จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
  • images

คำอ่าน-แปล

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6

จารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6

QR-code edit Share on Facebook print

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 13 ก.พ. 2550 13:59:58 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 7 ต.ค. 2566 19:28:25 )

ชื่อจารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

142 วัดดอกคำ, ชม. 116

อักษรที่มีในจารึก

ธรรมล้านนา

ศักราช

พุทธศักราช 2434

ภาษา

บาลี, ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 2 บรรทัด

วัตถุจารึก

ไม้

ลักษณะวัตถุ

ฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติ

ขนาดวัตถุ

สูง 39 ซม.

บัญชี/ทะเบียนวัตถุ

1) กองหอสมุดแห่งชาติ กำหนดเป็น “ชม. 116”
2) ในหนังสือ คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ กำหนดเป็น “142 วัดดอกคำ”

ปีที่พบจารึก

ไม่ปรากฏหลักฐาน

สถานที่พบ

วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้พบ

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ปัจจุบันอยู่ที่

วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

พิมพ์เผยแพร่

คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ (กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2519), 153-154.

ประวัติ

กำหนดจากศักราชที่ปรากฏในจารึกคือ จุลศักราช 1253 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2434 ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ (ครองเชียงใหม่ระหว่าง พ.ศ. 2416-2439)

เนื้อหาโดยสังเขป

จุลศักราช 1253 หนานโพธา นางคำทิพย์และลูกหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปไม้กุ่มเพื่อค้ำชูศาสนา และขอให้ผลบุญนำไปสู่นิพพาน

ผู้สร้าง

หนานโพธา นางคำทิพย์ และลูกทุกคน

การกำหนดอายุ

กำหนดจากศักราชที่ปรากฏในจารึกคือ จุลศักราช 1253 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2434 ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ (ครองเชียงใหม่ระหว่าง พ.ศ. 2416-2439)

ข้อมูลอ้างอิง

เรียบเรียงข้อมูลโดย : พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2548, จาก :
ฮันส์ เพนส์, “142 วัดดอกคำ,” ใน คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ (กรุงเทพฯ : คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2519), 153-154.

ภาพประกอบ

ภาพถ่ายจารึกจาก : คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ (กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2519)