อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นพิชชกา,
โพสต์เมื่อวันที่ 7 ต.ค. 2557 15:35:46 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2567 10:52:15 )
ชื่อจารึก |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5 |
ชื่อจารึกแบบอื่นๆ |
นน. 2059, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 8 (นน. 2059) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415) |
อักษรที่มีในจารึก |
ธรรมล้านนา |
ศักราช |
พุทธศักราช 2415 |
ภาษา |
บาลี, ไทย |
ด้าน/บรรทัด |
มีอักษรจารึก 6 บรรทัด ที่ด้านหน้าของฐานพระพุทธรูป |
วัตถุจารึก |
ไม้ |
ลักษณะวัตถุ |
ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย |
ขนาดวัตถุ |
พระพุทธรูปสูง 29 ซม. หน้าตักกว้าง 11 ซม. ส่วนที่มีจารึกกว้าง 12 ซม. สูง 9.5 ซม. |
บัญชี/ทะเบียนวัตถุ |
กองหอสมุดแห่งชาติ กำหนดเป็น “นน. 2059” |
ปีที่พบจารึก |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
สถานที่พบ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
ผู้พบ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
ปัจจุบันอยู่ที่ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พิมพ์เผยแพร่ |
การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน (กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2551), 211-214. |
เนื้อหาโดยสังเขป |
พ.ศ. 2415 หมื่นพิชชกาพร้อมด้วยบุตรและพี่น้องทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้บูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
ผู้สร้าง |
หมื่นพิชชกาพร้อมด้วยบุตรและพี่น้อง |
การกำหนดอายุ |
กำหนดอายุจากเลขศักราชที่ปรากฏในจารึกบรรทัดที่ 1 คือ “ศักพทะ 1234 ตัว” ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2415 |
ข้อมูลอ้างอิง |
เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล,โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2557,จาก : |
ภาพประกอบ |
ภาพถ่ายจารึกจาก : โครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 19-25 มกราคม 2551 |