พุทธศักราช 2060, พ.ศ. 2060, พุทธศักราช 2060, จ.ศ. 879, จุลศักราช 879, จ.ศ. 879, จุลศักราช 879, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดชัยพระเกียรติ, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพันจ่าพวกเรือ, มหาเทวีเจ้า, ประธาน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีเมืองเป้า, ปีเมิงเป้า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2060, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดชัยพระเกียรติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าพันจ่าพวกเรือ, บุคคล-มหาเทวีเจ้า |
วัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2060 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1528?lang=th |
191 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 1 |
ธรรมล้านนา,พม่า |
กล่าวถึงประวัติการสร้างพระพุทธรูป คือ ในจุลศักราช 927 เจ้าทัพไชยสังรามจ่าบ้าน ร่วมกับเสนาอามาตย์ และราษฎรทั้งหลาย ร่วมกันอัญเชิญพระพุทธรูปต่างๆ ที่ชำรุด มาหล่อรวมกันเป็นพระพุทธรูปองค์เดียว มีพระนามว่า “พระพุทธเมืองรายเจ้า” นอกจากนี้ยังสร้างรั้วลงชาด ปิดทองคำล้อมพระมหาเจดีย์ ตอนท้ายเป็นคำอธิษฐาน ขอให้ตนได้ไปเกิดในสวรรค์ ทันพระศรีอาริยเมไตรย และถึงแก่นิพพาน เป็นต้น |
ชม. 54 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 1, 22 วัดชัยพระเกียรติ์, ชม. 54 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 1, 22 วัดชัยพระเกียรติ์, ชม. 54, ชม. 54, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดชัยพระเกียรติ์ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, พระนางวิสุทธิเทวี, วิสุทธเทวี, ตองอู, พระนางสุทธิเทวี, เจ้าทัพไชยสังรามจ่าบ้านสมเด็จ, พระธัมมิกราชาธิราชเจ้า เจ้าช้างเผือกหอคำ, บุเรงนอง, เจ้าฟ้าบยินยอง, วัดชัยผาเกียร, วัดชัยพระเกียรติ์, พม่า, กรุงอังวะ, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, เอหิภิกขุ, บวช, สัพพัญญู, อริยเมตไตร, เมไตรยะ, พระศรีอารย์, อนาคตพุทธเจ้า, ดาวดึงส์, ตาวติงสา, รั้วลงชาดปิดทองคำ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2108, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระนางวิสุทธเทวี, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดชัยพระเกียรติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระพุทธเมืองรายเจ้า, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอารยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าทัพไชยสังราม |
ภายในวิหารวัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2108 |
ไทย,พม่า |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1701?lang=th |
192 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดจักรวรรดิราชาวาส |
ธรรมอีสาน |
เมื่อ พ.ศ. 2215 ปีเต่าไจ้ พระยาหลวงพลเสิกขวากับทั้งภรรยาและบุตร ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อรักษาศาสนาให้ถึง 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดจักรวรรดิราชาวาส, กท. 284, กท. 284, พ.ศ. 2215, พุทธศักราช 2215, พ.ศ. 2215, พุทธศักราช 2215, ปีเต่าไจ้, พระยาหลวงพลเสิก,, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2215, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระยาหลวงพลเสิกขวา |
พิพิธภัณฑสถาน วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร แขวงจักรวรรดิ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2215 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18793?lang=th |
193 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดคูยาง |
ขอมสุโขทัย |
กล่าวถึงคาถาภาษาบาลีบทหนึ่ง |
จารึกฐานพระพุทธรุปวัดคูยาง, กพ. 3, กพ. 3, สัมฤทธิ์, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดคูยาง, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, อรรถ, จตุราริยสัจ, ส.ม.นิ., ทุ.นิ.ม., ส.ม.ทุ., ส.นิ.ทุ., พระธรรมจักร, ทุกขอริยสัจ, สมุทยอริยสัจ, นิโรธอริยสัจ, มรรคอริยสัจ, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, อริยสัจ, ธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ยุคสมัย-พุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดคูยาง กำแพงเพชร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, รูปหาย |
วัดคูยาง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร |
พุทธศตวรรษ 21 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/84?lang=th |
194 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 5 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายเสาร์และนางบัวผัด รวมทั้งลูกชายหญิงทุกคนร่วมกันบริจาคเงินเพื่อบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 5, ชม. 137, 239 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 5, ชม. 137, 239 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 1299, พุทธศักราช 2480, จุลศักราช 1299, พุทธศักราช 2480, จ.ศ. 1299, พ.ศ. 2480, จ.ศ.1299, พ.ศ. 2480, ปีเมิงเป้า, ปีฉลูนพศก, ปูนซีเมนต์, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, อ้ายเสาร์, นางบัวผัด, ลูกชายหญิง, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, สยาม, ไทย, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนปูนซีเมนต์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2480, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2471, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนปูนซีเมนต์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานจัน, บุคคล-อ้ายเสาร์, บุคคล-นางบัวผัด |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2480 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1604?lang=th |
195 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 4 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1290 ภิกษุนามว่าปัญญา พ่อหนานจันและแม่เขียวรวมถึงผู้มีศรัทธาทุกคน ร่วมกันหลอมทองโดยจ้างช่างน้อยหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นไว้ที่วัดควรค่าม้า เพื่อค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 4, ชม. 131, 221 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 4, ชม. 131, 221 วัดควรค่าม้า, พุทธศักราช 2471, จุลศักราช 1290, พุทธศักราช 2471, จุลศักราช 1290, พ.ศ. 2471, จ.ศ. 1290, พ.ศ. 2471, จ.ศ.1290, ปีเปิกสี, ปีมะโรง สัมฤทธิ์ศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, ภิกษุปัญญา, ธุปัญญา, ตุ๊ปัญญา, พ่อหนานจัน, แม่เขียว, ช่างน้อย, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, ล้านนา ศาสนาพุทธ, การหลอมทอง, การหล่อพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุปัญญา, ธุปัญญา, ตุ๊ปัญญา, พ่อหนานจัน, แม่เขียว, ผู้มีศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2471, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2471, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานจัน, บุคคล-แม่เขียว, บุคคล-ปัญญาภิกษุ |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2471 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1632?lang=th |
196 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 3 |
ธรรมล้านนา |
นางพิมพาสร้างพระพุทธรูปขึ้นในจุลศักราช 1168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 3, ชม. 102, 63 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 3, ชม. 102, 63 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1186, พุทธศักราช 2367, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1186, พุทธศักราช 2367, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1186, พ.ศ. 2367, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1186, พ.ศ. 2367, ปีกาบสัน, ปีวอก ฉศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, นางพิมพา, พระยาคำฝั้น, เจ้าหลวงเศรษฐี, เศรษฐีคำฝั้น, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, นางพิมพา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2367, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2367, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาคำฝั้น, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางพิมพา |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2367 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1602?lang=th |
197 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 2 |
ธรรมล้านนา |
ระบุนามผู้สร้างและปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ หนานมโน สร้างใน จุลศักราช 1168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 2, ชม. 101, 62 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 2, ชม. 101, 62 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1167, จุลศักราช 1167, พุทธศักราช 2367, พุทธศักราช 2367, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1167, จ.ศ. 1167,พ.ศ. 2367, พ.ศ. 2367, ปีกาบสัน, ปีวอก ฉศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, หนานมโน, ล้านนา, สยาม, ไทย, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, พระยาคำฝั้น, เศรษฐีคำฝั้น, เจ้าหลวงเศรษฐีศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2367, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2367, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาคำฝั้น, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานมโน |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2367 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1501?lang=th |
198 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 1 |
ธรรมล้านนา |
ระบุศักราชที่สร้างพระพุทธรูปคือ จุลศักราช 862 ตรงกับ พ.ศ. 2043 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 1, ชม. 85, 15 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 1, ชม. 85, 15 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 862, พุทธศักราช 2043, จุลศักราช 862, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, พ.ศ. 2043, จ.ศ. 862, พ.ศ. 2043, สำริด, สัมฤทธิ์, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา, พุทธ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2043 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1471?lang=th |
199 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกู่เต้า |
ธรรมล้านนา |
น้อยคันธิยาสร้างพระพิมพ์องค์นี้ขึ้นเพื่อบูชา โดยขอให้ตนได้ไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกู่เต้า, ชม. 142, 249 วัดกู่เต้า, ชม. 142, 249 วัดกู่เต้า, มุก, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ล้านนา ศาสนาพุทธ, น้อยคันธิยา, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, พระพิมพ์, พุทธิพิมพาสา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนมุก, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดกู่เต้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดกู่เต้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1469?lang=th |
200 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกุมภประดิษฐ์ |
ธรรมอีสาน |
พระผู้ใหญ่ในท้องถิ่นและบรรดาญาติโยม ได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
นค. 21, นค. 21, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกุมภประดิษฐ์, พ.ศ. 2213, พุทธศักราช 2213, พ.ศ. 2213, พุทธศักราช 2213, จ.ศ. 1032, จุลศักราช 1032, จ.ศ. 1032, จุลศักราช 1032วัตถุ, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, กุฏิเจ้าอาวาสวัดกุมภประดิษฐ์, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เจ้าสังฆราชา, มีหม่อมดวง, พ่อ, ยศ, ตาคำมี, เจ้าภริยา, บุตร, นัดดา, นางพระยาขันซ้าย, พระยาอู่ทอง, นายบุญสาน, ลูก, นายเหมือนเดือน, พ่อบาด, พ่อแก้วหล้า, ตาชโยก, นายคำจันทร์, แม่สุวรรณา, พ่ออู่, เจ้าขนาน, ธรรมมา, พี่เอื้อย, น้องหญิง, น้องชาย, อุบาสก, อุบาสิกา, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, มื้อกดสี, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง ; สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2213, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดกุมภประดิษฐ์ หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
กุฏิเจ้าอาวาสวัดกุมภประดิษฐ์ ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2213 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2479?lang=th |
201 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกลางเวียง |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พระมหาสิริปัญญาสวามี สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่บูชาแก่คนและเทวดาเมื่อจุลศักราช 1099 (พ.ศ. 2280) โดยขอให้ตนไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกลางเวียง, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดกลางเวียง, พ.ศ. 2280, จ.ศ. 1099, พ.ศ. 2280, จ.ศ. 1099, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดกลางเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย, ล้านนา, องค์คำ, นยองยาน, พระมหาสิริปัญญาสวามี, วัดหมื่น, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2280, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดกลางเวียง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
พระเจดีย์ วัดกลางเวียง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2280 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1734?lang=th |
202 |
จารึกฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1398 (พ.ศ. 2019) พระยายุธิษฐิระ ได้สร้างพระพุทธรูปสำริดองค์นี้ขึ้น มีน้ำหนัก 14,000 เพื่อดำรงพระพุทธศาสนา |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, กท. 93 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ, กท. 93 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ, กท. 93, กพช. เลขที่ ก. 7, กท. 93, เลขที่ ก. 7, Notes on the Art of Siam, No. 6 : Prince Yudhisthira, จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ อักษรธรรมล้านนา, หลักที่ 303 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, หลักที่ 303 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, ม.ศ. 1398, มหาศักราช 1398, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, ม.ศ. 1398, มหาศักราช 1398, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดบุนนาค (วัดป่าแดงหลวงดอนไชยบุนนาค) ตำบลดงเจน อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ยุธิษฐิระ, ยุฐิเสถียร, เชียงใหม่, อภินวปุรี, เมืองพะเยา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาบาลีและสันสกฤต, จารึก พ.ศ. 2019, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่พะเยา, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ผู้ครองเมืองพะเยา, พระยายุธิษฐิระ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2019, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเมืองพะเยา, บุคคล-พระยายุธิษฐิระ, บุคคล-พระยายุทธิษฐิระ |
พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2019 |
สันสกฤต,บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1767?lang=th |
203 |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี |
หลังปัลลวะ |
กล่าวถึงอธิบดีแห่งชาวเมืองตังคุระ นามว่า “อารชวะ” ผู้เป็นราชโอรสของพระราชาแห่งศามพูกะ เป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี, ลบ. 5, ลบ. 5, หลักที่ 16 จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี, หลักที่ 16 จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี, Lopburi Wat Mahathat K. 577, ศิลา, หินปูนสีเทาแก่, ฐานพระพุทธรูปยืน, รุปกลีบบัว, มุมกำแพงชั้นนอก, วัดมหาธาตุ, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี,นายก, อธิบดี, อารชวะ, พระมุนี, ตังคุระ, ศามพูกะ, ตรงใจ หุตางกูร, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินปูน, วัตถุ-จารึกบนหินปูนสีเทา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตังคุระ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 13-14 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/923?lang=th |
204 |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ฐานของพระพุทธรูป เป็นการบอกเล่าว่า เจ้าปู่และลูกหลานเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ขึ้น ซึ่งอาจเป็นการสร้างขึ้นเพื่อถวายแก่วัด |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย, จารึกบนฐานพระพุทธยืนพบที่วัดข่อย, ลบ. 9, ลบ. 9, K. 695, Wat Khoy, ศิลา ประเภทหินทรายละเอียด, ฐานบัว พระพุทธรูปประทับยืน (พระหัตถ์ทั้งสองหัก), วัดข่อย อำเภอบ้านเซ่า จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, เจ้าปู่, พระเจ้าวิชัย, พุทธศาสนา, พุทธบูชา, พระพุทธรูป, การทำบุญ, การอุทิศ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, “หลักที่ 17 จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย," ใน ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 : จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ และประเทศราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย, G. Cœdès, Recueil des Inscriptions du Siam Deuxième Partie, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, Georges Coedes, Recueil des Inscriptions du Siam Deuxième Partie, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, พงศ์เกษม สนธิไทย, ข่าวสารมอญ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายละเอียด, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
มุขพระระเบียงนอกกำแพงพระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/273?lang=th |
205 |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร |
ไทยสุโขทัย |
สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช้างค้ำ องค์ที่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช้างค้ำ องค์ที่ 3, นน. 15, นน. 15, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูปปางประทานอภัย, วิหารวัดพระธาตุช้างค้ำ, ตำบลในเวียง, จังหวัดน่าน, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, ปีมะเมีย, วันพุธ, บุญ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จารึกสมัยสุโขทัย, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, ศิลปากร, เมืองน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางประทานอภัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม |
ในวิหารวัดพระธาตุช้างค้ำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 1969, 1970 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/86?lang=th |
206 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พุดเถ้างาง” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง, พย. 65, พย. 65, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุดเถ้างาง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พุดเถ้างาง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1861?lang=th |
207 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น |
ธรรมอีสาน |
เป็นพระบรมราชโองการพระมหากษัตริย์ล้านช้าง ได้ถวายข้าโอกาส เพื่อรักษาบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ และสาปแช่งผู้ที่มายึดเอาข้าโอกาสของพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น, จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดพิพิธภัณฑสถานขอนแก่น, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ถ้ำ, ตำบลคำอาฮวน, จังหวัดมุกดาหาร, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, ข้อย, ข้าทาส, ข้าพระ, แผ่นโลหะ, พุทธศาสนา, วิหาร, การอุทิศข้าทาส, การอุทิศข้าพระ, พระราชอาญา, พระเจ้า, พระพุทธรูปทอง, วัสสา, โลภ, ตัณหา, อบาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกสมัยพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้านันทเสน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราช, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1958?lang=th |
208 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมหล้าสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พันซัมหล้า” พร้อมด้วย “แม่เม” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมมหล้าสร้าง, พย. 82, พย. 82, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พันซัมหล้า, เม, เมีย, พุทธศาสนา, ศอก, พระพุทธสมณะ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พันซัมหล้า, บุคคล-แม่เม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1902?lang=th |
209 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อบุญ” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง, พย. 60, พย. 60, หินทรายสีเทา, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบสถานที่พบ: จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อบุญ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1846?lang=th |
210 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเถรอนงค์ |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พระเถรอนงค์” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเถรอนงค์, พย. 63, พย. 63, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเถรอนงค์, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเถรอนงค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1852?lang=th |
211 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าแสน |
ไทยสุโขทัย |
เมื่อพิจารณาข้อความในจารึก อาจให้ความหมายได้ว่า |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าแสน, กท. องค์ที่ 17, กท. องค์ที่ 17, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 17 ในวิหารคด, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 17 ในวิหารคด, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าแสน, พระเจ้าอคนี, พระเจ้าอัคนี, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเจ้าแสน |
พระระเบียงวิหารคด วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/97?lang=th |
212 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26 |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พระเจ้าเถร” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26, จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26, พย. 61, พย. 6, หินทรายสีเทา, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้าเถร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเจ้าเถร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1848?lang=th |
213 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2272 พระญาหลวงเจ้ามังคละสะแพก เจ้าเมืองเชียงแสนและบุษบาสิริวธนเทพาราชกัญญาเจ้า มีศรัทธาหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่วัดศรีสองเมือง ซึ่งสร้างขึ้นคลุมสุสานเจ้าราชบุตรยอดงำเมือง |
ชร. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง พ.ศ. 2269, ชร. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง พ.ศ. 2269, จุลศักราช 1088, จุลศักราช 1088, จ.ศ. 1088, จ.ศ. 1088, พุทธศักราช 2269, พ.ศ. 2269, พุทธศักราช 2269, พ.ศ. 2269, พุทธศักราช 2272, พ.ศ. 2272, พุทธศักราช 2272, พ.ศ. 2272, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดพระเจ้าล้านทอง, ตำบลเวียง, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, เชียงราย, เชียงแสน, ลักขบุรี, พระยอดงำเมือง, ราชบุตร, พระยาหลวงเจ้ามังคละ, บุษบาสิริวธนเทพาราชกัญญา, พุทธศาสนา, การหล่อพระพุทธรูป, พระพุทธรูป, สุสาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2272, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกวัดพระเจ้าล้านทอง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ผู้ครองเมืองเชียงแสน, พระญาหลวงเจ้ามังคละสแพก |
วิหารวัดพระเจ้าล้านทอง ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2272 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1950?lang=th |
214 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อจน” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน, พย. 62, พย. 62, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อจน, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พ่อจน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1850?lang=th |
215 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อพระพุทธรูป คือ “พระพุทธสรณัง” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “แม่คำเชียง” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง, พย. 77, พย. 77, หินทรายสีแดง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แม่คำเชียง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่คำเชียง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1892?lang=th |
216 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร |
ฝักขาม |
ระบุชื่อพระพุทธรูป คือ “พระพุทธตัณหังกร” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “ไสพ่อเ-” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร, พย. 75, พย. 75, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไสพ่อ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21 ,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ไสพ่อ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1888?lang=th |
217 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระนายคัมกอง |
ไทยสุโขทัย |
เรื่องที่จารึก กล่าวถึงพระนายคัมกองผู้พี่ และแม่อามศรีผู้น้อง เป็นผู้สร้างพระพุทธรูป |
จารึกบนพระพุทธรูปพระนายคัมกอง, กท. (พระตำหนักวาสุกรี), จารึกบนฐานพระพุทธรูปในพระตำหนักสมเด็จฯ, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระตำหนักวาสุกรี, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระนายคัมกอง, แม่อามศรี, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, โสกโขทัย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระนายคัมกอง, บุคคล-แม่อามศรี |
พระตำหนักวาสุกรี วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/99?lang=th |
218 |
จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง |
ไทยสุโขทัย |
ผ้าขาวทอง (หมายถึงชีปะขาว) สร้างพระพุทธรูปเมื่อปี พ.ศ. 1965 |
จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง, กท. องค์ที่ 16, กท. องค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, ไทย, สุโขทัย, ผ้าขาวทอง, ชีปะขาว, พระแม่มูยเมีย, ยงลูก, ข้าพระ, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ผ้าขาวทอง |
ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 1965 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/80?lang=th |
219 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1256 (พ.ศ. 2437) นางขันแก้วและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523, นน. 50, จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523, นน. 50, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางขันแก้ว, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึก พ.ศ. 2437,ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางขันแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2437 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1826?lang=th |
220 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 2) |
ไทยสุโขทัย |
สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 2), จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 2), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 2, นน. 14, นน. 14, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูปปางลีลา, วิหารวัดพญาภู, จังหวัดน่าน, ตำบลในเวียง, ไทย, สุโขทัย, จารึกสมัยสมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, ปีมะเมีย, วันพุธ, บุญ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1969, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางลีลา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาภู น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย |
วิหารวัดพญาภู (ด้านซ้ายองค์พระพุทธรูปประธาน) ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 1969, 1970 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/105?lang=th |
221 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 1) |
ไทยสุโขทัย |
สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 1), จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 1), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 1, นน. 13, นน. 13, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดพญาภู, จังหวัดน่าน, ตำบลในเวียง, ไทย, สุโขทัย, จารึกสมัยสมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จารึกสมัยสุโขทัย, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1969, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางลีลา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาภู น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย |
วิหารวัดพญาภู (ด้านขวาองค์พระพุทธรูปประธาน) ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 1969, 1970 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/103?lang=th |
222 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยวัดศรีบุญเรือง (น่าน-อำเภอภูเพียง) |
ฝักขาม |
เรื่องราวที่จารึก กล่าวถึงพระยาหลวงเจ้าเมืองน่าน ผู้ทรงนามว่า “อัตถวรวงศา” พร้อมด้วยขัติยราชวงศ์ เสนาอำมาตย์และราษฎร มีศรัทธารวมทองกันแล้วสร้างพระพุทธรูป โดยนายช่างผู้ทำการหล่อมาจากเมืองล้านช้าง อนึ่ง คำพระนามว่า “อัตถวรวงศา” นั้น บางแห่งออกพระนามว่า เจ้าหลวงอัตถวรปัญโญ หรือ สมเด็จเจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดศรีบุญเรือง, นน. 21, นน. 21ศักราช: พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155} สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดศรีบุญเรือง, ตำบลม่วงตึ๊ด, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระยาหลวงเจ้าเมืองน่าน, อัตถวรวงศา, ขัติยราชวงศ์, ขัตติยวรวงศ์, เสนาอามาตย์ราษฎร, อำมาตย์, ทอง, เมืองล้านช้าง, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูปปติมากรเจ้า, ปีสลู, ปีฉลู, สุกกร, เพ็ง, ขอมภิสัย, วัสสานฤดู, อาสาฬห, ปถมมาส, ระวิวาร, ไถง, ไทยภาษา, ปีกาเป้า, ปถมสาฆ, นรเทวคณา, พระวสา, พระวัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1548?lang=th |
223 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1233 (พ.ศ. 2414) พ่อแสนไชยนโรธาและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น? |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523, นน. 44, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523, นน. 44, จุลศักราช 1233, พุทธศักราช 2414, จุลศักราช 1233, พุทธศักราช 2414, จ.ศ. 1233, พ.ศ. 2414, จ.ศ. 1233, พ.ศ. 2414, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พ่อแสนไชยนโรธา, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2414 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1820?lang=th |
224 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1249 (พ.ศ. 2430) พระสงฆ์นามว่าอภิวงศ์ นางขอดแก้ว แม่เฒ่าดีและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ตนถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523, นน. 49, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523, นน. 49, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, อภิวงศ์, นางขอดแก้ว, แม่เฒ่าดี, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2430, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิวงศ์(พระสงฆ์), บุคคล-นางขอดแก้ว, บุคคล-แม่เฒ่าดี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1931?lang=th |
225 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 315/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1228 (พ.ศ. 2409) หนานอุตตมะ บ้านดอน รวมทั้งลูกหลานและญาติทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อเป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานอุตตมะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2409 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1835?lang=th |
226 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1256 (พ.ศ. 2437) ภิกขุยาตวิคลไชและมารดาชื่อว่านางคำผา รวมทั้งแม่เอื้อย พี่น้องและลูกหลานทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523, นน. 51, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523, นน. 51, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, จ.ศ.1256, พ.ศ. 2437, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ภิกขุยาตวิคลไช, นางคำผาง, แม่เอื้อย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2437, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ภิกขุยาตวิคลไช, บุคคล-นางคำผาง, บุคคล-แม่เอื้อย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2437 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1828?lang=th |
227 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1177 (พ.ศ. 2358) หมื่นนาเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปร่วมกับภรรยานามว่านางภาและลูกทุกคน โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523, นน. 26, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523, นน. 26, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าสุมนเทวราช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หมื่นนา, นางภา, พุทธ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หมื่นนา, บุคคล-นางภา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2358 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1936?lang=th |
228 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1230 (พ.ศ. 2411) พระสงฆ์นามว่า กาวิไชย พร้อมทั้งมารดาและพี่น้องทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พ่อซึ่งมีชื่อว่า หนานไช และขอให้ได้ถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523, นน. 41, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523, นน. 41, จุลศักราช 1230, พุทธศักราช 2411, จุลศักราช 1230, พุทธศักราช 2411, จ.ศ. 1230, พ.ศ. 2411, จ.ศ. 1230, พ.ศ. 2411, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ธุเจ้ากาวิไชย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กาวิไชย(พระสงฆ์), บุคคล-หนานไช, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1811?lang=th |
229 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1197 (พ.ศ. 2398) จินดาภิกขุได้จ้างครูท่านหนึ่งสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523, นน. 30, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523, นน. 30, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2398, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2398, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2398, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2398, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, จินดาภิกขุ, บา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2378, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2398, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-จินดาภิกขุ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1809?lang=th |
230 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523 |
ธรรมล้านนา |
หนานอภิวังสะและภรรยาชื่อว่านางบัวเรียมและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เมื่อจุลศักราช 1259 (พ.ศ. 2440) โดยขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523, นน. 52, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523, นน. 52, จุลศักราช 1259, พุทธศักราช 2440, จุลศักราช 1259, พุทธศักราช 2440, จ.ศ. 1259, พ.ศ. 2440, จ.ศ.1259, พ.ศ. 2440, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานอภิวังสะ, นางบัวเรียม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2440, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานอภิวังสะ, บุคคล-นางบัวเรียม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2440 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1854?lang=th |
231 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1249 (พ.ศ. 2430) พระสงฆ์นามว่าอภิวงศ์ นางขอดแก้ว แม่เฒ่าดีและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ตนถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมาวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523, นน. 47, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมาวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523, นน. 47, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา , เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, อภิวงศ์, นางขอดแก้ว, แม่เฒ่าดี, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2430, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิวงศ์ (พระสงฆ์), บุคคล-นางขอดแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1830?lang=th |
232 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2523 |
ธรรมล้านนา |
หนานธนสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เมื่อจุลศักราช 1287 (พ.ศ. 2468) |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2523, นน. 53, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2513, นน. 53, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จ.ศ. 1287, พ.ศ. 2468, จ.ศ.1287, พ.ศ. 2468, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหาพรหมสุรธาดา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานธน, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2468, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจุบัน-จารึกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หนานธน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2468, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 7, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6-7, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานธน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2468 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1842?lang=th |
233 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1292 (พ.ศ. 2473) นางจันดีพร้อมทั้งสามีและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น โดยอุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดานามว่าตันไชและแก้ววัณณา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523, นน. 54, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523, นน. 54, จุลศักราช 1292, พุทธศักราช 2473, จุลศักราช 1292, พุทธศักราช 2473, จ.ศ. 1292, พ.ศ. 2473, จ.ศ.1292, พ.ศ. 2473, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหาพรหมสุรธาดา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางจันดี, ตันไช, แก้ววัณณา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2378, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2473, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 7, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-นางจันดี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2473 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1844?lang=th |
234 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523 |
ธรรมล้านนา |
พระสงฆ์นามว่าอภิไชยและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยขอให้ได้ขึ้นสวรรค์และถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523, นน. 43, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523, นน. 43, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ธุนายอภิไชย, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิไชย(พระสงฆ์), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิไชย(พระสงฆ์), เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2412 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1813?lang=th |
235 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1235 (พ.ศ. 2416) หนานมโนและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523, นน. 46, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523, นน. 46, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, พ.ศ. 2416, จ.ศ.1235, จ.ศ. 2416, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานมโน, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดีประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2416, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-หนานมโน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1822?lang=th |
236 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 23/2524 |
ธรรมล้านนา |
พ่ออ้าย?ศรีเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ร่วมกับครอบครัวเมื่อจุลศักราช 1177 (พ.ศ. 2358) โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เลขทะเบียน 23/2524, นน. 40, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เลขทะเบียน 23/2524, นน. 40, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, จ.ศ.1177, พ.ศ. 2358, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าสุมนเทวราช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พ่ออ้ายศรี, เมืองน่าน,พุทธ, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่ออ้ายศรี, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2358 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1940?lang=th |
237 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1231 (พ.ศ. 2412) หนานนางและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พ่อแม่นามว่า ปู่ขอร และนางน้อย ขอให้ได้ขึ้นสวรรค์ชั้นดาวดึงส์และถึงสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523, นน. 42, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523, นน. 42, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, จ.ศ.1231, พ.ศ. 2412, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานนาง, ปู่ขอร, นางน้อ, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานนาง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2412 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1815?lang=th |
238 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดเบ็งสกัด |
ฝักขาม |
เนื้อหาในจารึก ได้กล่าวถึงเฉพาะปีจุลศักราช 871 อันเป็นรัชสมัยของพระเมืองแก้ว ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ ร่วมสมัยกับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดเบงสกัด, นน. 17, นน. 17, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดเบ็งสกัด, อำเภอปัว, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2052, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเบงสกัด น่าน |
วัดเบ็งสกัด ตำบลวรนคร อำเภอปัว จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2052 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1546?lang=th |
239 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 2 |
ธรรมล้านนา |
ท้าวพลเทพและนางเขบแก้ว รวมทั้งพ่อแม่พี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ได้ไปเกิดในสวรรค์ มีสติปัญญา และได้ไหว้พระเกศแก้วจุฬามณี เป็นต้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 2, นน. 58, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 2, นน. 58, จุลศักราช 1195, พุทธศักราช 2376, จุลศักราช 1195, พุทธศักราช 2376, จ.ศ. 1195, พ.ศ. 2376, จ.ศ. 1195, พ.ศ. 2376, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดสถารศ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ท้าวมหาเทพ, นางเขบแก้ว, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2376, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถารศ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท้าวพลเทพ, บุคคล-นางเขบแก้ว, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์ |
วัดสถารศ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2376 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1869?lang=th |
240 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 1 |
ฝักขาม |
เรื่องราวที่จารึก กล่าวถึงสุมนเทวราช ผู้ครองชัยนันทบุรี และพระสุวัณพิมพาราชเทวี พระศรีอนุกัญญา พระราชบุตร พระราชนัดดา พร้อมด้วยเสนาอำมาตย์ประชานาถรวมทองกันสร้างพระพุทธรูปไว้โชตกศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ, นน. 27, นน. 27ศักราช: พ.ศ. 2366, พุทธศักราช 2366, พ.ศ. 2366, พุทธศักราช 2366, จ.ศ. 1185, จุลศักราช 1185, จ.ศ. 1185, จุลศักราช 1185, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดสถารศ, ตำบลในเวียง, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ไทย, สมเด็จบรมบพิตร, สุมนเทวราชเจ้า, ประธาน, สุวัณณพิมพาราชเทวี, ศรีอนุกัญญา, ราชบุตตาบุตตี, ราชบุตราบุตรี, นตานตี, เสนาอามาตย์ประชานาถ, อำมาตย์, ชยนันทบุรีวงศ์, ชัยนันทบุรีวงศ์, พุทธศาสนา, สร้างแปงพระพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, ปีกาเม็ด, ปถมมหามูลศรัทธา, ออก, พระวัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2366, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถารศ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าสุมนเทวราช |
วัดสถารศ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2366 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1550?lang=th |
241 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3 |
ธรรมล้านนา |
พ่อเจ้าฟ้าหลวงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่กราบไหว้ของคนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3, นน. 35, ย. 3, นน. 35, ย. 3, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, พ่อเจ้าฟ้าหลวง, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเจ้าฟ้าหลวง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-พ่อเจ้าฟ้าหลวง, บุคคล-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1797?lang=th |
242 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1247 (พ.ศ. 2428) สุริยภิกขุและญาติพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปและทำพิธีพุทธาภิเษกเพื่อค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 (นน. 33, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 (นน. 33), นน. 33, นน. 33, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, สุริยภิกขุ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-สุริยภิกขุ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2428 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1824?lang=th |
243 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1 |
ธรรมล้านนา |
แสนอินทวิไชยเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปนั่ง 1 องค์ ยืน 2 องค์ ร่วมกับภรรยาชื่อว่านางพรมและครอบครัวเมื่อจุลศักราช 1194 (พ.ศ. 2375) |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1, นน. 28, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1, นน. 28, พ.ศ. 2375, จุลศักราช 1194, พ.ศ. 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ.1194, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, แสนอินทวิไชย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอินทวิไชย, บุคคล-นางพรม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2386?lang=th |
244 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปโดยเอาตนแลกกับปัจจัยเป็นเงินจำนวนหนึ่งมาสร้าง ในจุลศักราช 951 (พ.ศ. 2132) รวมถึงการสร้างคัมภีร์ และอุโบสถ ตอนท้ายระบุนามผู้อุปฐาก คือ นางคำใส |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, นน. 19, นน. 19, จุลศักราช 951, พุทธศักราช 2132, จุลศักราช 951, พุทธศักราช 2132, จ.ศ. 951, พ.ศ. 2132, จ.ศ. 951, พ.ศ. 2132, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, ล้านนา, มังนรธาช่อ, พระยาหน่อคำเสถียรชัยสงคราม, ตองอู, พม่า, นางคำใส, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การสร้างคัมภีร์, การสร้างอุโบสถ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2132, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกวัดช้างค้ำวรวิหาร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, เจ้าเมืองน่าน, พระยาหน่อคำเสถียรชัยสงคราม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2132, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช้างค้ำวรวิหาร น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางคำไส |
วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2132 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1788?lang=th |
245 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความสี่บรรทัดแรกเป็นภาษาบาลี ว่าด้วยคาถาบทพุทธคุณ และบทปัจจยาการ บรรทัดสุดท้ายกล่าวถึงบุคคลชื่อ เจ้าวิเชียร ผู้สร้างพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท, ชร. 15, ชร. 15, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, จ.ศ. 834, จุลศักราช 834, จ.ศ. 834, จุลศักราช 834, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า, บุรุษ, ศาสดา, มนุษย์, พระศรีอาริยเมตไตรย์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, กิเลส, วิชา, จรณะ, โลก, ตรัสรู้, เทวดา, โลก, ตรัสรู้, อวิชชา, ปัจจัย, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, อายตนะ 6, อายตนะ 6, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรา, มรณ, โสกะ, ปริเทวะ, ทุกขโทมนัส, อุปายาสะ, กองทุกข์, เหตุ, ปีเต่ายี, พุทธทำนาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าวิเชียร, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2024 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1397?lang=th |
246 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523 |
ธรรมล้านนา |
คัมภีร์? และนางขอดเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบท เมื่อจุลศักราช 1194 (พ.ศ. 2375) |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523, นน. 29, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523, นน. 29, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางขอด, แม่เฒ่า, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางขอด |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1859?lang=th |
247 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร |
ธรรมล้านนา |
ระบุจุลศักราช 889 ปีเมิงไก๊ ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2070 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, นน. 18, นน. 18, จุลศักราช 889, พุทธศักราช 2070, จุลศักราช 889, พุทธศักราช 2070, จ.ศ. 889, พ.ศ. 2070, จ.ศ. 889, พ.ศ. 2070, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พญาเกศเชษฐราช, พระเกษเกล้า, มังราย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึก พ.ศ. 2070, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2070 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1786?lang=th |
248 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1172 (พ.ศ. 2353) พระสงฆ์นามว่าสุทธนามร่วมกับบิดามารดาและญาติพี่น้องทุกคน สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพานในสมัยของพระเมตตรัย อนาคตพุทธเจ้า |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 2, นน. 25, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 2, นน. 25, จุลศักราช 1172, พุทธศักราช 2353, จุลศักราช 1172, พุทธศักราช 2353, จ.ศ. 1172, พ.ศ. 2353, จ.ศ.1172, พ.ศ. 2353, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, วัดพญาวัด ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, ล้านนา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธ, สุทธนาม, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, เมตตรัย, เมไตรย, พระศรีอารย์, อนาคตพุทธเจ้า, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึก พ.ศ. 2353, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกวัดพญาวัด, จารึกในพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2353, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาวัด, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
วัดพญาวัด ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2353 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1805?lang=th |
249 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 1 |
ธรรมล้านนา |
ระบุจุลศักราช 1169 (พ.ศ. 2350) และนางพญาเชียงของ |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 1, นน. 24, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 1, นน. 24, จุลศักราช 1169, พุทธศักราช 2350, จุลศักราช 1169, พุทธศักราช 2350, จ.ศ. 1169, พ.ศ. 2350, จ.ศ.1169, พ.ศ. 2350, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, วัดพญาวัด, ตำบลในเวียง, อำเภอเมือง, จังหวัดน่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, พญาเชียงของ, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2350, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ทีอยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาวัด, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางพญาเชียงของ |
วัดพญาวัด ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2350 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1807?lang=th |
250 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2781/92) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ อัปรีย์ |
ธ. 2781/92, ธ. 2781/92, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 26, กรุหมายเลข 26, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, อัปรีย์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อัปปรีย์, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2180?lang=th |
251 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2752/92) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุถึงผู้สร้างพระพุทธรูป ว่าเป็น “ลูกทั้ง 5” สร้างเพื่ออุทิศแก่ผู้ตาย |
ธ. 2752/92, ธ. 2752/92, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, พุทธศักราช 2191, พุทธศักราช 2191, พ.ศ. 2191, พ.ศ. 2191, จุลศักราช 1010, จุลศักราช 1010, จ.ศ. 1010, จ.ศ. 1010, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 26, กรุหมายเลข 26, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้าง, ลูกทั้ง 5, ลูกทั้ง 5, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2188?lang=th |
252 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2719/92) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ เจ้าเรือนกลาง สร้างเพื่ออุทิศให้เจ้าองค์พี่ (ผู้ล่วงลับไปแล้ว) |
ธ. 2719/92, ธ. 2719/92, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย} ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 26, กรุหมายเลข 26, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้าเรือนกลาง, เจ้าองค์พี่, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเรือนกลาง, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2186?lang=th |
253 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2547/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป ได้แก่ ทิพศรีกัญญากับทั้งภริยา และบุตร |
ธ. 2547/93, ธ. 2547/93, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, พุทธศักราช 2218, พุทธศักราช 2218, พ.ศ. 2218, พ.ศ. 2218, จุลศักราช 1037, จุลศักราช 1037, จ.ศ. 1037, จ.ศ. 1037, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 20, กรุหมายเลข 20, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้าง, ทิพศรีกัญญา, ภริยา, บุตร, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2218, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ีฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ีฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิพศรีกัญญา, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2218 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2190?lang=th |
254 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2506/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ พ่อเจ้าเปาะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2506/93), จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2506/93), จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 21, กรุหมายเลข 21, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, พ่อเจ้าเปาะ, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเจ้าเปาะ, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2178?lang=th |
255 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2494/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ ตาเขาวงผัวเมีย ตอนท้ายตั้งความปรารถนาที่จะบรรลุนิพพาน |
ธ. 2494/93, ธ. 2494/93, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 21, กรุหมายเลข 21, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม,ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, ตาเขาวง, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ตาเขาวง, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2184?lang=th |
256 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 1948/95) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป ได้แก่ พ่อเพชร และแม่แก้ว |
ธ. 1948/95, ธ. 1948/95, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2244, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้านันทราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเพชร, บุคคล-แม่แก้ว, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2192?lang=th |
257 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 1934/95) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ เจ้าเรือนใต้ |
ธ. 1934/95, ธ. 1934/95, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 15, กรุหมายเลข 15, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้าเรือนใ, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเรือนใต้, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2176?lang=th |
258 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 1913/95) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป ได้แก่ แม่บัวแก้ว สามี และบุตร |
ธ. 1913/95, ธ. 1913/95, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 14, กรุหมายเลข 14, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, แม่บัวแก้ว, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่บัวแก้ว, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2248 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2174?lang=th |
259 |
จารึกฐานพระพุทธรูปนายทิตไส |
ไทยสุโขทัย |
กล่าวถึง 2 พ่อลูก คือ นายทิตไส และนางทองแก้ว ผู้สร้างพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปนายทิตไส, กท. องค์ที่ 15, กท. องค์ที่ 15, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 15 ในวิหารคด, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 15 ในวิหารคด, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, สุโขทัย, นายทิตไส, นายทิดไส, นางทองแก้ว, ข้าพระ, พระเจ้า, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, จังหัน, โพธิสมภาร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นายทิตไส, บุคคล-นางทองแก้ว, ไม่มีรูป |
ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 1965 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/78?lang=th |
260 |
จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อพระพุทธรูป คือ “ทีปังกร” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อหลอม” |
จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง, พย. 66, พย. 66, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหลอม, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, บุคคล-พ่อหลอม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1863?lang=th |
261 |
จารึกฐานพระพุทธรูปทิดไสหง |
ไทยสุโขทัย |
เรื่องที่จารึก ได้จารึกบอกนามผู้สถาบกพระพุทธรูป จำนวน 2 คน คือ ทิดไสหง และนางแก้ว |
จารึกฐานพระพุทธรูปทิดไสหง, หลักที่ 37 จารึกบนฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สัมฤทธิ์, หลักที่ 37 จารึกบนฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สัมฤทธิ์, กพช. ล. 4044, กพช. ล. 4044, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, กระทรวงการคลัง, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, ทิดไสหง, นางแก้ว, พระเป็นเจ้า, พุทธศาสนา, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่กระทรวงการคลัง กรุงเทพมหานคร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิดไสหง, บุคคล-นางแก้ว |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/116?lang=th |
262 |
จารึกฐานพระพุทธรูปทองคำ ฐานบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2443/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ เจ้าสุด ตามด้วยรายชื่อข้าโอกาสที่ถวายแด่พระพุทธรูป |
ธ. 2443/93, ธ. 2443/93, จารึกฐานพระพุทธรูปทองคำ ฐานบุเงิน ปางมารวิชัย, จารึกฐานพระพุทธรูปบุทองคำ ฐานบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 20, กรุหมายเลข 20, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร , อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้าสุด, บักขุย, อีชู, แม่คำ, เขาชุม, ข้อย, ข้าทาส, ข้าโอกาส, ทาสโอกาส, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ถวายทาส, ถวายข้าทาส, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสาน, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าสุด, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2182?lang=th |
263 |
จารึกฐานพระพุทธรูปถ้ำเชตวัน |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2428 พ่อแสนธนสมบัติพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปถ้ำเชตวัน, จารึกฐานพระพุทธรูป ถ้ำเชตวัน 2 (นน. 2131) จ.ศ. 1247 (พ.ศ. 2428), จารึกฐานพระพุทธรูป ถ้ำเชตวัน 2 (นน. 2131) จ.ศ. 1247 (พ.ศ. 2428), ถ้ำเชตวัน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำเชตวัน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พ่อแสนธนสมบัติ |
ถ้ำเชตวัน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2428 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15098?lang=th |
264 |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกกล่าวว่า ซาวหมุกเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง, พย. 41 จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 41 จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พุทธศตวรรษที่ 21-22, สำริดสีดำ, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาวหมุก, พุทธศาสนาพิธี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ไม่มีรูป |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1748?lang=th |
265 |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “ซาวจัน” |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง, พย. 80, พย. 80 หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาวจัน, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ซาวจัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1898?lang=th |
266 |
จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “คำต่อน” และ “นางสิ” |
จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง, พย. 81, พย. 81, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, คำต่อน, นางสิ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-คำต่อน, บุคคล-นางสิ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1900?lang=th |
267 |
จารึกฐานพระพุทธรูป (วัดโคกกัมภ์ กาฬสินธุ์) |
หลังปัลลวะ |
กล่าวถึงการสร้างสิ่งของอันใดอันหนึ่งเป็นกุศลทาน มีอานิสงส์ยังให้เกิดความสุขในโลกสวรรค์ |
จารึกฐานพระพุทธรูป (จังหวัดกาฬสินธุ์), กส. 5, กส. 5, ศิลา, ฐานพระพุทธรูป, จังหวัดกาฬสินธุ์, นายกีฏะ, เจนละ, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจข้อมูลเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2563) |
พุทธศตวรรษ 13-14 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/869?lang=th |
268 |
จารึกฐานพระปัจเจกพุทธวัดดอกเอื้อง |
ธรรมล้านนา |
ระบุว่าพระพุทธรูปองค์นี้เป็นพระปัจเจกพุทธ |
จารึกฐานรูปพระปัจเจกพุทธวัดดอกเอื้อง, ชม. 146, 268 วัดดอกเอื้อง, ชม. 146, 268 วัดดอกเอื้อง, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานรูปพระปัจเจกพุทธ, ล้านนา, พุทธ, ปัจเจกพุทธ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดดอกเอื้อง, พิธีกรรมทางศาสนา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกเอื้อง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระปัจเจกพุทธ |
วัดดอกเอื้อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1569?lang=th |
269 |
จารึกฐานพระกัจจายนะวัดดอกเอื้อง |
ธรรมล้านนา |
ไม่สามารถจับใจความได้ ทราบเพียงว่าเป็นการระบุถึงนามผู้มีศรัทธาสร้างรูปพระสาวกองค์นี้ |
จารึกฐานพระกัจจายนะวัดดอกเอื้อง, ชม. 147, 270 วัดดอกเอื้อง, ชม. 147, 270 วัดดอกเอื้อง, ไม้, ฐานประติมากรรมรูปพระกัจจายนะ, ล้านนา, พุทธเหตุการณ์, สาวก, กัจจายนะ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดดอกเอื้อง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกเอื้อง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระกัจจายนะ |
วัดดอกเอื้อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1489?lang=th |