ชุดข้อมูลจารึกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 (พ.ศ.2301-2400)
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 36 (จ. 47) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความที่ปรากฏมีเพียงการบอกวันเดือนปีเท่านั้น |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 36 (จ. 47), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 36 (จ. 47), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1386?lang=th |
2 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 35 (จ. 40) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการถวายทองคำหนัก 1 ตำลึง 2 บาท 1 สลึง 3 เฟื้อง |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 35 (จ. 40), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 35 (จ. 40), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1384?lang=th |
3 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 34 (จ. 39) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากปรากฏข้อความเพียง “….เห็นสาร ในพระศรีรัตนม…” |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 34 (จ. 39), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 34 (จ. 39), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1382?lang=th |
4 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 33 (จ. 37) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ ทราบเพียงว่ากล่าวถึงการปฏิสังขรณ์ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 33 (จ. 37), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 33 (จ. 37), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1380?lang=th |
5 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 32 (จ. 33) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการหลอมทองขึ้นหุ้มปลียอดพระศรีรัตนมหาธาตุ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 32 (จ. 33), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 32 (จ. 33), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1378?lang=th |
6 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 31 (จ. 32) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากปรากฏข้อความเพียง “…ภาณุมาคัคนากร จะฉาย…” |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 31 (จ. 32), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 31 (จ. 32), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1376?lang=th |
7 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 30 (จ. 31) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการเรี่ยไรทองจากกรรมการและญาติทายกทั้งหลาย |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 30 (จ. 31), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 30 (จ. 31), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2149?lang=th |
8 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 29 (จ. 27) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจาก ปรากฏเพียงข้อความว่า “ …ศรีราชสงครามราม…” |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 29 (จ. 27), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 29 (จ. 27), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ศรีราชสงคราม |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1374?lang=th |
9 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 28 (จ. 26) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ข้อความในจารึกทั้ง 2 บรรทัดไม่ต่อเนื่องกัน บรรทัดที่ 1 กล่าวถึง ฤกษ์ยาม ส่วนบรรทัดที่ 2 กล่าวถึง การช่วยเหลือสัตว์ทั้งหลายให้พ้นทุกข์ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 28 (จ. 26), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 28 (จ. 26), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1372?lang=th |
10 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 27 (จ. 20, จ. 21, จ. 22) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
จารึกนี้มีข้อความที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถจับใจความได้ แต่เนื่องจากข้อความที่ปรากฏเหมือนกับ จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34) จึงทำให้ทราบว่า กล่าวถึงการถวายทอง 2 ชั่งและโพธิ์ทองซึ่งประดับด้วยมณีจำนวน 4 ใบโดยออกขุนสบรมพรหมรักษาและญาติ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 27 (จ. 20, จ. 21, จ. 22), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 27 (จ. 20, จ. 21, จ. 22), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ออกขุนสบรมพรหมรักษา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1370?lang=th |
11 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 26 (จ. 19, จ. 19/1) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 26 (จ. 19, จ. 19/1), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1368?lang=th |
12 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 25 (จ. 17) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ท่านหาญณรายณ์ มีศรัทธาถวายทองแด่พระบรมธาตุ 2 ครั้ง โดยขอให้เป็นปัจจัยตราบเท่าถึงนิพพาน |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 25 (จ. 17), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 25 (จ. 17), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ท่านหาญณรายณ์ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1366?lang=th |
13 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ออกขุนสบรมพรหมรักษาและญาติมีจิตศรัทธานำทอง 2 ชั่ง และโพธิ์ทองซึ่งประดับด้วยมณีจำนวน 4 ใบ ถวายแด่พระศรีรัตนมหาธาตุ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ออกขุนสบรมพรหมรักษา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1364?lang=th |
14 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 23 (จ. 13) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความที่ปรากฏเป็นเพียงการกล่าวถึงฤกษ์ยามเท่านั้น |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 23 (จ. 13), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 23 (จ. 13), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1362?lang=th |
15 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 22 (จ. 12) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
หม่อมแพง, หลวงสงครามวิชิต, หม่อมเมือง, หม่อมเกิด, หม่อมชาติ, หม่อมรัดทอง, หม่อมชุ่มและหม่อมหุร ร่วมกันเรี่ยไรทองจากญาติทายก แล้วให้ช่างแผ่ทองหุ้มพระศรีรัตนมหาธาตุ โดยขอให้กุศลนี้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 22 (จ. 12), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 22 (จ. 12), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หม่อมแพง, บุคคล-หลวงสงครามวิชิต, บุคคล-หม่อมเมือง, บุคคล-หม่อมเกิด, บุคคล-หม่อมชาติ, บุคคล-หม่อมรัดทอง, บุคคล-หม่อมชุ่ม, บุคคล-หม่อมหุร |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2136?lang=th |
16 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 21 (จ. 8) |
ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากมีข้อความเพียง “…แผ่นดิน ข้าพระเจ้า ออกหลวงไชยปัญญา…” |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 21 (จ. 8), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 21 (จ. 8), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ออกหลวงไชยปัญญา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1338?lang=th |
17 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 18 (จ. 52) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2377 เจ้าคุณมารดามีจิตศรัทธาทำนุบำรุงพระบรมธาตุเจดีย์และระเบียง อีกทั้งนำทองคำเนื้อเจ็ดหุ้มยอดพระบรมธาตุ โดยขอให้สำเร็จสมบัติสามประการ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 18 (จ. 52), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2377, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, บุคคล-เจ้าคุณมารดา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2147?lang=th |
18 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 17 (จ. 2) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2377 สมภารไส วัดหน้าพระลาน นำทองขึ้นหุ้มพระบรมธาตุโดยขอให้ตนสำเร็จพระนิพพาน |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 17 (จ. 2), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 17 (จ. 2), อายุ-จารึก พ.ศ. 2377, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-สมภารไส |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1334?lang=th |
19 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 16 (จ. 4) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
จารึกแผ่นทองชิ้นนี้ มีเนื้อหาต่อเนื่องมาจาก จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 15 (จารึกแผ่นทอง จ. 5) กล่าวถึง การร่วมกันบริจาคทองคำสวมยอดพระบรมธาตุโดย ท่านคณะลังการาม ภิกษุสามเณร และญาติโยมทั้งปวง ใน พ.ศ. 2377 และขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 16 (จ. 4), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 16 (จ. 4), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2377, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-สุด |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2141?lang=th |
20 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 15 (จ. 5) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ข้อความตอนบนกล่าวถึงการหุ้มทองคำโดย สุด และขอให้ตนได้ทันพระศรีอารย์ ส่วนข้อความตอนล่างไม่สมบูรณ์ เป็นเพียงการเริ่มต้นบอกวันเดือนปี ระบุ พ.ศ. 2377 (ดูเพิ่มเติมได้ใน จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 15 (จารึกแผ่นทอง จ. 4 ซึ่งเป็นข้อความที่ต่อเนื่องไปจากตอนท้ายของจารึกชิ้นนี้) |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 15 (จ. 5), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 15 (จ. 15), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2377, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-สุด |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2143?lang=th |
21 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 14 (จ. 15) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2321 สมเด็จเจ้าพระสังฆราชาคณะลังกาชาด ว่าที่คณะลังการาม วัดประตูขาว พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสิน และเจ้ากรมฝ่ายใน ได้ชักชวนสัปปุรุษทายกเรี่ยไรทองคำได้จำนวน 1 ชั่งเศษ นำมาหุ้มบัวและวงลวดอกไก่บัวของพระเจดีย์ได้อย่างละ 1 รอบ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 14 (จ. 15), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 14 (จ. 15), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2321, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยธนบุรี, ยุคสมัย-จารึกสมัยธนบุรี-สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพลอยหัวแหวน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระสังฆราชาคณะลังกาชาด, บุคคล-พระเจ้าตากสินมหาราช |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2321 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1342?lang=th |
22 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 12 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้เป็นตอนจบของนิรยกถา กล่าวถึงโลกันตนรกซึ่งมีอยู่ในระหว่างจักรวาฬทั้งสาม จำนวนมากหากำหนดไม่ได้ ผู้มีนิยตมิจฉาทิฏฐิย่อมไปเกิดในมหาตาปนรกและมหาอเวจีนรกก่อนจะไปยังโลกันตนรก ไม่แต่เท่านั้น ผู้มีนิยตมิจฉาทิฏฐิเมื่อสิ้นชีวิตก็จะไปตกในโลกันตนรกเช่นเดียวกัน |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 12, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 12, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, โลกันตนรก, จักรวาฬ, เกวียน, วิมาน, เทวบุตร, เทวธิดา, อัชภากาศ, นิยตมิจฉาทิฏฐิ, มหาตาปนรก, มหาอเวจีนรก, โลกันตนรก, เขาจักรวาฬ, ค้างคาว, อกุศลกรรม, พญาโจรนาค, อภัยโจร, คัมภีร์พระมหาวงศ์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15120?lang=th |
23 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 11 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึงยมโลกนรกต่อจากจารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 10 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 11, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 11, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, ธิดา, สามี, สังวาส, บดสัตว์, ศิลาบด, เหา, เลน, มิสักะบัตตะนรกที่ 6, มิสักะบัตตะนรกที่ 6, นายนิริยบาล, สัตว์นรก, แผ่นดินเหล็ก, ภูเขาเหล็ก, เบญจขันธ์, ตำโพทะนรกที่ 7, ตำโพทะนรกที่ 7, น้ำทองแดง, เบ็ด, โจรกรรม, อโยคุละนรกที่ 8, อโยคุละนรกที่ 8, ก้อนเหล็กแดง, คีมเหล็ก, ก้อนเหล็กแดง, การสงคราม, อะสิอาวุทธนักขนรกที่ 9, อะสิอาวุทธนักขนรกที่ 9, พรานปืน, ยิงสัตว์, ยันตะบำสานรกที่ 10, ยันตะบำสานรกที่ 10, ศิลายนต์, ยมโลกนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15118?lang=th |
24 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 10 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
จารึกเรื่องนิรยกถา ติดอยู่ที่เสาในประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ ใน “การปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพน : ถอดจากโคลงดั้นพระนิพนธ์กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส” ไม่ได้กล่าวถึงจารึกเรื่องนิรยกถา กล่าวถึงเพียงเรื่องเปรตกถา แต่เมื่อพิจารณาจากรูปอักษรและลายสลักที่กรอบจารึกแล้ว เห็นว่าน่าจะเป็นจารึกชุดเดียวกัน นอกจากนั้น ในจารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 1 บรรทัดที่ 1-3 ได้ระบุถึงพระราชโองการที่ให้กรมหมื่นไกรสรวิชิตจัดการให้ช่างจารึกเรื่องนิรยกถา และเปรตกถา ไว้ที่คอ 2 มุขหน้าและมุขหลังของศาลาการเปรียญอีกด้วย |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 10, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 10, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, ยมโลกนรก, โลหะกุมภีนรก, สิมพะลีนรก, โยทะนรก, ผูสะนรก, ตำโพทะนรก, สุนักขนรก, มิสกะบรรพตะนรก, อโยคุละนรก, อะสีอาวุธนักขนรก, ยันตปาสานรก, สมณะ, พราหมณ์, หมอเหล็ก, โลหกุมภีนรก, นายนิริยะบาล, ไม้งิ้ว, สิมพะลีวันนรก, แร้ง, กา, นกตะกรุม, สุนักข์, ช้างสาร, หลาว, หอก, โยทะนรก, สัตว์นรก, แกลบ, ข้าวเปลือก, ข้าวสาร, ผูสะนรก, สุนัขนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15116?lang=th |
25 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 9 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึงอุสุทธนรกต่อจากแผ่นที่ 8 ดังนี้สมณะที่ไม่มีศีลแต่หลอกให้ประชาชนเลื่อมใส บุคคลที่ฆ่าสัตว์น้ำด้วยเบ็ดและอาวุธ บุคคลที่จับสีตว์มาทอดด้วยน้ำมัน บุคคลที่เอามูตร (หรือน้ำปัสสาวะ) ของช้าง ม้า และคนใส่ลงในอาหารให้ผู้อื่น บุคคลที่เอาน้ำเน่าหรือน้ำผสมยาพิษให้ผู้อื่นดื่มกิน บุคคลที่ดื่มสุรา ทั้งหมดทั้งหลายเหล่านี้ย่อมไปตกในเวตรนีนทีนรก อันเต็มไปด้วยน้ำเค็มอันขังอยู่เต็มไปด้วยไปด้วยเครือหวาย และขวากกรด มีนายนิริยะบาลเอาเบ็ดเกี่ยวปากสัตว์นรกแล้วลากขึ้นมาจากน้ำ เอาน้ำทองแดงกรอกปาก หรือแทงสัตว์นรกด้วยหลาวและฉมวก |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 9, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 9, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, เต่า, ปลา, เบ็ด, ลอบ, สุ่ม,ไซ, หลาว, ฉมวก, ช้าง, ม้า, สุรา, เวตรนีนที, เครือหวาย, น้ำทองแดง, ค้อนเหล็ก, ค้อนทองแดง, นายนิริยะบาล, สัตว์นรก, หลาว, ฉมวก, ค้อนเหล็ก, เขียง, อุสุทนรก, ยมโลก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15114?lang=th |
26 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 8 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึงอุสุทธนรกซึ่งมีทั้งหมด 128 ขุมซึ่งมีสัณฐานเป็นรูป 4 เหลี่ยม มีกำแพงล้อม 4 ด้าน ตั้งอยู่ที่นรกขุมใหญ่ แต่ละมุมของนรกขุมใหญ่ นั้นจะมีอุสุทธนรกมุมละ 4 ขุม ได้แก่ คูธนรก กุกุลนรก อสิปัตวันนรก และเวตะระนีนทีนรก มีภูเขาเหล็กชื่อกันนิกะบรรพตเป็นที่กำหนดแดน คนที่จับสัตว์มาทิ้งลงในหลุม คนที่ขัดลาภสงฆ์ คนทุจริต คนที่จับคนหรือสัตว์มามัดไว้ข่มเหงรังแกจะตกในคูธนรก |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 8, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 8, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, อุสุทธนรก, คูธนรก, กุกุลนรก, อสิปัตวันนรก, เวตะระนีนทีนรก, กันนิกะบรรพต, กุกุลนรก, อิสิปัตะวันนรก, สุนัข, ช้างสาร, แร้ง, กา, นกตะกรุม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15112?lang=th |
27 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 6 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึงสภาพของสัตว์นรกหรือคนบาปที่จะถูกลงโทษอย่างทุกข์ทรมานด้วยวิธีการต่างๆ ตามผลกรรมที่กระทำมา ได้แก่ บุคคลผู้ตัดศีรษะมนุษย์และสัตว์ หรือเผาสัตว์ทั้งเป็น รวมถึงผู้ลักขโขมยของวัด เมื่อตายไปจะไปกิดในมหาโรรุวนรก จมอยู่ในดอกบัวเหล็กร้อนด้วยเปลวเพลิงรุ่งโรจน์ |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 6, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 6, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, มหาตาปนรก, มหาตาปนนรก, มหาเวจีนรก, มหาอเวจีนรก, นายนิริยบาล, สัตว์นรก, กาลสูตรนรก, กาลสูตนรก, เชือก, พรวนเครือเขา, พร้า, ขวาน, พืดเหล็ก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12868?lang=th |
28 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 5 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึงสภาพของสัตว์นรกหรือคนบาปที่จะถูกลงโทษอย่างทุกข์ทรมานด้วยวิธีการต่างๆ ตามผลกรรมที่กระทำมา ได้แก่ บุคคลผู้กระทำทารุณกรรมต่อสัตว์ เช่น ฝึกช้าง ม้า โค กระบือ ให้ได้รับความเจ็บปวดสาหัส เมื่อตายไป ก็ไปเกิดในสังฆาฏนรก ซึงเต็มไปด้วยเปลวเพลิงอันร้อน ผู้ที่ไปเกิดในนรกขุมนี้นั้นจะมีร่างกายอันวิปริต มีศีรษะเป็นกระบือ ช้าง ฯลฯ โดนนายนิริยบาลเอาพวนเหล็กอันใหญ่ลุกเป็นไฟผูกเข้า แล้วตีด้วยค้อนเหล็ก ให้วิ่งไปเหมือนโคกระบือ |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 5, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 5, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, มหาตาปนรก, มหาตาปนนรก, มหาเวจีนรก, มหาอเวจีนรก, นายนิริยบาล, สัตว์นรก, กาลสูตรนรก, กาลสูตนรก, เชือก, พรวนเครือเขา, พร้า, ขวาน, พืดเหล็ก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12864?lang=th |
29 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 4 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึง สภาพของสัตว์นรกหรือคนบาปที่จะถูกลงโทษอย่างทุกข์ทรมานด้วยวิธีการต่างๆ ตามผลกรรมที่กระทำมา ได้แก่ บุคคลที่ฆ่าสัตว์ไม่ว่าจะฆ่าด้วยตนเองหรือให้ผู้อื่นฆ่า เมื่อตายไปแล้วจะไปเกิดในสัญชีวนรก โดนนายนิริยบาลแล่เนื้อให้เหลือแต่กระดูก ปล่อยให้ร้องครวญครางจนตายในนรก แล้วจะมีลมพัดให้ฟื้นขึ้นมาได้อีก และจะโดนแล่เนื้ออีก เสวยทุกขเวทนาเช่นนี้ซ้ำๆ สืบไป |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 4, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 4, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, มหาตาปนรก, มหาตาปนนรก, มหาเวจีนรก, มหาอเวจีนรก, นายนิริยบาล, สัตว์นรก, กาลสูตรนรก, กาลสูตนรก, เชือก, พรวนเครือเขา, พร้า, ขวาน, พืดเหล็ก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12841?lang=th |
30 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึงนรก 8 ขุม ได้แก่ สัญชีวนรก กาลสูตรนรก สังฆาฏนรก โรรุวนรก มหาโรรุวนรก ตาปนรก มหาตาปนรก และมหาอเวจีนรก |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 3, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 3, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, มหานรก, สัญชีวนรก, กาลสูตนรก, สังฆ่ฏนรก, โรรุวนรก, มหาโรรุวนรก, ตาปนรก, มหาตาปนรก, มหาอเวจีนรก, อุสุทนรก, ยมดลกย์นรก, พญายมราช, นิริยคุตอำมาตย์, เวมานิกเปรต, วิมานแก้ว, วิมานทอง, สัญชีวมหานรก, โรรุวมหานรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12839?lang=th |
31 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เรื่องราวในจารึกแผ่นนี้กล่าวถึง การไต่สวนคนบาปในนรก ต่อจากแผ่นที่แล้ว กล่าวคือ เมื่อเมื่อวิญญาณถูกคร่าไปยังนรก พญายมจะถามว่า เคยเห็นเทวทูตทั้ง 5 อันได้แก่ (1) ทารกที่เพิ่งเกิด (2) คนชรา (3) คนป่วยไข้ (4) นักโทษที่ถูกลงโทษโบยตี และ (5) คนตาย หรือไม่หากผู้ใดตอบว่า เห็นแล้ว และเกิดความสังเวชในจิตใจ หรือระลึกเห็นธรรมได้ พญายมจะส่งผู้นั้นไปยังสุคติภูมิ และหากผู้ใดตอบว่า เห็นแล้วแต่มิได้เกิดความสังเวชใดๆ พญายมจะขว้างผู้นั้นลงนรก เพราะมีใจบาปหยาบช้า |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 2, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 2, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, เทวทูตสูตร, โจรกรรม, ราชบุรุษ, คนตาย, คนป่วย, อกุศลกรรม, พญายมราช, กุศล, อบายภูมิ, สุคติภพ, ทุคติภพ, นายนิริยบาล, นายนิรยบาล, นรก, นวพรรณ ภัทรมูล, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12837?lang=th |
32 |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เมื่อปี จ.ศ. 1200 (พ.ศ. 2381) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการให้กรมหมื่นไกรสรวิชิตให้ช่างจารึกเรื่องนิรยกถา และเปรตถถา ไว้ที่คอ 2 มุขหน้า และมุขหลัง ของศาลาการเปรียญ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยเริ่มจากเทวทูตสูตร ซึ่งเป็นสูตรที่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องเทศนาเพื่อให้พิจารณาเห็นทุกข์ และเหตุแห่งทุกข์ผู้ใดประพฤติดีก็จะได้ไปสู่สุคติ หรือสรวงสวรรค์ ส่วนผู้ใดประพฤติบาปหยาบช้าก็จะได้ไปสู่ทุคติ ได้แก่ นรก หรือเปรตภูมิ เป็นต้น |
จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 1, จารึกเรื่องนิรยกถา แผ่นที่ 1, นิรยกถา ศาลาการเปรียญ, จารึก พ.ศ. 2381, จารึก พ.ศ. 2381, หินอ่อนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, กรมหมื่นไกรสรวิชิต, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่, การสร้างศิลาจารึก, เทวทูตสูตร, ธรรมสังเวช, ทุกข์, อริยสัจ, สมุทัย, มรรคสัจ, พระพุทธเจ้า, นิโรธสัจ, นิพพาน, วจีสุจริต, มโนสุจริต, เบญจขันธ์, สุคติภพ, กสยทุจริต, เปรต, ยมโลก, นายนิริยบาล, สำนักพญายมราช, ผ้าอ้อม, ทารก, คนชรา, ไม้เท้า, รัชกาลที่ 3, รัชกาลที่ 3, เทวทูตสูตร, นวพรรณ ภัทรมูล, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ, แขวงพระบรมมหาราชวัง, เขตพระนคร, กรุงเทพมหานคร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน,วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ |
เสาในพระประธานมุขหลัง ศาลาการเปรียญ (โบสถ์เก่า) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
บาลี,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12835?lang=th |
33 |
จารึกเรื่องทรงสร้างวัดพระเชตุพน ครั้งรัชกาลที่ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงรายละเอียดในการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถวัดโพธาราม (วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือ วัดโพธิ์ในปัจจุบัน) ตั้งแต่ พ.ศ. 2331-2341 กล่าวคือ |
จารึกในวิหารพระโลกนาถ, หลักที่ 131, 131, พ.ศ. 2331, 2336, 2337, 2344, จ.ศ. 1151, 1155, 1156, 1163, 2331, 2336, 2337, 2344, 1151, 1155, 1156, 1163, หินอ่อนสีดำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, ร.1, ร. 1, รัชกาลที่ 1, จักรี, รัตนโกสินทร์, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร. 1, วิหารพระโลกนาถ, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, วัดโพธิ์, วัดโพธาราม, วัดเขาอินทร์, สววรคโลก, ศรีสัชนาลัย, สุโขทัย, อยุธยา, กรุงเก่า, พุทธศาสนา, บำเพ็ญพระราชกุศล, ทำบุญ, พระศรีสรรเพชญ์, พระพุทธชินสีห์, พระโลกนาถ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สมคิด จิระทัศนกุล, วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2344, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1 |
ผนังด้านหน้า ในพระวิหารพระโลกนาถฯ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2344 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1151?lang=th |
34 |
จารึกเจ้าอารามคันธะ |
ฝักขาม |
ด้านแรกเป็นยันต์รูปสี่เหลี่ยม ด้านที่ 2 กล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปโดยเจ้าอาวาสคันธา เมื่อปี พ.ศ. 2369 และได้มีการจัดงานฉลองพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น ในปี พ.ศ. 2370 เจ้าอาวาสคันธายะ รองเจ้าอาวาสชู สามเณรทั้ง 12 รูป ตลอดจนศรัทธาทั้งหลายได้ร่วมกันสร้างกำแพงและธรรมมาสน์ขึ้นในการนี้ด้วย |
ชม. 30 จารึกวัดศรีคำชมพู, ชม. 30 จารึกวัดศรีคำชมพู, ชม. 30 จารึกเจ้าอารามคันธะ พ.ศ. 2370, ชม. 30 จารึกเจ้าอารามคันธะ พ.ศ. 2370, ชม. 30, ชม. 30, วัดศรีคำชมภู ตำบลป่าบง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2370, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-เจ้าอาวาสคันธา, บุคคล-เจ้าอาวาสคันธายะ, รองเจ้าอาวาสชู |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2370 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14435?lang=th |
35 |
จารึกเจ้าอัตถวรราชสร้างวิหาร |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2341 เจ้าอัตถวรราช ได้เป็นประธานสร้างมหาวิหาร, มหาเจดีย์ และพระพุทธรูป |
จารึกเจ้าอัตถวรราชสร้างวิหาร, นน. 6, นน. 6, พ.ศ. 2341, พุทธศักราช 2341, พ.ศ. 2341, พุทธศักราช 2341, จ.ศ. 1160, จุลศักราช 1160, จ.ศ. 1160, จุลศักราช 1160, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมาชำรุด, วัดบุญยืน, ตำบลกลางเวียง, อำเภอเวียงสา, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ภิกขุ, ศิษยานุศิษย์, อริยสงฆ์รอง, อัตถวรราช, ราชบุตราบุตรี, บิดามารดา, มหายุวราชหอหน้า, มหายุพราชหอหน้า, ราชกุลวงศา, ราชขระกูล, ราชกัญญา, ไวยาวัจกร, ผู้ข้า, เมิงพ้อ, เมืองพ้อ, พุทธศาสนา, พระวิหารเจดีย์, วัด, สร้างแปลงมหาวิหาร, สร้างแปลงมหาเจดีย์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีมังกร, พระจันทร์, พระพุธ, พระราหู, ราศีมีน, พระอังคาร, พระพฤหัสบดี, พระเกตุ, ราศีพฤษภ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระเสาร์, มฤตยู, ราศีกรกฎ, จุลศักพัท, อัสสะ, สนำ, ฉนำ, กัมโพช, ขอมพิสัย, คิมหันตฤดู, กาฬปักษ์, จตุคุรุวาร, ไถง, ไทยภาษา, ปีเปิดซง้า, เม็ง, มอญ, ไทยกาบยี, ฤกษ์, ยามกลองงาย, บรมวรปฐมมูลสัทธาภายใน, ปฐมมูลสัทธาภายนอก, รัฏฐาธิบดีชัยนันทบุรี, พุทธพิมพ์รูปเจ้า, พระพุทธรูป, วจกรรม, เนรพาน, นิพพาน, เปรตวิสัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2341, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบุญยืน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดบุญยืน ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2341 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1540?lang=th |
36 |
จารึกเจ้าอัตถวรปัญโญเสริมยอดพระธาตุแช่แห้ง |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1151 (พ.ศ. 2332) เจ้าอัตถวรปัญโญ ทำการเสริมยอดพระธาตุที่หักลง ร่วมกับพระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ชาวเมือง รวมถึงภิกษุสามเณรในเมืองน่าน ตอนท้ายแสดงความปรารถนาให้ถึงแก่นิพพาน |
จารึกเจ้าอัตถวรปัญโญเสริมยอดพระธาตุแช่แห้ง, พ.ศ. 2332, 2332, 1151, 1151, นน. 16, นน. ๑๖, หินชนวน, แผ่นหินรูปใบเสมา, ล้านนา, สยาม, ไทย, หลวงติ๋นมหาวงศ์, รัตนโกสินทร์, เจ้าอัตถวรปัญโญ, อัตถวรราช, น่าน, พระธาตุแช่แห้ง, พุทธศาสนา, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อุดม รุ่งเรืองศรี, พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง, กรรณิการ์ วิมลเกษม, ดำรงวิชาการ : รวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดี 2545,อายุ-จารึก พ.ศ. 2332, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2332 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1982?lang=th |
37 |
จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดและการสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่กรุงพนมเปญ โดยเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ใน พ.ศ. 2385 เมื่อครั้งที่ยกทัพไปปราบญวนในประเทศกัมพูชา ตอนท้ายกล่าวอุทิศส่วนกุศลให้เทวดาผู้คุ้มครองเจดีย์และสาปแช่งผู้ที่คิดจะมาทำลาย |
L’INSCRIPTION THAїE DU VATT BUDDHAGHOSACARY DE PHNOM-PENH (K.1213), จารึกเจ้าพระยาบดินเดชา (สิงห์ สิงหเสนี), จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213), จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213), พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2385, จ.ศ. 1204, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2385, จ.ศ. 1204, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2385, จ.ศ. 1204, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2358, จ.ศ. 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2385, จุลศักราช 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2385, จุลศักราช 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2385, จุลศักราช 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1204, หินทราย, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, จักรี, รัตนโกสินทร์, เจ้าพระยาบดินทรเดชา, สิงห์ สิงหเสนี, กัมพูชา, เขมร, กัมพุช, กำพุช, เวียดนาม, พนมเปญ, ญวน, พุทธศาสนา, ปฏิสังขรณ์, บูรณะ, สงคราม, ญวน, เจดีย์, พระสารีริกธาตุ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ประวัติเจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค), ประวัติเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ประวัติเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม), ศานติ ภักดีคำ, ดำรงวิชาการ, Olivier de Bernon, Dedications to Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra on her 80th birthday, อายุ-จารึก พ.ศ. 2385, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพุทธโฆสาจารย์ พนมเปญ กัมพูชา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าพระยาบดินทรเดชา |
หน้าพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา |
พุทธศักราช 2385 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2536?lang=th |
38 |
จารึกเจ้าครูศีลาภิรัตน์ |
ไทยน้อย,ธรรมอีสาน |
จารึกด้านที่ 1 จารึกด้วยอักษรธรรมอีสาน เนื้อความในจารึกกล่าวถึงเจ้าครูศีลาภิรัตน์ พร้อมด้วยภิกษุ สามเณร และสัปบุรุษ ประดิษฐานพัทธสีมาไว้ในพระบวรพุทธศาสนา เมื่อ พ.ศ. 2464 จารึกด้านที่ 2 จารึกด้วยอักษรไทยน้อย เนื้อความในจารึก กล่าวถึงเจ้าพระยาจันทสุริยวงศา เมืองมุกดาหาร ได้สร้างพัทธสีมาไว้ในพระพุทธศาสนา เมื่อ พ.ศ. 2349 |
นพ. 6, นพ. 6, จารึกเจ้าครูศีลาภิรัตน์, จารึกวัดพระธาตุพนม 3, จารึกวัดพระธาตุพนม 3, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, ประตูด้านทิศตะวันออกของวิหารทิศใต้, วัดพระธาตุพนม, ตำบลธาตุพนม, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ครูสีลาภิรัตน์, ภิกษุสามเณร, อุบาสกอุบาสิกา, ขุนพิทักษ์พนมเขต, กำนัน, พระอนุรักษ์, นายเหล็ก, นายทองอิน, นายจาม, ประธาน, กับสัปปุรุษ, พระอรหันตาเจ้า, นายชาลี, นายอุ่น, บุญมา, หลวงปากดี, นายเรือง, นายจารย์สีนวล, นายฝัน, จารย์แดง, เจ้าพระยาจันทสุริยวงศา, บุตรนัดดาภรรยา, อัคคมหาเสนา, เจ้าใหญ่, พระยาหลวงเมืองจัน, ขุนโอกาส, เจ้าสังฆราช, อันเตวาสิก, อรหันตา, ทรัพย์, เมืองมุกดาหาร, พุทธศาสนา, ประดิษฐานพัทธสีมา, ปีระกา, ความสุข, เหตุ, ปัจจัย, พระนิพพาน, ปีรวายยี, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา), อุรังคนิทาน : ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร), สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2349, อายุ-จารึก พ.ศ. 2464, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนม นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, บุคคล-เจ้าครูศีลาภิรัตน์, บุคคล-เจ้าพระยาจันทสุริยวงศา, บุคคล-เจ้าพระยาหลวงเมืองจัน |
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมรัตนโมลีศรีโคตรบูร วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2349 และ 2464 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2171?lang=th |
39 |
จารึกหีบพระธรรม วัดสถารศ |
ธรรมล้านนา |
หนานดวงเป็นประธานในการสร้างหีบธรรมร่วมกับภรรยานามว่านางแพงและลูกทุกคนรวมถึงญาติและทาสชายหญิง เมื่อ พ.ศ. 2383 |
จารึกหีบพระธรรม วัดสถารศ, นน. 57, จารึกหีบพระธรรม วัดสถารศ, นน. 57, จุลศักราช 1202, พุทธศักราช 2383, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2383, จ.ศ. 1202, พ.ศ. 2383, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2383, ไม้, ขอบปากหีบพระธรรมลายรดน้ำ, วัดสถารศ ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พุทธ, การสร้างหีบพระธรรม, สุวรรณคำแดง, รักหางอย่าง, ชาด, ปิดทอง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ,อายุ-จารึก พ.ศ. 2383, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนหีบพระธรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างหีบพระธรรม, บุคคล-หนานดวง, บุคคล-นางแพง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2383 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1920?lang=th |
40 |
จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1157 พระสงฆ์นามว่าทิพพาลังการเป็นประธานแก่ศิษย์ทุกคน โดยมีมหาราชหลวงเป็นองค์อุปถัมภ์ พร้อมด้วยขุนนาง นางโนชาและชาวบ้านน้ำลัดร่วมกันสร้างหีบพระธรรม โดยขอให้ได้พบสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน, จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน, นน. 55, ย. 6, จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน, นน. 55, ย. 6, จุลศักราช 1157, พุทธศักราช 2338, 1157, 2338, ไม้, ฝาหีบพระธรรม, วัดบุญยืน ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, สาธุเจ้าทิพลังการ, นางโนชา, ชาวบ้านน้ำลัด, เมืองน่าน, พุทธ, การสร้างหีบพระธรรม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2338, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนหีบพระธรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างหีบพระธรรม, บุคคล-ทิพพาลังการ, บุคคล-นางโนชา, บุคคล-ชาวบ้านน้ำลัด |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2338 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1873?lang=th |
41 |
จารึกหน้าอุโบสถวัดพระสิงห์ |
ฝักขาม |
เมื่อวันพุธ เพ็ญเดือน 6 จุลศักราช 1173 พระมหาธรรมิกราชาธิราช เจ้าเมืองเชียงใหม่, พระมหาอุปราชานรินทา, เจ้าราชบุตร-ราชนัดดา, พระอัครมเหสี ตลอดจนเสนาอำมาตย์ ได้นิมนต์สมเด็จพระสังฆราชเพื่อร่วมสร้างพระอุโบสถหลังนี้ ซึ่งประดับด้วยลายทองสวยงามตามแบบโบราณ เช่นเดียวกับในสมัยของบูรพกษัตริย์ ได้แก่ พระเจ้าแสนเมืองมา และพระเมืองแก้ว มีการบริจาคเงินค่าวัสดุอุปกรณ์ในการประดับตกแต่งพระอุโบสถ |
ชม. 12 จารึกมหาอารามราชสัณฐานสิงห์หลวง, ชม. 12 จารึกมหาอารามราชสัณฐานสิงห์หลวง, ชม. 12 จารึกหน้าอุโบสถวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2354, ชม. 12 จารึกหน้าอุโบสถวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2354, ชม. 22, ชม. 22, วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาแสนเมืองมา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเมืองแก้ว, บุคคล-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-พญาแสนเมืองมา, บุคคล-พระเมืองแก้ว, ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551) |
วัดพระสิงห์ ถนนสามล้าน ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ (ข้อมูลเดิมอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14419?lang=th |
42 |
จารึกหน้าศาลหลักเมืองกาญจนบุรี |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงประวัติการสร้างเมือง ป้อม และกำแพงเมืองกาญจนบุรี รวมถึงการสร้างและปฏิสังขรณ์วัดในเมืองและในกรุงเทพมหานครโดย พระยาประสิทธิสงคราม เจ้าเมืองกาญจนบุรี |
จารึกหลักเมืองกาญจนบุรี, กจ. 1, กจ. 1, จารึกก่อกำแพงป้อมประตูเมืองกาญจน์, จุลศักราช 1193, พุทธศักราช 2374, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2378, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, จุลศักราช 1193, พุทธศักราช 2374, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2378, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, จ.ศ. 1193, พ.ศ. 2374, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2378, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, จ.ศ. 1193, พ.ศ. 2374, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2378, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194บุคคล : พระยาท้ายน้ำ, พระยาพระคลัง, พระยามหาโยธา, พระยาพระหลวง, ขุนหมื่น, ปุโรหิต, พราหมณ์, จังหวัดกาญจนบุรี, กรุงเทพมหานคร, พุทธ, การสร้างเมือง, ปฏิสังขรณ์ อื่นๆ : เครื่องอาถรรพ์, ศิลาอาถรรพ์, เทียนไชย, ทองแดงอาถรรพ์ |
หน้าศาลหลักเมือง ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1112?lang=th |
43 |
จารึกสุวรรณปราสาท |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกด้านที่ 1 กล่าวถึงพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, พระอัครราชเทวี และพระราชโอรส ว่าทรงมีความเลื่อมใสในพุทธศาสนา จึงมีบัญชาให้สร้างปราสาทตกแต่งด้วยทองคำ, สร้างพระพุทธรูป และนิมนต์พระพุทธธาตุเจ้ามาประดิษฐานไว้ ณ สุวรรณปราสาท ส่วนข้อความจารึกด้านที่สอง เป็นคำอธิษฐาน ภาษาบาลี |
ชม. 8 จารึกพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, ชม. 8 จารึกพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, จารึกบนแผ่นไม้สัก ในพุทธสถาน อักษรไทย (ฝักขาม) และไทยเหนือ ภาษาไทยและบาลี จ.ศ. 1166, จารึกบนแผ่นไม้สัก ในพุทธสถาน อักษรไทย (ฝักขาม) และไทยเหนือ ภาษาไทยและบาลี จ.ศ. 1166, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, ไม้สัก, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จเสฏฐาบรมบพิตรราชาราชเจ้า, พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, องค์สุรศักดิ์สมญามหาอุติตยราชชาติราไชยศาคต, เจ้าขันธเสมาพิงตราเชียงใหม่, ราชโอรสาบุตรอุตมสิเนหา, อัครราชเทวี, พระอรหัต, สุวรรณคำ, ผอบแก้ว, พระพุทธธาตุเจ้า, ทอง, อริยทรัพย์, อวโกธะ, โภคทรัพย์, แก้วมณี, พิงไชย, พุทธศาสนา, สุวรรณปราสาท, พระตำนงค์, ทำทาน, สร้างปราสาท, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, พระพุธ, พระราหู, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีเมษ, ดิถี, นาที, ฤกษ์, ปีกาบไจ้, มาฆมาส, ปุรณมี, ไทยภาษา, เพ็ง, เม็ง, กดไจ้, เทวดา, เตโช, ราศีมีน, ราชธรรม, จิตรกรรม, ลายดอก, สังสารวัฏ, มงคลสามสิบแปด, บุญ, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2347, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การสร้างปราสาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 (มีนาคม 2515) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2347 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2156?lang=th |
44 |
จารึกสำโรง (ภาษาไทย) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2388 พระสุนทรานุรักษ์ ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลา มีศรัทธาสร้างสาธารณประโยชน์ 5 อย่าง ได้แก่ ถนน บ่อน้ำ สะพาน ศาลาและศาลเทพารักษ์ จึงนำเรื่องการสร้างสะพานเรียนพณฯ พระยาวิเชียรคีรี เจ้าคุณเมืองสงขลา ท่านจึงชักชวนผู้คนร่วมบริจาคทรัพย์ได้ 2312 เหรียญ 3 สลึง โดยกล่าวถึงการสร้างและเฉลิมฉลองอย่างละเอียด |
สข. 5, สข. 5, จารึกสำโรง (ภาษาไทย), ศิลาจารึกสามภาษาที่สำโรง, พ.ศ. 2388, พุทธศักราช 2388, พ.ศ. 2388, พุทธศักราช 2388, หินแกรนิต, แผ่นหินรูปทรงคล้ายใบเสมาขนาดใหญ่, โรงพยาบาลประสาท ใกล้สามแยกสำโรง อำเภอ เมือง จังหวัด สงขลา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระสุนทรานุรักษ์, ผู้ว่าราชการเมืองสงขลา, พระยาวิเชียรคีรี, เจ้าคุณเมืองสงขลา, ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลา, การสร้างสาธารณประโยชน์, เฉลิมฉลอง, สงขลา, พุทธ, แขก, จีน, ไทย, มัคนายก, ถนน, สะพาน, บ่อน้ำ, ปืนใหญ่, บรมธาตุ, สังสารวัฏ |
ศาลเทพารักษ์ในบริเวณโรงพยาบาลประสาท ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ 472 ถนนไทรบุรี ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000 (สำรวจเมื่อ 26 กุมภาพันธ์-1 มีนาคม 2561) |
พุทธศักราช 2388 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1104?lang=th |
45 |
จารึกวัดไตรภูมิ 2 |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงเจ้าเมืองหงสาวดี (เมืองหนึ่งของล้านช้าง อยู่ในแขวงไชยบุรี ใกล้หลวงพระบาง) 2 พี่น้องมาตั้งเมืองไชยสุทธิอุตมบุรี (ไชยบุรี) เมื่อปีจอ (พ.ศ. 2357) และพร้อมใจกันสร้างวัดมหาอุตมนันทอาราม |
จารึกวัดไตรภูมิ 2, จารึกวัดไตรภูมิ 2, นพ. 4, นพ. 4, พ.ศ. 2383, พุทธศักราช 2383, พ.ศ. 2383, พุทธศักราช 2383, พ.ศ. 2375, พุทธศักราช 2375, พ.ศ. 2375, พุทธศักราช 2375, หินทราย, รูปใบเสมา,วัดไตรภูมิ, บ้านไชยบุรี, อำเภอท่าอุเทน, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, เจ้าพระยาหงสาวดี, พี่น้อง, หัวครูโส, หัวครูโกษ, เป็นเค้า, ลูกเต้าศิษย์โยม, ภายนอก, กรรมการฝ่ายฆราวาส, กรรมการฝ่ายสงฆ์, ภายใน, สิบร้อย, พระพุทธเจ้า, แก้วชื่อ, เมืองไชยสุทธิอุตมบุรี, เมืองไชยบุรี, เมืองชัยสุทธิอุตมบุรี, เมืองชัยบุรี, เมืองแก้ว, พุทธศาสนา, มหาอุตมนันทอาราม, สร้างวัด, พุทธบัวบาท, ปีกดเส็ด, ไทยภาษา, ปีจอ, ปีรับไส้, ปีฮับไส้, ปีดับไส้, ปีมะเส็ง, เพ็ง, พระวัสสา, นิรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, กนกวรรณ โสภณวัฒนวิจิตร, นครพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2383, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดไตรภูมิ นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ไชยสุทธิ์อุตมบุรี, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดสุนันทมหาอาราม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง |
วัดไตรภูมิ บ้านไชยบุรี อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2383 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2209?lang=th |
46 |
จารึกวัดไตรภูมิ 1 |
ธรรมอีสาน |
เจ้าเมืองหงสาวดีพี่น้อง ซื่งย้ายมาจากเมืองหงสา หรือ หงสาวดี อยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขงบริเวณไชยบุรี ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปัจจุบัน ได้มาตั้งเมืองใหม่บริเวณปากน้ำสงคราม ตั้งชื่อเมืองใหม่ว่า เมืองไชยสุทธิ์อุตมบุรี และพร้อมด้วยเสนามาตย์ ได้พร้อมกันสร้างวัดสุนันทมหาอาราม |
นพ. 2, นพ. 2, จารึกวัดไตรภูมิ 1, จารึกวัดไตรภูมิ 1, พ.ศ. 2357, พุทธศักราช 2357, พ.ศ. 2357, พุทธศักราช 2357, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา ชำรุด, วัดไตรภูมิ, ตำบลชัยบุรี, อำเภอท่าอุเทน, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, พระพุทธเจ้า, เจ้าพระยาหงสาวดี, พระองค์พี่น้อง, เจ้าราชวังหน้า, เสนาอมาตย์สิบร้อย, หัวครูพุทธา, เจ้าซาด้านแก้ว, เจ้าซาปะนาย, เจ้าซาสา, เจ้าซายา, เจ้าซาสิทธา, เจ้าสมเด็จพุทธา, สงฆ์จั้วเณร, สมเด็จพระองค์, พุทธองค์เจ้า,ไชยสุทธิอุตมบุรี, พุทธศาสนา, ศรีสุนันทมหาอาราม, สร้างเมือง, สร้างวัด, พระวัสสา, ปีจอ, ฉศก, ปีกาบเส็ด, ภายใน, กดสี, มื้อรวงมด, มื้อรวงเม็ด, นวพรรณ ภัทรมูล, กนกวรรณ โสภณวัฒนวิจิตร, นครพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2357, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ไชยสุทธิ์อุตมบุรี, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดสุนันทมหาอาราม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ตำบลธาตุนาเวง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร |
พุทธศักราช 2357 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2415?lang=th |
47 |
จารึกวัดใต้เทิง 2 |
ธรรมอีสาน |
มหาราชครูปุสสีตธรรมวงศา มีศรัทธาสร้างตู้พระไตรปิฎกและเจดีย์ธาตุขึ้นไว้กับศาสนา |
ศิลาจารึกอักษรไทยเหนือ และภาษาไทย, จารึกวัดใต้เทิง 2, จารึกวัดใต้เทิง 2, พ.ศ. 2377, พุทธศักราช 2377, พ.ศ. 2377, พุทธศักราช 2377, จ.ศ. 1196, จุลศักราช 1196, จ.ศ. 1196, จุลศักราช 1196, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดใต้เทิง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, มีมหาราชครูปุสสีตธรรมวงศา, สมเด็จอรรควรราชครูเจ้า, เป็นเค้า, ช่าง, มหาอรรควรราชครูเจ้า, อันเตวาสิก, นางธรณี, พระแก่นไท, เจ้าสิทธารถราชกุมาร, ท่านหัวเจ้าครูแก้ว, เณรพุทธา, พระสิทธัตถะ, วัตถุทาน, แท่นแก้ว, น้ำทักขิณโนเลศชื่อ, ชั้นฟ้าปรนิมมิตตวัสสวตี, พุทธศาสนา, สำนักพระอริยเมตไตรยเจ้าโพธิสัตว์, พุสสอรอาราม, สร้างตู้ลายรดน้ำ, สร้างพระธาตุเจดีย์, ปีกาบสง้า, มื้อระวายไจ้, มื้อรวายไจ้, นักขัตตฤกษ์, อเสล ลุกสิงห์, อเสล ลูกสิงห์, กุศล, อรหันตผลญาณ, หน่วย, ลายเครือเกี้ยวกอด, ลายคำสาชาวกาสิกราช, มัญสา, ปิตตกา, บุญราศี, คน, เทพยดา, รูปนิทานทสชาดก, เตมิยชาดก, มนุษยมารพรหม, จตุราบาย, พระยามาร, สัพพัญญู, บาป, โลก, ครู, สัตว์, โอฆสงสาร, ทิพพจักขุญาณ, ธรณี, เกศเกษี, โพธิสมภารสังสการ, อสงไขย, มหากัปป์, ลัทธพยากรณ์, พระแม่ธรณีบีบมวยผม, นิรพาน, อรหัตตมัคคญาณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2499?lang=th |
48 |
จารึกวัดใต้เทิง 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงอัครวรราชครูปุสสีตธรรมวงศา พร้อมด้วยลูกศิษย์และญาติโยม, พระพรหมวรราชวงศาภูมินทร์ เจ้าเมืองอุบลฯ และบรรดาเสนาอมาตย์ มีศรัทธาสร้างวิหารและพระพุทธรูปไว้กับศาสนา |
อบ. 13, อบ. 13, จารึกบนไม้สัก อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย, จารึกวัดใต้เทิง 1, จารึกวัดใต้เทิง 1, พ.ศ. 2373, พุทธศักราช 2373, พ.ศ. 2373, พุทธศักราช 2373, จ.ศ. 1192, จุลศักราช 1192, จ.ศ. 1192, จุลศักราช 1192, ไม้ ประเภทสักทอง, รูปใบเสมา, วัดใต้เทิง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ, อำเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, สมเด็จเจ้าพระพรหมวรราชวงศาภูมินทร์, เจ้าแผ่นดินในเมืองอุบลราชธานี, เจ้าเมืองอุบลราชธานี, อุปราช, ราชวงศ์, ราชบุตร, เสนาเดชอำมาตย์ธิบดี, ทมคารา, ช่างไม้, อรรควรราชครูเจ้า, กับทั้งอุบาสกอุบาสีกา, อรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, อันเตวาสิกสัทธิงวิหาริก, ชาวนคร, พวกแก้วออยบุญ, ภริยา, ปุตตา, ธิดา, สมเด็จอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, สมเด็จอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาราชชมชื่น, พระยาพรหมพระยาอินทร์อิศวร, พระยาจักรพรรดิราช, ตระกูลทสราชธรรม 10 ประการ, ตระกูลทสราชธรรม 10 ประการ, ตระกูลถวายคำ, เศรษฐีปุโรหิตมาจารย์, เงินตา,เงินตรา, เครื่องอุปกรณ์, คำปิด, น้ำเกียนน้ำหางหยาบทาพอก, ทองตีตาง, การก, แก้วกาจก, โภคา, ชะกวาน, ทองคำ, ชาดน้ำกอย, ชาดแต้มหางคำปิดบางวางพอก, น้ำครั่ง, บาตรไตรคำ, บัลลังก์บุปผา, ดอกไม้, ปรางค์เงิน, ธูปเทียนเริง, บ้านแปงส้อย, บุรีประจันตเทศ, ห้องดุสิตา, เมืองแก้ว, ราชธานี, เมืองฟ้า, สวรรค์ฟากฟ้า, แหล่งหล้าโลกา, จาตุมหาราชิกา, ตาวตึงสา, ทวีปทั้ง 4, ทวีปทั้ง 4, พุทธศาสนา, เขตวิหารพัทธสีมา, สำนักพระพุทธเจ้าอริยเมตตรัยโยเจ้าฟ้า, สร้างวิหารพัทธสีมา, สร้างพัทธสีมา, หล่อพุทธรูป, หล่อพระพุทธรูป, ปีกดยี่, มนาภิรมย์, ระวายสัน, ปีรวายสัน, พระจันทร์, นักขัตฤกษ์ สรวัน, ลูกสิงห์, มังกร ณ ราศี, อุบาสกอุบาสิกา, ท้าวพระยาเจ้า, มหาอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, เป็นเค้า, ประธาน, พุทธปฏิมาเมืองม่าน, เมตตรัย สัทโธ, กุศลปรารถนา, อรหันตผลญาณ, นิพพาน, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, ปริยัติศาสนา, ปฏิบัตติศาสนา, ปฏิเวทศาสนา, สัพพัญญุตาญาณ, ปัจเจกโพธิญาณ, สาวกบารมีญาณ, ศาสตรศิลป, โทษ, อกตัญญู, มิจฉาทิฏฐิ, หินชาติ, วัฏฏสงสาร, มาสเกณฑ์, หรคุณ, อวมาณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 2353 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2497?lang=th |
49 |
จารึกวัดโยธานิมิตร |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2377 เจ้าพระยาพระคลังว่าที่พระสมุหกลาโหม ให้สร้างป้อมที่ปากน้ำแหลมสิงห์ฝั่งตะวันออก 1 ป้อม ส่วนป้อมเก่าให้ซ่อมแซมรวมถึงสร้างป้อมปราการบริเวณเนินวง แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2388 จากนั้นจึงชักชวนนายทัพนายกองและเจ้าเมืองต่างๆ ร่วมกันสร้างวัดใช้เวลา 4 เดือน ถวายนามว่า “วัดโยธานิมิตร” มีการระบุรายนามผู้สร้างและรายการก่อสร้าง ตอนท้ายอธิษฐานให้ได้พบพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ และถึงแก่นิพพานในที่สุด |
จารึกวัดโยธานิมิตร, จบ.6, หลักที่ 158 ศิลาจารึกวัดโยธานิมิตร, จบ.6, หลักที่ 158, พ.ศ. 2377, จ.ศ. 1196, พ.ศ. 2378, จ.ศ. 1197, 2377, 1196, 2378, 2378, สยาม, ไทย, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, ร.3, รัชกาลที่ 3, เจ้าพระยาพระคลังว่าที่พระสมุหกลาโหม, นายพลพัน, พระยารณฤทธิโกษา, ปลัดเมืองสมุทรปราการ, พระยารามคำแหง, พระยาพิไชยรณรงค์, พระยาวิชิตณรงค์, พระนครอินทร์, พระนเรทรโกษา, หลวงณรงค์รังสรรค์, หลวงจินดา, หลวงศักดาเดช, หลวงเสนสรชิต, หลวงฤทธีอรรคราช, หลวงเทพาวุธ, หลวงจัน, หลวงณรารณฤทธิ์, ขุนสรฤทธิราช, จมื่นมณเฑียรพิทักษ์, อยุกระบัตรเมืองนนท์, หลวงปลัดเมืองพนัสนิคม, พระยาจันทบุรี, พระวิเศษ, ผู้ช่วยเมืองแกลง, หลวงขลุง, ขุนบรรจงพาณิชย์, หลวงพิทักษ์, เมืองจันทบุรี, ปากน้ำแหลมสิงห์, เนินวง, วัดโยธานิมิต, พุทธ, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, การสร้างวัด, การสร้างเมือง, เชิงเทิน, หลักเมือง, พระศรีอาริย์, อาริยเมตไตรย, อนาคตพุทธเจ้า, สงสารทุกข์, ป้อมปราการ, ปืนใหญ่ |
ผนังด้านใน หน้าโบสถ์วัดโยธานิมิตร ตำบลเนินวง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1159?lang=th |
50 |
จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ |
ธรรมล้านนา |
เมื่อ พ.ศ. 2390 สวาธุเจ้าหลวงโพธิ วัดป่าชี้ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ร่วมกับขุนนางและชาวบ้านช่วยกันสร้างพระอุโบสถหลังนี้ไว้ค้ำชูศาสนา |
ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ 1, ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ 1, ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ พ.ศ. 2390, ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ พ.ศ. 2390, ชม. 38, ชม. 38, พ.ศ. 2390, พ.ศ. 2390, พุทธศักราช 2390, พุทธศักราช 2390, จ.ศ. 1209, จ.ศ. 1209, จุลศักราช 1209, จุลศักราช 1209, วัดอุโบสถ บ้านบ่อ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง เชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, บุคคล-สวาธุเจ้าหลวงโพธิ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2390 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15938?lang=th |
51 |
จารึกวัดเชียงมั่น 2 |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า ปี พ.ศ. 2354 ซึ่งครบรอบ 15 ปีที่ตั้งเมืองมา ได้มีการสร้างพระพุทธรูปเสตังคมณีเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง |
ชม. 29 จารึกดวงเมือง, ชม. 29 จารึกดวงเมือง, จารึกวัดเชียงมั่น 2, ชม. 29 จารึกวัดเชียงมั่น 2 พ.ศ. 2354, ชม. 29 จารึกวัดเชียงมั่น 2 พ.ศ. 2345, ชม. 29, ชม. 29, วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การสร้างเมือง |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15766?lang=th |
52 |
จารึกวัดหัวทุ่ง |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2336 สวาธุเจ้าโพธาและเจ้าเมืองนันทบุรี (เมืองน่าน) คือ เจ้าฟ้าอัทธวรปัญโญ พร้อมด้วยพระญาติ ข้าราชบริพารและชาวบ้านหัวทุ่ง ได้สร้างอุโมงค์โขงและพระพุทธรูปที่ทำด้วยอิฐและทองสำริดจำนวน 2 องค์ |
จารึกวัดหัวทุ่ง, ศิลาจารึก วัดหัวทุ่ง 1 (นน. 2076) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), ศิลาจารึก วัดหัวทุ่ง 1 (นน. 2076) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, หินชนวนสีดำ, แผ่นหินรูปใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สวาธุเจ้าโพธา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14891?lang=th |
53 |
จารึกวัดหอพระแก้ว |
ไทยน้อย |
เป็นพระราชโองการของ พระมหาธรรมิกสีหตบูรฯ ให้สร้างวัดหอพระแก้ว และได้อุทิศที่ดินรวมทั้งทาสโอกาสไว้กับวัด และยังได้แจ้งถึงรายละเอียดสิ่งของต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างวัดหอพระแก้ว ในด้านที่สองได้กล่าวถึงการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง การฉลองวัดหอพระแก้วและรายละเอียดของปัจจัยไทยทานต่างๆ ที่ถวายพระ และสิ่งของที่บริจาคเป็นทานในศาลาโรงทาน |
นค. 13, นค. 13, จารึกวัดหอพระแก้ว, พ.ศ. 2355, พุทธศักราช 2355, พ.ศ. 2355, พุทธศักราช 2355, จ.ศ. 1174, จุลศักราช 1174, จ.ศ. 1174, จุลศักราช 1174, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, ศิลาทราย, รูปใบเสมา, วัดหอพระแก้ว, ตำบลพานพร้าว, อำเภอศรีเชียงใหม่, จังหวัดหนองคาย, ไทย, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกสีหตบูรราชาธิราชมหาจักรพรรดิภูมินทราธิปไตยสากลไตรภูวนาถชาติยภโตวิสุทธมภูตะสกลพิบุลอดุลยโพธิสัตว์ขัตติยพุทธังกูโรสตลนครมหาโสฬศาสันโตคชรัฐราชาบุริศีลธรรมาธิราชบรมนาถบรมบพิตรตน, พระบรมสัพพัญญูเจ้า, พระพุทธรูปเจ้า, สมเด็จพระเป็นเจ้า, เสนาอำมาตย์ราชเสวก, ประชาราษฎร, ยาจก, คนทุกข์, สมณชีพราหมณ์, พระสังฆเจ้า, สมณชีพราหมณ์เจ้า, โพธิ์, คำปิว, ทองคำเปลว, เงินปิว, เงินเปลว, เงินตรา, น้ำลัก, ทะนาน, แก้วประดับ, เหล็ก, ปูน, ถัง, ปูนจีน, น้ำมันปลาตราจีน, น้ำอ้อย, น้ำมันยาง, ชัน, ขี้ซี่, ชาด, เสน, รง, หมึก, ปูนขาว, ฝุ่นเขียวขี้ทอง, ครามเทศหนัก, กาวหนัก, เบี้ยจ่าย, เบี้ยจ้าง, แหวน, กระเบื้อง, ผละพืช, ปัจจัยชาติทั้ง 4, ปัจจัยชาติทั้ง 4, ปัจจัยชาติทั้งสี่, จีวรปัจจัย, ปัจจัยทาน, ผ้าไตรแฮ, แพร, ผ้าไตรเทศ, ผ้าไตรลาว, แพญวน, ผ้าคลุมลาว, ผ้าสบง, สลกบาตร, เสี้ยนเถา, ถ้วย, จาน, ถาด, ถ้วยน้ำปลา, ถ้วยน้ำชา, ถาดซอน, กาน้ำถมปัด, เงี่ยงทอง, กระโถน, ถมปัดใหญ่ใบ, กาน้ำทอง, กาน้ำดิน, เงี่ยงดิน, เกิบหัวแก้ว, รองเท้าหัวแก้ว, เครื่องเหล็กร้อยสำรับ, สาด, หมอนร้อยสำรับ, มีดแถ, ตาด, ร่ม, คันยู, กระบวย, ถองน้ำ, พลู, สลา, หมาก, ผ้ากัลปพฤกษ์, ซิ่นกัลปพฤกษ์, กัลปพฤกษ์, เงินรางกัลปพฤกษ์, เบี้ยกัลปพฤกษ์, รางวัลเงินตรา, คิลานปัจจัย, เภสัชปัจจัย, ปัตรจีวรปัจจัย, เภสัชบริขารปัจจัย, รัตนเขต, พุทธศาสนา, วัดหอพระแก้ว, ฝาผนังพระระเบียงจงกลม, ปฏิสังขรณ์ฝาผนังอาราม, เขียนพระพุทธรูปพันพระองค์, สร้างพระพุทธรูป, สละข้าอุปฐาก, อุทิศข้าพระ, ธาสมโภชเบิกฉลองทำบุญ, มหาทาน, สร้างศาลาทาน, สร้างสพานข้ามแม่น้ำของ, สร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง, ถวายจังหันบิณฑิบาต, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, ราศีมีน, พระจันทร์, พระอังคาร, พระราหู, ราศีตุล, พระพุธ, ราศีพฤษภ, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีพิจิก, จุลศักราช 172, จุลศักราช 172, ปีสง้า, ยามตุดมื้อเช้า, ดิถีนอก, ดิถีใน, หรคุณ, พระราชอาชญาลายจุ้ม, ทศพิธราชธรรมศาสนูปถัมภกะ, พระพรลายจุ้ม, ปีสะง้า, เดือนยี่, พระทาน, พระพิมพ์, สัปบุรุษมนุษย์, กุมภัณฑ์, คนธรรพ์, นาค, ครุฑ, เทวา, คณายาว, พระวัสสา, ปัจจัยชาติราชสมบัติ, กีบ, ชั่ง, ตำลึง, สลึงเฟื้อง, บาท, คาม, ศอก, นิ้ว, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้งสาม, พระบรมราชโองการ, พระราชโองการ, จุลศักราชพันร้อย 74, จุลศักราชพันร้อย 74, ปีเต่าสัน, เพ็ง, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2355, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (พระเจ้าอนุวงศ์), ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหอพระแก้ว หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสะพาน, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมิกสีหตบูรราชาธิราช |
วัดหอพระแก้ว ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2355 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2393?lang=th |
54 |
จารึกวัดสมุหนิมิต |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ด้านที่ 1 : พ.ศ. 2319 อาจารย์วัดจำปา ภิกษุ สามเณร และสีกาบุญรอด ซึ่งเป็นผู้อุปการะ ไปนำหินจากเขาโพมาสร้างพระพุทธรูปปางสมาธิ 21 องค์ พระอรหันต์ 9 องค์ มีการบอกรายนามผู้สร้างและปิดทอง จากนั้นกล่าวถึงการอัญเชิญพระพุทธรูปปางสมาธิ 9 องค์ และพระอรหันต์ 8 องค์ ไปประดิษฐาน ณ ถ้ำศิลาเตียบ ต่อมาเจ้าพระยาไชยาและทายกทั้งปวงแห่พระพุทธรูปไปประดิษฐาน ณ ถ้ำวิหารพระโค 23 องค์ ตอนท้ายกล่าวว่าหากผู้ใดนมัสการให้ทำการกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลแก่สัตว์ทั้งหลายด้วย ด้านที่ 2 : (ข้อความต่อเนื่องจากด้านที่ 1) เนื้อหาส่วนใหญ่กล่าวถึงการถวายที่นาให้แก่วัด โดยระบุชื่อและจำนวนที่ถวาย มีการสาปแช่งผู้ที่จะเบียดบังที่นาและจังหันของพระสงฆ์ให้พบกับอันตราย 16 ประการ ตอนท้ายระบุศักราชตรงกับ พ.ศ. 2319 โดยเทียบไว้ทั้งพุทธศักราช, จุลศักราชและมหาศักราช |
ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษาไทย สมัยกรุงธนบุรี, สฎ. 16, สฎ. 16, พุทธศักราช 2319, พุทธศักราช 2320, มหาศักราช 1698, มหาศักราช 1699, จุลศักราช 1139, จุลศักราช 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, มหาศักราช 1698, มหาศักราช 1699, จุลศักราช 1139, จุลศักราช 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, ม.ศ. 1698, ม.ศ. 1699, จ.ศ. 1139, จ.ศ. 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, ม.ศ. 1698, ม.ศ. 1699, จ.ศ.1139, จ.ศ.1138, สีกาบุญรอด, อาจารย์วัดจำปา, อาจารย์รัตนะ, มหาพราหมณ์วัดเวียง, เจ้าพระยาไชยา, ท่านยกกระบัตร, ท่านปลัด, ไทย, สยาม, พระเจ้าตากสิน, พระเจ้ากรุงธนบุรี, ธนบุรี, วัดจำปา, ถ้ำวัดพระโค, ถ้ำศิลาเตียบ, เขาโพ, บ้านเวียง, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พระอรหันต์, อุปคุต, สารีบุตร, โมคคัลลานะ, โกญฑัญญะ, อานนท์, ราหุล, อุบาลี, ควัมปติ, กรวดน้ำ, ทายก, อุบาสิกา, สงฆ์, สามเณร, นาจังหัน, จังหัน, ที่นา, สาปแช่ง, อันตราย 16 ประการ, จตุอุบาย, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2319, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสมุหนิมิต สุราษฏร์ธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าพระยาไชยา |
วัดสมุหนิมิต ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
พุทธศักราช 2319 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1217?lang=th |
55 |
จารึกวัดศรีเกิด (เชียงใหม่) |
ฝักขาม |
กล่าวถึงการจัดพิธีฉลองพระพุทธรูปแข้งคม วัดป่าตาล โดยมีพระมหาสมเด็จปวัตตหลวงโพธิรุกขาพิชาราม หรือ นนทาวิริยวังโส เป็นประธานในพิธี และสาธุเจ้ากาวีรปัญโญชติลวังโสเป็นศาสนูปถัมภก |
ชม. 14 จารึกพระพุทธรูปแข้งคม, ชม. 14 จารึกพระพุทธรูปแข้งคม, จารึกพระพุทธรูปแข้งคม, ชม. 14, ชม.14, ศิลาจารึก อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2342, พุทธศักราช 2342, จ.ศ. 1161, จุลศักราช 1161, พ.ศ. 2342, พุทธศักราช 2342, จ.ศ. 1161, จุลศักราช 1161, พ.ศ. 2348, พุทธศักราช 2348, จ.ศ. 1167, จุลศักราช 1167, พ.ศ. 2348, พุทธศักราช 2348, จ.ศ. 1167, จุลศักราช 1167, พ.ศ. 2352, พุทธศักราช 2352, จ.ศ. 1171, จุลศักราช 1171, พ.ศ. 2352, พุทธศักราช 2352, จ.ศ. 1171, จุลศักราช 1171, หินทรายสีเทา, วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่, พระมหาสมเด็จปวัตตหลวงโพธิรุกขาพิชาราม, นนทาวิริยวังโส, เค้า, สวาธุเจ้ากาวีรปัญโญชติลวังโส, ศาสนูปภัมภก, ศิษย์, โยม, เจ้า, เถ้ารอน้อยนรหนาน, เฒ่ารอน้อยนรหนาน, พระติโลกราชเจ้า, สมเด็จเสฏฐาบรมบพิตรพระเป็นเจ้า, เจ้าพระนครเชียงใหม่, มหาสุริยวังสกษัตราธิราชเจ้า, เทวีแม่เมือง, วันทเทวี, ประธานเทวี, เจ้ามหาอุปราชาหอหน้า, อาธาประดิษฐ์, ราชเทวีนางฟองแก้ว, เจ้าสุวรรณหริภุญขุนคอนเทวี, นางแก้วสุวรรณ, เจ้าคำมูนราชวงศา, น้องหญิง, พระเจ้า, แท่นทสศุตสำราญ, ปีดับเป้า, ทองคำ, น้ำมุทธาภิเษก, รัก, หาง, ชาด, น้ำอ้อย, ปูน, เหล็กคน, เหล็กกน, ตะปู, ป่าตาลน้อย, แอ่งกระเรือง, กัมโพชพิสัย, พุทธศาสนา, วัดป่าตาล, พระวิหาร, ฉลองพระพุทธรูป, สร้างพระวิหาร, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีพิจิก, พระราหู, ราศีตุล, ปีกัดเม็ด, ออก, วันพฤหัสบดี, พระพุทธโบราณ, พระพุทธรูป, สัตตนิกายนครวาสีบุรีสิถิโย, ปีมะเส็ง, พิสาขมาส, ปุณณมี, ภฤคคุวาร, ไถง, ปีกัดไส้, เพ็ง, เม็ง, พระจันทร์, นักขัตฤกษ์, จิตรปราก, ราศีนาทีฤกษ์, อดีตศาสนา, อนาคตศาสนา, ทาน, ปริโยสาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2352, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีเกิด เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาสมเด็จปวัตตหลวงฌพธิรุกขาพิชาราม, บุคคล-นนทาวิริยวังโส, บุคคล-สาธุเจ้ากาวีรปัญโญชติลวังโส |
วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2352 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1435?lang=th |
56 |
จารึกวัดศรีคูณเมือง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระเถระ และขุนนางในเมืองเชียงคาน ที่ได้ร่วมกันสร้างวัดและศาสนสถานที่วัดศรีคูณเมือง และได้บอกถึงจำนวนเงินที่สร้างวัดในครั้งนี้ด้วย |
จารึกวัดศรีคูณเมือง, พ.ศ. 2380, พุทธศักราช 2380, พ.ศ. 2380, พุทธศักราช 2380, จ.ศ. 1199, จุลศักราช 1199, จ.ศ. 1199, จุลศักราช 1199, หินอ่อนสีดำ, รูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถวัดศรีคูณเมือง, อำเภอเชียงคาน, จังหวัดเลย, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, พระราชครูบุดี, อันเตวาสิก, พระอนุพีนางนาถ, ภริยา, บุตร, ธิดา, นัดดาพันธุ์วงศา, ท้าวพระยาแสนขุนหมื่น, พระพุทธเจ้า, เงิน, พุทธศาสนา, วัดศรีคูณเมือง, สร้างพัทธสีมา, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, อวมาณ, อวมาน, มงคลรูปโสม, มาสเกณฑ์, หรคุณ, ปีกัดเลา, เพ็ง, เพ็ญ, มื้อเต่าไจ้, วันพุธ, ภายใน, ภายนอก, ตำลึง, บาท, สลึงเฟื้อง, นิพพาน |
หน้าพระอุโบสถวัดศรีคูณเมือง ตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (สำรวจเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2556) |
พุทธศักราช 2380 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2440?lang=th |
57 |
จารึกวัดม่อนช้าง |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกแสดงเวลาบูรณะวิหารและพระพุทธรูป เวลาก่อสร้างอุโบสถ ชื่อผู้บูรณะวิหาร บูรณะพระพุทธรูป และก่อสร้างอุโบสถ พร้อมทั้งจำนวนสิ่งที่ใช้ในการบูรณะและการก่อสร้าง |
จารึกวัดม่อนช้าง, จารึกบนแผ่นไม้กระดาน วัดพระนอน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน, ลพ. 39, ลพ./39, พช. 101, 549, ลพ. 39, ลพ./39, พช. 101, 549, พ.ศ. 2337, พุทธศักราช 2337, พ.ศ. 2337, พุทธศักราช 2337, จ.ศ. 1156, จุลศักราช 1156, จ.ศ. 1156, จุลศักราช 1156, พ.ศ. 2338, พุทธศักราช 2338, พ.ศ. 2338, พุทธศักราช 2338, จ.ศ. 1157, จุลศักราช 1157, จ.ศ. 1157, จุลศักราช 1157, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, ไม้สัก, รูปใบเสมา, วัดม่อนช้าง, วัดพระนอน, อำเภอป่าซาง, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเกล้า, พระมหาสาธุเจ้านันทวิสุทธวังโส, ตนเป็นเจ้าเหง้าอารามวัดสปุง, สัทธิวิหาริก, อันเตวาสิก, เจ้าภิกขุ, เจ้าภิกษุ, เจ้าสามเณร, ขยม, สาธุเจ้าฐิตมงคลเป็นเกล้า, สาธุเจ้าปัญญา, สมเด็จเศรษฐราชาเจ้าเหง้านริศเป็นเกล้า, ราชกนิษฐา, พญามหาอุปราชหอหน้า, พญารตนะหัวเมืองแก้ว, น้อง, ราชเทวี, ราชบุตร, ราชบุตรี, ราชวงศาอัครมหาเสนาใหญ่, ไพร่ไทย, ท้าวขุน, นักบุญผู้แก่ผู้เฒ่า, เจ้าขุน, ตีนของรองวัด, พ่อออกสันนิบาตทานข้าวคิลานุปถัมภก, ไวยาวัจกร, พ่อเวียก, พ่อการ, คนงาน, ในหลวง, พระพุทธเจ้า, ดับเหม้า, ดับเหม้า, เจ้าธรรมลังกา, เจ้าคำฟั่น, เจ้าคำฝั้น, เจ้ากาวิละ, รักหาง, ทองคำ, ปูน, น้ำอ้อย, น้ำรัก, หรดาล, ผม, บัญชี, ห้องบ้านสปุง, ตีนป่าแพะหนใต้, ดอยกุญชร, ดอยช้าง, แคว้นสบุนนานิคมหนทักษิณทิศ, เมืองหริภุญชัยบุรีเรือง, พุทธศาสนา, วัดบ้านหวาย, วัดบ้านถอง, พระวิหาร, อุโบสถ, พระวิหาร, ปฏิสังขรณ์พระวิหารพระนอน, ปฏิสังขรณ์พระพุทธรูป, ฉลอง, ทำบุญให้ทาน, การสร้างอุโบสถ, วงดวงชาตาดวง, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีตุล, ราศีมังกร, พระจันทร์, พระราหู, ลัคนา, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพุธ, พระเสาร์, ราศีพิจิก, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, ราศีกุมภ์, ราศีกรกฎ, ราศีมีน, ปีกาบยี่, ปีกาบยี, เดือนบุษย, วันจันทร์, เมืองเหม้า, เมิงเหม้า, ฤกษ์, ตุลาวาโยราศี, ยามตูดเช้า, มังกรอาโปราศี, พระพุทธไสยาพระนอน, จิรัฎฐิติกะ, ยามแตร, เดือนวิศาขา, เดือนวิสาข, วันกัดไส้, วันศุกร์, วันดับไก้, วันดับไก๊, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม และคงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2151?lang=th |
58 |
จารึกวัดมหาธาตุ จ. ยโสธร |
ธรรมอีสาน |
พระสงฆ์ และบรรดาเจ้านายในท้องถิ่นได้ร่วมกันกระทำกุศล |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: ยส. 4, ยส. 4, จารึกวัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร, จารึกวัดมหาธาตุ ยโสธรศักราช: พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149วัตถุจารึก: ศิลาทรายลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: หน้าพระอุโบสถ, วัดมหาธาตุ, อำเภอเมือง, จังหวัดยโสธรอาณาจักร: ไทย, ล้านช้างเวียงจันทร์, รัตนโกสินทร์บุคคล: มหาราชา, เป็นเค้า, เจ้าสังฆราชาวชิรปัญญา, เจ้าพระราชพันนายก, เจ้ามหาศรัทธา, ภริยาบุตตา, ท้าวพระยากุมภาร, บ่าวไพร่ศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: วัดบ้านท่าอื่นๆ: ปีเมิงมด, วันประหัส, มื้อเปิกยี่, นักขัตฤกษ์, มาฆะ, พระอริยสังฆเจ้า, โชตนา, มูนศาสนา, มูลศาสนา, ภายนอก |
หน้าพระอุโบสถ วัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร |
พุทธศักราช 2330 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2429?lang=th |
59 |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ในปี พ.ศ. 2339 สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้าผู้เป็นอธิบดีในศรีพิงตราอันสถิต ณ เชียงใหม่ กับทั้งพระกรรโลงครรภ์อัครราชมาดาและพระราชกนิษฐา ร่วมกันบูชาพระมหาชินธาตุโดยบริจาคพระราชทรัพย์จำนวนมากเป็นประจำ และสร้างเสาเขื่อนเหล็กไว้เป็นการถาวร |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 3, จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 3, ศิลาจารึกที่วิหารพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 78 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 78 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, ลป. 5 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, ลป. 5 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้า, อธิบดี, นริศร, พระกรรโลงครรภ์อัครราชมาดา, พระราชกนิษฐา, ราชภคินี, สมเด็จมหาราชเจ้า, นักปราชญ์บัณฑิต, ท้าวพระยา, ครูบาอาจารย์, ปู่, ย่า, พ่อเฒ่า, พ่อ, แม่, ช้าง, ม้า, วัว, ควาย, โค, กระบือ, พัตร, ผ้า, เงิน, ศรีพิงคราษฎร์, เชียงใหม่, เมืองนครเขลาง, พระวรชินธาตุเจ้าลัมพะกะบุรี, ประเทศ, บ้านเมือง, พุทธศาสนา, สร้างลำต้ายเหล็ก, สร้างเสาเขื่อนเหล็ก, สร้างแปลงพระมหาชินธาตุสถูปวิหาร, สร้างพระมหาชินธาตุสถูปวิหาร, วงดวงชาตา, ดิถี, ฤกษ์, นาที, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีพิจิก, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีรวายสี, ปีระวายสี, เดือนยี่, เพ็ง, เม็ง, วันจันทร์, เมิงไก๊, เคล้า, เค้า, ไอศวรสมบัติพัสตร์, ไญยธรรม, พระหฤทัย, สมภาร, โยคาวจร, ราศีสิงห์, ราศีพฤษภ, โกฐาส, บุญราศี, กตาธิการ, ปกตูปนิสัย, ประไจ, ปัจจัย, เนรพาน, นิพพาน, วรบุญกิริยา, เทพยดา, อินท์พรหม, อินทร์พรหม, ตระกูลวงศาญาติ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเสาเขื่อนเหล็ก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง |
วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2040?lang=th |
60 |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 2 |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2382 เจ้ามหาอุปราชานราธิบดีเป็นประธาน พร้อมด้วยอัคคราชเทวี ราชบุตรราชธิดา และญาติพี่น้องทุกคน ร่วมสร้างอาสน์สงฆ์ประดับด้วยแก้วและทองคำ แล้วสร้างทุงหินขึ้นเพื่อถวายบูชามหาชินธาตุเจ้า |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 2, ลป. 4 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2382, ลป. 4 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2382, พ.ศ. 2382, พุทธศักราช 2382, พ.ศ. 2382, พุทธศักราช 2382, จ.ศ. 1201, จุลศักราช 1201, จ.ศ. 1201, จุลศักราช 1201, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, กุญชรฉนำ, ปีกัดไค้, ไทยกาบสี, บุรพผลคุณี, สิฆราศี, อนาคตพุทธ, มหาสวาธุเจ้าสังฆราชา, พระอริยสังฆเจ้า, เจ้ามหาอุปราชานราธิบดีหอหน้าเมืองละคอน, ชองนั่ง, สายทุง, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาสน์สงฆ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุงหิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-เจ้ามหาอุปราชานราธิบดี, บุคคล-เจ้ามหาอุปราชานราธิบดี |
วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2382 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16150?lang=th |
61 |
จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พระเจ้าแก้วเนืองมากับพระนางศรีบุญยวง อัครชายา มีความเลี่อมใสศรัทธา จึงได้บัญชาให้ครูบาศามณีเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วยทุหลวงนันทา ทุหลวงโพธา ทุหลวงเทพ อันมีแสนศิริเป็นประธานฝ่ายฆราวาส สร้างฉัตรเงินเพื่อประดิษฐานไว้คุ้มเศียรพระพุทธรูป ทั้งยังสร้างวิหารอีก 2 หลังสำหรับเป็นที่จัดเก็บและดูแลรักษาพระพุทธรูป |
ชม. 177 จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง (พ.ศ. 2391), ชม. 177 จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง (พ.ศ. 2391), ชม. 177, ชม. 177, วัดพระธาตุช่างเคิ่ง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2391, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างฉัตร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุคคล-พระเจ้าแก้วเนืองมา, บุคคล-พระนางศรีบุญยวง, บุคคล-ครูบาศามณี, บุคคล-ทุหลวงนันทา, บุคคล-ทุหลวงเทพ, บุคคล-พระเจ้าแก้วเนืองมา, บุคคล-แสนศิริ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดพระธาตุช่างเคิ่ง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2391 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15507?lang=th |
62 |
จารึกวัดป่าใหญ่ |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงนามของ พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสสัสดี (วัดป่าใหญ่) ว่าได้สร้างพระพุทธรูปอินแปง ไว้กับวัดนี้ |
อบ. 12, อบ. 12, จารึกวัดป่าใหญ่ 3, จารึกวัดป่าใหญ่ 3, พ.ศ. 2350, พุทธศักราช 2350, พ.ศ. 2350, พุทธศักราช 2350, จ.ศ. 1169, จุลศักราช 1169, จ.ศ. 1169, จุลศักราช 1169, หินทราย, รูปใบเสมาทรงใบพาย, ข้างฐานพระประธาน (หลวงพ่ออินแปง), ในพระวิหารวัดป่าใหญ่, ตำบลในเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, ชะทาย, ปูนสอ, ปูนขาว, พุทธศาสนา, วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสสัสดี, สร้างพระพุทธรูปดิน, สร้างพระพุทธรูปอิฐ, ปีเมิงเหม้า, เพ็ง, มื้อรวงไค้, ฤกษ์, จิตต์, ราศีกันย์, ยามแถใกล้ค่ำ, พระเจ้าอินแปง, คน, เทวดา, พุทธรูปเจ้า, วันเพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2350, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา |
ข้างฐานพระประธาน (หลวงพ่ออินทร์แปลง) ในพระวิหารวัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2350 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2495?lang=th |
63 |
จารึกวัดนาเตา |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2356 เป็นปีที่เริ่มปฏิสังขรณ์วิหารวัดหนองเทา (วัดนาเตา) โดยมีครูบาเจ้าวัดนาราบเป็นที่ปรึกษา มีพระอุปนันทะเจ้าอาวาสวัดหนองเทาเป็นประธานฝ่ายบรรพชิต และมีแสนทักขิณะเป็นประธานฝ่ายฆราวาสร่วมกับพระภิกษุสามเณรและคนบ้านหนองเทาและคนในหมู่บ้านใกล้เคียง ในการนี้มีพระปัญโญเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง |
จารึกวัดนาเตา, ศิลาจารึก วัดนาเตา 1 (นน. 2093) จ.ศ. 1177 (พ.ศ. 2358), ศิลาจารึก วัดนาเตา 1 (นน. 2093) จ.ศ. 1177 (พ.ศ. 2358), แผ่นหินชนวนสีดำ, รูปใบเสมา, ครูบาเจ้าวัดนาราบ, วัดหนองเทา, พระอุปนันทะ, แสนทักขิณะ, พระปัญโญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาเตา น่าน, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-ครูบาเจ้าวัดนาราบ, บุคคล-พระอุปนันทะ, บุคคล-แสนทักขิณะ, บุคคล-พระปัญโญ |
วัดนาเตา ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2358 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14924?lang=th |
64 |
จารึกวัดจำปา |
ขอมอยุธยา |
กล่าวถึงการทำบุญของบุคคลนามว่า มหาจันธง เจ้าปุญจน และอำแดงเพชรทอง โดยการถวายที่ดิน กระบือ และข้าทาสแก่วัด |
จารึกวัดจำปา, สฎ. 1, สฎ. 1 , พ.ศ. 2309, พุทธศักราช 2309, พ.ศ. 2309, พุทธศักราช 2309, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1128, จุลศักราช 1128 , หินทรายสีเทา , รูปใบเสมา , คูร่องน้ำ, วัดจำปา, ตำบลทุ่ง, อำเภอไชยา, จังหวัดสุราษฎร์ธานี , ศรีวิชัย , มหาจันธง, เจ้าปุญจน, อำแดงเพชรทอง, พ่อกน, ทาส, คนหาบ, พระสงฆ์, กระบือ, ควาย , นานินนวน, นาหนองผาย, หัวชิงปอ, นากระจาย, ประตูทักษิณ, ม่วงปอ, เปรฬ, นารำมาไย, นาเดชทา, ประตูพายัพ , พุทธศาสนา, วัดทมาน, วัดจำปา, กัลปนา, การถวายนา, การถวายสิ่งของ, การถวายทาส, การบูรณวัด, พระวัสสา, ปีจออัฐศก, ทิศปัศจิม, โพธิญาณ, นิพพาน, กำลา, ตำลึง, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2309, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาจันธง, บุคคล-เจ้าปุญจน, บุคคล-อำแดงเพชรทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชยา ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
พุทธศักราช 2309 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/632?lang=th |
65 |
จารึกวัดคะตึกเชียงมั่น |
ธรรมล้านนา |
เมื่อปี พ.ศ. 2382 สาธุเจ้าธนัญชัย เจ้าอารามาธิราชาธิปัตติวัดคะตึกนี้ได้เป็นประธานฝ่ายสงฆ์พร้อมด้วยศิษยานุศิษย์ทุกผู้ทุกคน ร่วมกับเจ้าอุปราชาหอหน้าคำแสนเป็นประธานฝ่ายฆราวาสพร้อมด้วยอัครมเหสีและบุตราบุตรีร่วมกันสร้างแปลงพระวิหารหลังนี้ขึ้น |
ลป. 11 จารึกวัดคะตึกเชียงมั่น พ.ศ. 2382, ลป. 11 จารึกวัดคะตึกเชียงมั่น พ.ศ. 2382, วัดคะตึกเชียงมั่น ตำบลหัวเวียง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2382, อาณาจักรล้านนา, เถาะสนำ, กัมโพชขอมพิสัย, ในสุสรีรท, อุตตร, อาสาฬห, ศุกลปถมปัณรสมี, คุรุวารไถง, ปีรวงเหม้า, ไทยระวายยี, ศรวณะ, มังกรอาโป, ระวายสี, พระวัสสา, ปีกัดไค้, ไทยเปิกสี, อารทรา, เมถุน, อาโประวายสี, สาธุเจ้าธนัญชัย, เจ้าอุปราชาหอหน้าคำแสน,, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2382, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดคะตึกเชียงมั่น ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-สาธุเจ้าธนัญชัย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร |
วัดคะตึกเชียงมั่น ตำบลหัวเวียง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2382 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18130?lang=th |
66 |
จารึกลานทอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระราชาองค์หนึ่งโปรดให้สร้างสถูปและบรรจุพระบรมธาตุ ต่อมาพระโอรสของกษัตริย์พระองค์นั้นได้ทำการปฏิสังขรณ์และบรรจุพระบรมธาตุรวมทั้งบูชาด้วยเครื่องบูชาต่างๆ เช่น ทองคำ โดยตั้งความปรารถนาขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต |
จารึกลานทอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี, จารึกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี, สพ. 5, สพ. 5, พุทธศตวรรษที่ 24, พุทธศตวรรษที่ 24, ไทย, สยาม, อยุธยา, อโยชฌ, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, รัชกาลที่ 2, ร. 2, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, สมเด็จพระเอกาทศรฐ, รัชกาลที่ 1, ร.1, รัชกาลที่ 2, ร. 2, อยุธยา, รัตนโกสินทร์, วัดมหาธาตุ, กรุ, พุทธเหตุการณ์, ปฏิสังขรณ์, ซ่อมแซม, บูรณะ, พระธาตุ, สถูป, พระพุทธเจ้า, บุญ, พระบรมสารีริกธาตุ, ยุคสมัย-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสีเหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ยุคสมัย-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสีเหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 24 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1243?lang=th |
67 |
จารึกระฆังทิศใต้วิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2363 เจ้าสุมนเทวราช พร้อมด้วยราชครูสังฆสงฆ์เสนาอำมาตย์และประชาชนทั้งหลาย ได้ร่วมกันหล่อระฆังลูกนี้ไว้เพื่อใช้ตีในพิธีบูชาพระมหาชินธาตุเจ้า |
จารึกระฆังทิศใต้วิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง, นน. 10, นน. 10, พ.ศ. 2363, พุทธศักราช 2363, พ.ศ. 2363, พุทธศักราช 2363, จ.ศ. 1182, จุลศักราช 1182, จ.ศ. 1182, จุลศักราช 1182, สัมฤทธิ์, สำริด, ระฆัง, วัดพระธาตุแช่แห้ง, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จพระเป็นเจ้า, สุมนเทวราชเจ้า, ราชครูสังฆสงฆ์, เสนาอำมาตย์, ประชานรา, เด็ง, ระฆัง, พุทธศาสนา, หล่อเด็ง, หล่อระฆัง, พระมหาชินธาตุเจ้า, จุลศักพัท, ออก, ปีกดสี, ไทยเมิงไก๊, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา,จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2363, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์,, ลักษณะ-จารึกบนระฆัง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าสุมนเทวราช, บุคคล-เจ้าสุมนเทวราช |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2363 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1544?lang=th |
68 |
จารึกระฆังทิศเหนือวิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2363 เจ้าสุมนเทวราช ได้เป็นประธานหล่อระฆังลูกนี้ไว้ตีเพื่อบูชาพระมหาชินธาตุเจ้า |
จารึกระฆังทิศเหนือวิหารวัดพระธาตุแช่แห้ง, นน. 9, นน. 9, พ.ศ. 2363, พุทธศักราช 2363, พ.ศ. 2363, พุทธศักราช 2363, จ.ศ. 1182, จุลศักราช 1182, จ.ศ. 1182, จุลศักราช 1182, สัมฤทธิ์, สำริด, ระฆัง, วัดพระธาตุแช่แห้ง, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมืองน่าน, สุมนเทวราช, ราชมูลสัทธา, เสนาอำมาตย์, ประชานรา, ประธาน, พระเมืองราชาผู้หลาน, ขุนบุญสินธุ์, เด็ง, ระฆัง, ทอง, พุทธศาสนา, หล่อเด็ง, หล่อระฆัง, พระมหาชินธาตุเจ้า, จุลศักพัท, ออก, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2548, จาก : โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, “นน. 9 จารึกระฆังทิศเหนือวัดพระธาตุแช่แห้ง พ.ศ. 2363,” ใน จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2363, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนระฆัง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าสุมนเทวราช, บุคคล-เจ้าสุมนเทวราช |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2363 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1542?lang=th |
69 |
จารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้มวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
จารึกเป็นยันต์รัตนสูตรและคาถาชื่อว่าคาถานกคุ้มหรือคาถานกขุ้ม เชื่อกันว่ายันต์รัตนสูตรสามารถขจัดหรือป้องกันภัยได้ถึง 3 ประการ คือ ทุพภิกขภัย (ข้าวยากหมากแพง) อมนุษยภัย (ภัยจากพวกอมนุษย์) และพยาธิภัย (ภัยที่เกิดจากโรคระบาด) ส่วนคาถานกคุ้มเชื่อว่าสามารถป้องกันอัคคีภัยได้ |
จารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้มวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้มวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย), ศิลาจารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้ม วัดศรีบุญเรือง 2 (นน. 2096) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, ศิลาจารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้ม วัดศรีบุญเรือง 2 (นน. 2096) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-รัตนสูตร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-วัฏฏกปริตร |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14948?lang=th |
70 |
จารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้มวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ไทย |
จารึกเป็นยันต์รัตนสูตรและคาถาชื่อว่าคาถานกคุ้มหรือคาถานกขุ้ม เชื่อกันว่ายันต์รัตนสูตรสามารถขจัดหรือป้องกันภัยได้ถึง 3 ประการ คือ ทุพภิกขภัย (ข้าวยากหมากแพง) อมนุษยภัย (ภัยจากพวกอมนุษย์) และพยาธิภัย (ภัยที่เกิดจากโรคระบาด) ส่วนคาถานกคุ้มเชื่อว่าสามารถป้องกันอัคคีภัยได้ |
จารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้มวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้มวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย), ศิลาจารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้ม วัดศรีบุญเรือง 1 (นน. 2095) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, ศิลาจารึกยันต์รัตนสูตรและคาถานกคุ้ม วัดศรีบุญเรือง 1 (นน. 2095) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-รัตนสูตร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-วัฏฏกปริตร |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14945?lang=th |
71 |
จารึกพลับพลาจตุรมุข |
ไทยอยุธยา |
สาปแช่งผู้ที่จะคดโกงเอาของสงฆ์และข้าพระไป โดยขอให้ยักษ์ทั้งหลายมาเอาชีวิต อย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย และตกนรกอเวจี ตอนท้ายบอกวันเดือนปีและศักราชซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2301 |
จารึกพลับพลาจตุรมุข, อย. 8, อย. 8, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, จ.ศ. 1120, จุลศักราช 1120, พ.ศ. 1120, พุทธศักราช 1120, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติวังจันทรเกษม, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, กรุงศรีอยุธยา, สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, เจ้าฟ้าดอกมะเดื่อ, ข้าพระ, มหาเถรเทวทัต, พระพุทธเจ้า, พระสงฆเจ้า, พุทธศาสนา, กัลปนา, พฤกษเทวดา, อารักษเทวดา, อากาศเทวดา, นรก, มหาเวจี, มหาอเวจี, กัลป, กัลป์, อนันตชาติ, บาป, กำม, กรรม, อเวจี, อนันตริยกรรม 5, อนันตริยกรรม 5, ปิตุฆาต, มาตุฆาตุ, โลหิตบาท, โลหิตุปปบาท, สังฆเภท, เทวดา, ท้าวเวสสุวรรณ, ยักษ์, สาตาคีรีย, เหมันตายักษ์, อาภัควยักษ์, จิตเสทธยักษ์, มากคบาทยักษ์, เวพัทธยักษ์, กามเสพปิทยักษ์, คินนุบาทยักษ์, กินนุบาท, ขันทยักษ์, บริวารยักษ์, ขันบาทยักษ์, พระรัตนตรัย, พระธรรมเจ้า, วันจันทร์, ปีขาล, สัมฤทธิศก, ฉ้อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2301, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2301 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/670?lang=th |
72 |
จารึกพระเจ้าอินแปง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงนามเจ้าเมืองอุบลสองพระนาม คือ พระปทุม และพระพรหมวรราชสุริยวงศ์และนามพระเถระผู้ใหญ่ คือ พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา ว่าได้สร้างวัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์สัสดี (วัดป่าใหญ่) และสร้างพระพุทธรูปอินแปง พร้อมทั้งได้อุทิศทาสโอกาสและที่นาจังหันแก่พระพุทธรูปด้วย |
อบ. 11, อบ. 11, ศิลาจารึกพระเจ้าอินแปง อบ./14, ศิลาจารึกพระเจ้าอินแปง อบ./14, จารึกพระเจ้าอินแปง, จารึกวัดป่าใหญ่ 2, จารึกวัดป่าใหญ่ 2, พ.ศ. 2350, พุทธศักราช 2350, พ.ศ. 2350, พุทธศักราช 2350, จ.ศ. 1169, จุลศักราช 1169, จ.ศ. 1169, จุลศักราช 1169, พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149, พ.ศ. 2323, พุทธศักราช 2323, พ.ศ. 2323, พุทธศักราช 2323, จ.ศ. 1142, จุลศักราช 1142, จ.ศ. 1142, จุลศักราช 1142, พ.ศ. 2335, พุทธศักราช 2335, พ.ศ. 2335, พุทธศักราช 2335, จ.ศ. 1154, จุลศักราช 1154, จ.ศ. 1154, จุลศักราช 1154, พ.ศ. 2348, พุทธศักราช 2348, พ.ศ. 2348, พุทธศักราช 2348, จ.ศ. 1167, จุลศักราช 1167, จ.ศ. 1167, จุลศักราช 1167, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดมหาวนาราม, อำเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, เจ้าพระปทุม, พระพรหมวรราชสุริยวงศ์, มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, ลูกศิษย์, จิตตะ, น้องหญิง, แม่ยุ, อียู, หลานหญิง, ข้าโอกาส, ลูกหญิง, สาวหล้า, สาวตวย, สาวทุม, นางเกปโคต, นางเกปแก้ว, แม่เชียงทา, แม่ภา, แม่พระชาลี, สาวดวง, อีบุร, อีบุน, อีบุญ, ข้อยโอกาส, ข่อยโอกาส, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, แม่ปุย, อีปู้ย, นางเพี้ยโคตร, นางเพี้ยแก้ว, ดิน, เกียน, เกวียน, ถัง, ข้าว, ปูนสอ, ปูนขาวชื่อ, เมิงอุบล, เมืองอุบล, แดนดง, พุทธศาสนา, วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสสัสดี, สร้างวิหารอาราม, สร้างอาราม, สร้างพระพุทธรูปดิน, สร้างพระพุทธรูปอิฐ, อุทิศข้าโอกาส, ทำนา, เฮ็ดนา, ปีเมิงมด, ปีกดสง้า, ปีกดซง้า, ปีเต่าสัน, ปีรวงเล้า, ปีรวงเร้า, พระพุทธรูปเจ้าองค์วิเศษ, ปีเมิงเม้า, รษีกันย์, ราศีกันย์, ยามแถใกล้ค่ำ, พระเจ้าอินแปง, คน, เทวดา, พระพุทธรูปอินแปงเจ้า, ปัจจัยไทยธรรมให้สมควร, โทษ, กรรม, สีลาเลก, กุศละ, เคิงสักกระปุชา, เครื่องสักการะบูชา, ปีเมิงเหม้า, มื้อรวงไค้, มื้อรวงไก๊, ศิลาเลก, มหรสพ, ดินโอกาส, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 : อักษรธรรมและอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2350, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาวนาราม อุบลราชธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา |
วิหารพระเจ้าอินแปง วัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2350 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2493?lang=th |
73 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก 4 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงระลึกถึงพระราชไมตรี ที่มีต่อพระเจ้าต้าฉิง (พระเจ้าเกาจง) จึงโปรดให้อัญเชิญพระราชสาส์น พร้อมด้วยเครื่องมงคลราชบรรณาการ รวมทั้งพระราชสาส์นคำหับอักษรจีน ถวายแด่พระเจ้าต้าฉิง ตามขนบที่มีมาแต่โบราณ |
พระราชสาส์นไปเมืองจีน ครั้งรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีเถาะ สัปตศก จุลศักราช 1157 พ.ศ. 2338, จุลศักราช 1157, พ.ศ. 2338", 1157, 2338, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, จักรี, ชิง, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าต้าฉิง, ต้าชิง, พระเจ้าเกาจง, พระสวัสดิสุนทรอภัย, หลวงบวรเสน่หา, หลวงพจนาพิมล, ขุนพจนาพิจิตร, ขุนพิพิธวาจา, ท่องสื่อใหญ่, ปั้นสื่อ, ปักกิ่ง, จีน, เจริญสัมพันธไมตรี, พระราชสาส์นคำหับ, สุพรรณบัฏ, สุพรรณบัฎ, สุพรรณบัฏ, เครื่องราชบรรณาการ, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2338 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2475?lang=th |
74 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงระลึกถึงพระราชไมตรีที่มีต่อพระเจ้าต้าฉิง (พระเจ้าเกาจง) จึงโปรดให้อัญเชิญพระราชสาส์นพร้อมด้วยเครื่องมงคลราชบรรณาการรวมทั้งพระราชสาส์นคำหับอักษรจีนถวายแด่พระเจ้าต้าฉิงตามขนบที่มีมาแต่โบราณ |
พระราชสาส์นไปเมืองจีน ครั้งรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีชวด จัตวาศก จุลศักราช 1154 พ.ศ. 2335, จุลศักราช 1154, พ.ศ. 2335, 1154, 2335, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, รัชกาลที่ 1, ร.1, จักรี, ชิง, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าต้าฉิง, ต้าชิง, พระเจ้าเกาจง, พระสวัสดิสุนทรอภัย, หลวงบวรเสน่หา, หลวงพจนาพิมล, ขุนพจนาพิจิตร, ขุนพิพิธวาจา, ท่องสื่อใหญ่, ปั้นสื่อ, ปักกิ่ง, จีน, เจริญสัมพันธไมตรี, พระราชสาส์นคำหับ, สุพรรณบัฏ, สุพรรณบัฎ, สุพรรณบัฏ, เครื่องราชบรรณาการ, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2335 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2473?lang=th |
75 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงขอเจริญพระราชไมตรีกับพระเจ้าต้าฉิง (พระเจ้าเกาจง) กษัตริย์จีนและกล่าวถึงการรบระหว่างไทยกับพม่า (สงครามเก้าทัพ) ซึ่งทางไทยเป็นฝ่ายชนะแต่เกรงว่าพม่าจะยกทัพมาอีก จึงขอซื้อเกราะทองเหลืองจากจีนจำนวน 2000 ชิ้น |
พระราชสาส์นไปเมืองจีน ครั้งรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีมะเมีย อัฐศก จุลศักราช 1148 พ.ศ. 2329, พ.ศ. 2329, จุลศักราช 1148, 2329, 1148, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, รัชกาลที่ 1, ร.1, จักรี, ชิง, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าต้าฉิง, ต้าชิง, พระเจ้าเกาจง, โบดอพญา, โพธิพญา, ปดุง, ปะดุง, ปักกิ่ง, จีน, เจริญสัมพันธไมตรี, พระราชสาส์นคำหับ, เกราะ, รัตนบุรอังวะ, สงครามเก้าทัพ, รัตนบุรอังวะ, อังวะ, พม่า, จีน, สุพรรณบัฏ, สุพรรณบัฎ, สุพรรณบัตร, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2329 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2471?lang=th |
76 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงระลึกถึงพระราชไมตรีที่มีต่อพระเจ้าต้าฉิง จึงโปรดให้ส่งพระราชสาส์น พร้อมด้วยเครื่องมงคลราชบรรณาการรวมทั้งพระราชสาส์นคำหับอักษรจีนถวายแด่พระเจ้าต้าฉิงตามขนบที่มีมาแต่โบราณ |
พระราชสาส์นไปเมืองจีน ครั้งรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีมะโรง ฉศก จุลศักราช 1146 พ.ศ. 2327, พ.ศ. 2327, จุลศักราช 1146, 2327, 1146, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, ร.1, จักรี, ชิง, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าต้าฉิง, ต้าชิง, พระเจ้าเกาจง, พระสวัสดิสุนทรอภัย, หลวงบวรเสน่หา, หลวงพจนาพิมล, ขุนพจนาพิจิตร, ขุนพิพิธวาจา, ท่องสื่อใหญ่, ปั้นสื่อ, ปักกิ่ง, จีน, เจริญสัมพันธไมตรี, พระราชสาส์นคำหับ, สุพรรณบัฏ, สุพรรณบัฎ, สุพรรณบัฏ, เครื่องราชบรรณาการ, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2327 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2465?lang=th |
77 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขอเจริญพระราชไมตรีกับพระเจ้านโปเลียนที่ 3 และกล่าวถึงการทำสัญญาทางการค้าระหว่างไทยกับฝรั่งเศสโดยมี Monsieur Charles de Montigny เป็นราชทูต |
พระราชสาส์นจารึกแผ่นพระสุพรรณบัตรพระราชทานมอบมองซิเออมองติงงีราชทูตฝรั่งเศสเชิญไปถวายพระเจ้านโปเลียนที่ 3 เมื่อปีมะโรง พ.ศ. 2399, พ.ศ. 2399, 2399, ค.ศ. 1856, 1856, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร.4, ร.4, รัชกาลที่ 4, รัตนโกสินทร์, ปารีส, ฝรั่งเศส, นโปเลียนที่ 3, นโปเลยอน, มงติงงี, มงติญญี, สัมพันธไมตรี, ไม่มีรุป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2399 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2459?lang=th |
78 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขอเจริญพระราชไมตรีกับสมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียและกล่าวถึงการทำสัญญาระหว่างไทยกับอังกฤษโดยมี เซอร์ จอห์น เบาว์ริง เป็นราชทูต ตอนท้ายกล่าวขอบคุณสำหรับเครื่องราชบรรณาการ โดยทางไทยได้จัดส่งสิ่งของเป็นการตอบแทนไปพร้อมกับพระราชสาส์นฉบับนี้ |
พระราชสาสนจารึกในแผ่นสุพรรณบัตร พระราชทานเซอยอนโบวริงอรรคราชทูตอังกฤษเชิญไปถวายสมเด็จพระนางวิกตอริยา ราชินี เมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2398, พ.ศ. 2398, จ.ศ. 1217, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร.4, รัชกาลที่ 4, รัตนโกสินทร์, วิคตอเรีย, วิคตอริยา, เซอร์ จอห์น เบาว์ริง, เซอร์ ยอน โบว์ริงอื่นๆ, อังกฤษ, บริเทน, บริตาเนีย, ไอร์แลนด์, ไอยิแลน สัมพันธไมตรี, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2398 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2461?lang=th |
79 |
จารึกพระยาหลวงวชิรปราการ |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงเหตุการณ์ครั้งเมื่อกษัตริย์อยุธยา (ธนบุรี) มีชัยเหนือล้านนา และได้อภิเษกพระยาหลวงวิเชียรปราการ จากกำแพงเพชร ให้เป็นเจ้าเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ พระยาหลวงวิเชียรปราการทรงเป็นผู้มีใจเลื่อมใสในศาสนา ได้มีศรัทธาให้ช่างสร้างแปงโกศเงินและโกศทองคำเพื่อใช้ประดิษฐานพระมหาชินธาตุเจ้า |
1.2.2.1 วัดพระธาตุศรีจอมทอง พ.ศ. 2323, 1.2.2.1 วัดพระธาตุศรีจอมทอง พ.ศ. 2323, ชม. 19 จารึกพระยาหลวงวัชชิรปราการอาราธนาพระธาตุฯ, ชม. 19 จารึกพระยาหลวงวัชชิรปราการอาราธนาพระธาตุฯ, จารึกพระยาหลวงวชิรปราการ, ชม. 19 จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง (พ.ศ. 2322), ชม. 19 จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง (พ.ศ. 2322), ชม. 19, ชม. 19, วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่, พระมหาชินธาตุเจ้า, กษัตริย์อยุธยา, เมืองหริภุญชัย, พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพชร, นพบุรีศรีมหานครพิงไชยเชียงใหม่, พระมหาชินธาตุลพูน, พระมหาชินธาตุลำพูน, เจ้าแผ่นดินเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2322, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาวิเชียรปราการ, ยุคสมัย-จารึกสมัยธนบุรี, ยุคสมัย-จารึกสมัยธนบุรี-สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, วัตถุ-จารึกบนไม้, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงธนบุรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองกำแพงเพชร, บุคคล-พระยาวิเชียรปราการ |
พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 30 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2322 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15611?lang=th |
80 |
จารึกพระพุทธบาทไม้มุก |
ธรรมล้านนา,มอญ,เทวนาครี |
ด้านที่ 1 พระนามของอดีตพุทธ ได้แก่ พระพุทธกกุสนธ์ กัสสปะ และโกนาคมน์ ชื่อของสวรรค์ชั้นต่างๆและชื่อสัตว์หิมพานต์ เป็นต้น ด้านที่ 2 กล่าวถึงการบูรณะพระพุทธบาทในจุลศักราช 1156 (พ.ศ. 2337) |
จารึกพระพุทธบาทไม้มุก, ชม. 65, ชม. 65, พุทธศตวรรษที่ 21, จุลศักราช 1156, พุทธศักราช 2337, พ.ศ. 1337, จ.ศ. 1337, พุทธศตวรรษที่ 21, จุลศักราช 1156, พุทธศักราช 2337, พ.ศ. 1337, จ.ศ. 1337, ไม้, พระพุทธบาท, วิหารลายคำ วัดพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่, ล้านนา, พระเจ้ากาวิละ, เจ้าเจ็ดตน, กาวิละ, คำฝั้น, ธรรมลังกา, ภิกษุคัมภีร์, สาธุคัมภีร์, เจ้าอาวาสวัดพระสิงห์, ชาวบ้านหนองควาย, เมืองเชียงใหม่, พุทธ, การบูรณะพระพุทธบาท, พระพุทธบาท, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2337, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระยาธรรมลังกา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระยาคำฝั้น, บุคคล-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-พระยาธรรมลังกา, บุคคล-พระยาคำฝั้น, ไม่มีรูป, จารึกสามอักษร, จารึกสามภาษา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2337 |
สันสกฤต,บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1764?lang=th |
81 |
จารึกพระพุทธบาทหนองยาง |
ไทยน้อย,ธรรมอีสาน |
พระเถระองค์หนึ่ง (พระมหาอุตตมปัญญา) ได้อาราธนารอยพระพุทธบาทศิลาทราย กว้างประมาณ 1.50 ม. ยาว 1.60 ม. จากกรุงศรีอยุธยาไปไว้ที่สำนักสงฆ์นี้ พร้อมทั้งใส่บรรณศาลาไว้ด้วย |
จารึกพระพุทธบาทหนองยาง, พ.ศ. 2378, พุทธศักราช 2378, พ.ศ. 2378, พุทธศักราช 2378, หินทรายแดง, รูปใบเสมา, ศาลาพระพุทธบาทหนองยาง, สำนักสงฆ์หนองยาง, ตำบลหนองยาง, อำเภอมหาชนะชัย, จังหวัดยโสธร, ไทย, รัตนโกสินทร์, มหาอุตตมะปัญญา, อุบาสก, ศิษย์, ภิกขุ, กุลบุตรมนุษย์นิกร, กรุงศรีอยุธยา, พุทธศาสนา, บรรณาศาล, อาราธนาพุทธบาท, อาราธนาพระพุทธบาท, ญัตติการ, พระวัสสา |
อาคารรอยพระพุทธบาทจำลอง วัดพระพุทธบาทยโสธร บ้านหนองยาง ตำบลหัวเมือง อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร (สำรวจเมื่อ 2 กันยายน 2563) |
พุทธศักราช 2378 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2227?lang=th |
82 |
จารึกพระกัญจนะมหาเถรสร้างพระไตรปิฎก |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1195 (พ.ศ. 2376) กัญจนะมหาเถรจากเมืองแพร่และลูกศิษย์ ได้เดินทางมาถึงเมืองน่าน แล้วร่วมกับพระสงฆ์ในเมือง เจ้าเมืองน่านและอุปราช ราชวงศ์ รวมทั้งเจ้านายทั้งหลายร่วมกันสร้างพระไตรปิฎก โดยมีการฉลองเมื่อจุลศักราช 1199 (พ.ศ. 2380) |
จารึกพระกัญจนะมหาเถรสร้างไตรปิฎก, นน.8, นน.8, จารึก 1.7.1.1 เมืองน่าน 2380, จุลศักราช 1195, จุลศักราช 1199, พุทธศักราช 2376, พุทธศักราช 2380, 1195, 1199, 2376, หินชนวน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, กัญจนะมหาเถร, อุปราช, ราชวงศ์, น่าน, แพร่ศาสนาพุทธ, อรัญวาสี, พระไตรปิฎก, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2380, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนหินชนวน, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระไตรปิฎก, เจ้าเมืองน่าน, มหาเถร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2380 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1777?lang=th |
83 |
จารึกบนแผ่นไม้สักที่ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงประวัติการสร้างเมือง ป้อม และกำแพงเมืองกาญจนบุรี รวมถึงการปฏิสังขรณ์วัดในเมืองและในกรุงเทพมหานครโดย พระยาประสิทธิสงคราม เจ้าเมืองกาญจนบุรี ตอนท้ายแผ่ผลบุญแด่เทพทั้งหลายและขอให้ตนสำเร็จแก่พระนิพพาน |
จารึกหลักเมืองกาญจนบุรี, กจ. 1, จารึกก่อกำแพงป้อมประตูเมืองกาญจน์, กจ. 1, จุลศักราช 1193, พุทธศักราช 2374, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2378, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, จ.ศ. 1193, พ.ศ. 2374, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2378, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, จุลศักราช 1193, พุทธศักราช 2374, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2378, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, จ.ศ. 1193, พ.ศ. 2374, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2378, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, ไทย, ธนบุรี, รัตนโกสินทร์, พระยาท้ายน้ำ, พระยาพระคลัง, พระยามหาโยธา, พระยาพระหลวง, ขุนหมื่น, ปุโรหิต, พราหมณ์, กาญจนบุรี, กรุงเทพมหานคร, พุทธศาสนา, การสร้างเมือง, ปฏิสังขรณ์, เครื่องอาถรรพ์, ศิลาอาถรรพ์, เทียนไชย, ทองแดงอาถรรพ์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2378, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่ศาลหลักเมือง กาญจนบุรี, เรื่อง-การเข้าถึงพระนิพพาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างเมือง, เรื่อง-การสร้างป้อม, เรื่อง-การสร้างกำแพง, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-พระยาประสิทธิสงคราม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองกาญจนบุรี |
ภายในศาลหลักเมือง ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1114?lang=th |
84 |
จารึกบนแผ่นไม้สักที่พิพิธภัณฑ์ฯ พิษณุโลก |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถและวิหารพระชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก คือ เมื่อ พ.ศ. 2376 จีนหลวงอุดมไมตรีได้ทำการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ จากนั้นมีศรัทธาที่จะปฏิสังขรณ์วิหารพระชินราช จึงเรียนเจ้าเมืองให้บอกไปยังกรุงเทพมหานคร เพราะวัดดังกล่าวเป็นวัดหลวง เมื่อรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้ จีนหลวงอุดมไมตรี จัดการปฏิสังขรณ์ได้ จึงเริ่มทำการเมื่อ พ.ศ. 2380 โดยแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2386 ตอนท้ายตั้งความปรารถนาขอให้ตนสำเร็จพระนิพพาน |
จารึกบนแผ่นไม้สักที่พิพิธภัณฑ์ ฯ พิษณุโลก, หลักที่ 144 จารึกบนแผ่นไม้สักที่พิพิธภัณฑ์ ฯ พิษณุโลก, หลักที่ 144 จารึกบนแผ่นไม้สักที่พิพิธภัณฑ์ ฯ พิษณุโลก, พ.ศ. 2377, 2381, 2386, จ.ศ. 1196, 1200, 1205, พ.ศ. 2377, 2381, 2386, จ.ศ. 1196, 1200, 1205, ไม้สัก สีน้ำตาล, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, จักรี, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, นิพพาน, จีนหลวงอุดมไมตรี, ท่านแจ่ม, อาจารย์ดี, พระอาจารย์วัดนางพญา, ขรัวดำวัดจัน, เจ้าประคุณวัดสมอราย, เจ้าประคุณพระสังฆราช, อุโบสถวัดมหาธาตุ, วิหารพระชินราช, วัดนางพญา, วัดสมอราย, วัดราชาธิวาส, กรุงเทพ ฯ, ปฏิสังขรณ์. โคกชี, ชุกชี, อารามหลวง, กระเบื้องเคลือบ, ลงรัก, ปิดทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก |
พุทธศักราช 2386 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1245?lang=th |
85 |
จารึกบนแผ่นไม้วัดพระสิงห์ |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า ปี พ.ศ. 2347 พระเจ้าบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์องค์อินทสุรศักดิ์ (พระเจ้ากาวิละ) พร้อมด้วยพระราชบุตรและพระอัครราชเทวี มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงได้บัญชาให้พระมหาวงศ์ซึ่งอาศัยอยู่ในป่าสลักพระพุทธรูปจำนวน 289 องค์ลงบนงาทั้งสองข้างของมหานาคราชพลายซึ่งเพิ่งล้มไป แล้วประดับด้วยทองคำและอัญมณีอย่างงดงามเพื่อใว้เป็นที่สักการะบูชา |
ชม. 40 จารึกบนแผ่นไม้วัดพระสิงห์, ชม. 40 จารึกบนแผ่นไม้วัดพระสิงห์, จารึกพระพุทธรูปสลักบนงาช้าง, ชม. 40 จารึกพระพุทธรูปสลักบนงาช้าง พ.ศ. 2347, ชม. 40 จารึกพระพุทธรูปสลักบนงาช้าง พ.ศ. 2347, ชม. 40, ชม. 40, พ.ศ. 2347, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จ.ศ. 1166, จุลศักราช 1166, จุลศักราช 1166, วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2347, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สลักพระพุทธรูปบนงาช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-พระมหาวงศ์ |
วัดเจดีย์หลวง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2347 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15941?lang=th |
86 |
จารึกบนแผ่นอิฐวัดนาราบ 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2373 (พระและ/หรือชาวบ้าน) วัดบ้านงั่วได้พากันปั้นอิฐ |
จารึกบนแผ่นอิฐวัดนาราบ 2, จารึกบนแผ่นอิฐวัดนาราบ 2, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดนาราบ 5 (นน. 2056) จ.ศ. 1192 (พ.ศ. 2373), จารึกบนแผ่นอิฐ วัดนาราบ 5 (นน. 2056) จ.ศ. 1192 (พ.ศ. 2373), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, อิฐ, ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2373, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14805?lang=th |
87 |
จารึกบนแผ่นอิฐวัดนาราบ 1 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2375 ทัดงั่ว.(ชื่อบุคคล? หรือชื่อวัด?) ได้ปรึกษากันปั้นอิฐถวายแก่วัดนาราบ เพื่อให้เป็นบุญกุศลแก่พวกตนพระพุทธศาสนา |
จารึกบนแผ่นอิฐวัดนาราบ 1, จารึกบนแผ่นอิฐวัดนาราบ 1, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดนาราบ 4 (นน. 2055) จ.ศ. 1194 (พ.ศ. 2375), จารึกบนแผ่นอิฐ วัดนาราบ 4 (นน. 2055) จ.ศ. 1194 (พ.ศ. 2375), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, อิฐ, ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทัดงั่ว |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14803?lang=th |
88 |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 2 |
ธรรมล้านนา |
ขนานไชยวุฒิเป็นผู้ปั้นอิฐก้อนนี้เป็นก้อนที่ 5 |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 2, จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 3 (นน. 2110) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 3 (นน. 2110) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, แผ่นอิฐ, จารึกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพระธาตุพลูแช่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ปั้นอิฐ, บุคคล-ขนานไชยวุฒิ |
พระธาตุพลูแช่ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14975?lang=th |
89 |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1 |
ธรรมล้านนา |
พระกับฆราวาสปั้นอิฐรวมกันได้ 4410 ก้อน |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1, จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 2 (นน. 2109) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 2 (นน. 2109) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, แผ่นอิฐ, จารึกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพระธาตุพลูแช่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ปั้นอิฐ |
พระธาตุพลูแช่ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14972?lang=th |
90 |
จารึกบนแผ่นดินเผาวัดเทพอุรุมภังค์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เมื่อ พ.ศ. 2341 สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ โปรดให้นำพระตำหนักแพมาสร้างเป็นพระอุโบสถของวัดแห่งหนึ่ง เพื่อเป็นปัจจัยแก่พระโพธิญาณ |
ชื่อจารึก : นบ. 2 ,นบ. 2, จารึกวัดเทพอุรุมภังค์ (วัดร้าง), หลักที่ 135 จารึกบนแผ่นดินเผา, หลักที่ 135 จารึกบนแผ่นดินเผา, จารึกบนแผ่นดินเผาวัดเทพอุรุมภังค์ศักราช : พุทธศักราช 2341, พุทธศักราช 2341วัตถุจารึก : แผ่นดินเผาเนื้อดิน (เผาด้วยอุณหภูมิต่ำ)ลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสถานที่พบ : วัดเทพอุรุมภังค์ (วัดร้าง) ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีอาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช , รัชกาลที่1,รัชกาลที่1, ร.1, ร.1ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์, เจ้าฟ้าตัน สถานที่ : วัดเทพอุรุมภังค์, วัดร้าง, พระตำหนักแพ, อุโบสถ, อารามศาสนา : พุทธศาสนา, พระโพธิญาณเหตุการณ์สำคัญ : การสร้างพระอุโบสถ |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2341 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/739?lang=th |
91 |
จารึกบนแผงพระพิมพ์ไม้วัดน้ำลัด |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2341 อ้ายมีพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกบนแผงพระพิมพ์ไม้วัดน้ำลัด, จารึกบนแผงพระพิมพ์ไม้ วัดน้ำลัด 1 (นน. 2111) จ.ศ. 1160 (พ.ศ. 2341), จารึกบนแผงพระพิมพ์ไม้ วัดน้ำลัด 1 (นน. 2111) จ.ศ. 1160 (พ.ศ. 2341), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, แผงพระพิมพ์ไม้, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2341, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนแผงพระพิมพ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายมี |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2341 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14978?lang=th |
92 |
จารึกบนหลังกรอบไม้สักด้านปฤษฎางค์ พระศิลาปางทรมานช้างนาราคิรี |
ธรรมล้านนา |
ใน พ.ศ. 2333 มังราวิเชียรปราการเจ้า, อัครราชชายานางพระยาหลวง และมเหสีเวสิยาเรือนหลวง พร้อมด้วยบรรดาขุนนางราชปุโรหิตทั้งหลายได้ร่วมกันปฏิสังขรณ์พระพุทธรูป โดยหวังผลจากบุญกุศลนี้ 3 ประการ ประการแรก คือ ได้ถึงซึ่งนิพพาน ประการที่สอง คือ หากได้เกิดมาอีกในชาติหน้า ขอให้พรั่งพร้อมอยู่ในตระกูลอันดี แวดล้อมด้วยญาติบริวารและทรัพย์ และประการสุดท้าย คือ ขอให้ส่วนกุศลเหล่านี้แผ่ไปถึงบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้วและสรรพสัตว์ทั้งมวล |
ชม. 2 จารึกหลังพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น, ชม. 2 จารึกหลังพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น, หลักที่ 132 จารึกบนหลังกรอบไม้สักด้านปฤษฎางค์ พระศิลาปางทรมานช้างนาราคิรี, หลักที่ 132 จารึกบนหลังกรอบไม้สักด้านปฤษฎางค์ พระศิลาปางทรมานช้างนาราคิรี, 254 วัดเชียงมั่น, 254 วัดเชียงมั่น, พ.ศ. 2333, 1.2.2.1 วัดเชียงมั่น พ.ศ. 2334, 1.2.2.1 วัดเชียงมั่น พ.ศ. 2334, พุทธศักราช 2333, พ.ศ. 2333, พุทธศักราช 2333, จ.ศ. 1152, จุลศักราช 1152, จ.ศ. 1152, จุลศักราช 1152, ไม้สัก, กรอบไม้สักด้านพระปฤษฎางค์พระพุทธรูปศิลา, วัดเชียงมั่น, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่อาณาจักร: ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: สมเด็จเสฏฐาบรมภูมินทราธิราช, มังราวิเชียรปราการเจ้า, อัครราชชายานางพระยาหลวง, มเหสีเวสิยาเรือนหลวง, ราชภาติกา, โอโรธาไวยาวัจจการ, ราชปุโร, ท้าวพระยา, พ่อเฒ่าแม่เฒ่า, บิดามารดา, ครูบาเจ้า, พระยาสุรวิชัย, นางพิมพา, น้อยมโนรมย์, นางกร, นางยอดเรือน, นางสิงห์, นางสุทธรรม, อาว, พ่อเรือน, นางสด, นางคำ, นางกุม, ลุงอ้าย, ลุงเติอขวัญมอยน้อยเต้, ข้าพระ, ข้าท้าวมหาพลนายก, ช้าง, ม้า, วัว, คลาย, โค, กระบือ, บัลลังก์, สุวรรณกาญจนคำแดง, ทองคำ, สมบัติ, ชมพูทวีป, ทวีปน้อย, พุทธศาสนา, ปฏิสังขรณ์พระพุทธรูป, ปิดทอง, ปีจอ, ฉนำกัมโพชคาม, ขอมพิสัย, เหมันตฤดู, มาฆมาส, กิสณะปักขะ, เตรสมี, ศุกร์วารไถง, หนอุตตมรมิงพิงชัย, ปีกดเส็ด, ไทยกาบสี, กุศลกรรม, ติวิธสุข, เนรพาน, นิพพาน, ภาวานุภว, ตระกูล, ทิพพานุทิพย์, ภพกำเนิด, คัมภีรติกา, ราชกุศล, เวรานุเวร, เดชกุศล, คัมภีรสิทธิมังคละหิต, จารทิก, เลกขณะสังขาร, มาร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2333, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนกรอบไม้, จารึกวัดเชียงมั่น, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การบริจาคและการทำบุญ, การสร้างพระพุทธรูป, การบูรณะปฎิสังขรณ์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2333, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนกรอบไม้, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบูรณะปฎิสังขรณ์ล บุคคล-มังราวิเชียรปราการเจ้า, บุคคล-มเหสีเวสิยา |
วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2333 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1532?lang=th |
93 |
จารึกบนลานเงิน วัดราชบูรณะ กรุงเทพฯ |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงวันเวลาที่สร้างพระอุโบสถของวัด |
จารึกบนลานเงิน วัดราชบูรณะ กรุงเทพ ฯ, หลักที่ 134 จารึกบนลานเงิน, หลักที่ 134 จารึกบนลานเงิน, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลักษณะเดียวกับใบลาน, ลานเงิน, วัดราชบูรณะ แขวงวังบูรพา เขตพระนคร กรุงเทพฯ, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ร. 1), รัชกาลที่ 1, ร. 1, รัชกาลที่ 1,, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, มหาธาตุ, พระอุโบสถ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชบูรณะ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ |
วัดราชบูรณะ แขวงวังบูรพา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/812?lang=th |
94 |
จารึกบนผ้าพระบฏวัดนาเตา |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2358 ธรรมชัยภิกขุพร้อมด้วยบิดาได้เขียนผ้าพระบฏนี้ไว้ เพื่อเป็นปัจจัยให้ได้พบความสุขทั้งทางโลกิยะ โลกุตตระ และสุขแห่งพระนิพพาน |
จารึกบนผ้าพระบฏ วัดนาเตา 2 (นน. 2094) จ.ศ. 1177 (พ.ศ. 2358), จารึกบนผ้าพระบฏ วัดนาเตา 2 (นน. 2094) จ.ศ. 1177 (พ.ศ. 2358), จารึกพระบฏ วัดนาเตา อ. นาน้อย จ. น่าน, วัดนาเตา ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ผ้าฝ้าย, รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, อื่นๆ : พระธรรมชัย, ธัมมชัย, กัลปนา, นิพพาน, เจ้าสุมนเทวราช, น่าน, ผ้าบฏ, นิสา เชยกลิ่น, กรรณิการ์ วิมลเกษม, ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย, ดำรงวิชาการ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนผ้าฝ้าย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาเตา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-เขียนพระบฏ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระธรรมชัยภิกขุ |
วัดนาเตา ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2358 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/10468?lang=th |
95 |
จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คำเตือนไม่ให้ขุดทำลายเพื่อหาของมีค่าในบริเวณวัดพระเมรุราช มีการสาปแช่งต่างๆ เช่น ขอให้ตายตกนรกอเวจีแสนกัลป์ และไม่ทันยุคพระศรีอารย์ เป็นต้น หากผู้ใดมีศรัทธาขอแผ่กุศลให้สำเร็จมรรคผลและเข้าสู่นิพพาน ตอนท้ายฝากให้เจ้าอาวาส พระสงฆ์ และผู้มีศรัทธา ช่วยกันดูแลซ่อมแซมวัด |
จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 2, อย. 44, หลักที่ 160 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 2, อย. 44, หลักที่ 160 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, จารึกพระประธาน, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, สยาม, ไทย, พระยาไชยวิชิต, พญาไชยวิชิตสิทธิสาตรา, วัดหน้าพระเมรุ, วัดเมรุราช, วัดเมรุราชิการาม, อยุธยา, พุทธศาสนา, สาปแช่ง, ขุมทรัพย์, พระศรีอาริยเจ้า, พระศรีอารย์, อนาคตพุทธเจ้า, ภัทรกัลป์, เมตไตรย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สาโรจน์ มีวงษ์สม, ประวัติวัดสำคัญในอยุธยา, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, มานพ ถนอมศรี, อยุธยา เมืองประวัติศาสตร์ มรดกโลก, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การสร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง |
ภายในพระอุโบสถวัดหน้าพระเมรุราชิการาม ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1108?lang=th |
96 |
จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2378 พระยาไชยวิชิต ทำการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถวัดพระเมรุราช โดยมีเจ้าประคุณพระมงคลเทพ วัดพนัญเชิง เป็นประธาน มีการระบุถึงส่วนต่างๆที่ทำการซ่อมแซมและสร้างเพิ่มเติม นอกจากนี้ ได้ถวายนามพระประธานว่า “พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ” ตอนท้ายแผ่ส่วนบุญให้แก่สัตว์ทั้งหลายแล้วขอให้ตนเสวยร่มสมบัติทั้งในโลกมนุษย์-สวรรค์ เป็นผู้มีปัญญา และถึงแก่นิพพานโดยเร็ว |
จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 1, อย. 18, หลักที่ 159 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, จารึกพระประธาน, จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 1, อย. 18, หลักที่ 159, หลักที่ 159 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, จุลศักราช 1197, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2378, พุทธศักราช 2378, จุลศักราช 1197, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2387, พุทธศักราช 2387, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, สยาม, ไทย, พระยาไชยวิชิต, พญาไชยวิชิตสิทธิสาตรา, ขุนอินอาญา, ขุนรองแพง, เจ้าประคุนพระมงคลเทพ, อสีติ, มหาสาวก, วัดหน้าพระเมรุ, วัดเมรุราช, วัดเมรุราชิการาม, อยุธยา, วัดพนัญเชิง, พุทธศาสนา, ปฏิสังขรณ์, ซ่อมแซม, บูรณะ, ถวายพระนาม, พระพุทธเจ้า, นิพพาน, นฤพาน, เครื่องบน, ฐานปัทม์, จิตรกรรมฝาผนัง, พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ, ปฏิมากร, บุษบก, อย. 18 จารึกพระประธาน, หลักที่ 159 ศิลาจารึกวัดหน้าพระเมรุ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สาโรจน์ มีวงษ์สม, ประวัติวัดสำคัญในอยุธยา, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, มานพ ถนอมศรี, อยุธยา เมืองประวัติศาสตร์ มรดกโลก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2378, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การสร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ, บุคคล-พระยาไชยวิชิต, บุคคล-เจ้าประคุณพระมงคลเทพ วัดพนัญเชิง |
ภายในพระอุโบสถวัดหน้าพระเมรุราชิการาม ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1110?lang=th |
97 |
จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2378 พระยาไชยวิชิต ทำการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถวัดพระเมรุราช โดยมีเจ้าประคุณพระมงคลเทพ วัดพนัญเชิง เป็นประธาน มีการระบุถึงส่วนต่างๆ ที่ทำการซ่อมแซมและสร้างเพิ่มเติม นอกจากนี้ ได้ถวายนามพระประธานว่า “พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ” ตอนท้ายแผ่ส่วนบุญให้แก่สัตว์ทั้งหลายแล้วขอให้ตนเสวยร่มสมบัติทั้งในโลก มนุษย์-สวรรค์ เป็นผู้มีปัญญา และถึงแก่นิพพานโดยเร็ว |
จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, อย. 17, หลักที่ 161 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, อย.17, หลักที่ 161,จารึกพระวิหารคันธาร, จุลศักราช 1200, จ.ศ. 1200, พ.ศ. 2381, พุทธศักราช 2381, 1200, 2381, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, สยาม, ไทย, พระยาไชยวิชิต, พญาไชยวิชิตสิทธิสาตรา, อุบาลี, วัดหน้าพระเมรุ, วัดเมรุราช, วัดเมรุราชิการาม, ลังกา, วัดหน้าพระธาตุ, วิหารเขียน, วิหารสรรเพชญ์, พระสรรเพชญ์พิหาร, อยุธยา, นครปฐม, พุทธศาสนา, พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาท, คันธารราฐ, ทวารวดี, พระพุทธเจ้า, นิพพาน, นฤพาน, ภัทรกัลป์, คามวาสี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สาโรจน์ มีวงษ์สม, ประวัติวัดสำคัญในอยุธยา, มานพ ถนอมศรี, อยุธยา เมืองประวัติศาสตร์ มรดกโลก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การสร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระยาไชยวิชิต, บุคคล-เจ้าประคุณพระมงคลเทพ วัดพนัญเชิง |
วิหารน้อย วัดหน้าพระเมรุราชิการาม ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1106?lang=th |
98 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 4 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวปฏิญาณว่า ตนซึ่งเป็นภิกษุ ไม่เคยทำให้อสุจิเคลื่อน และกอดจูบกับสามเณร หรือศิษย์วัดด้วยราคะ หากสิ่งที่ตนกล่าวเป็นความจริง ขอให้ตนได้อยู่ที่เสนาสนะนี้ต่อไป ถ้าใครอยู่ที่แห่งนี้แล้ว ไม่ได้ปล่อยใจไปตามราคะ ขอให้ผู้นั้นรวมทั้งบริวาร ญาติพี่น้อง และลูกหลานมีอายุยืนนาน มีความสุขสมปรารถนา ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่ตั้งใจทำให้อสุจิเคลื่อน กอดจูบกัน หรือทำลายจารึกนี้ |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 4, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 4, หลักที่ 174 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 174 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4 , รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระตำหนักปั้นหย่า, วัดบวรนิเวศวิหาร, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393-2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1153?lang=th |
99 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) ทรงมีพระบรมราชโองการ ประกาศห้ามผู้หญิงขึ้นไปบนพระตำหนักปั้นหย่าอย่างเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นเด็ก หญิงสาว หรือคนชรา |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 3, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 3, หลักที่ 170 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 170 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4 , รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ผู้หญิง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393,อายุ-จารึก พ.ศ. 2393-2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/774?lang=th |
100 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) ทรงมีพระบรมราชโองการ ประกาศห้ามผู้หญิงขึ้นไปบนพระตำหนักปั้นหย่าอย่างเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นเด็ก หญิงสาว หรือคนชรา |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 2, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 2, หลักที่ 169 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 169 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4 , รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ผู้หญิง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393,อายุ-จารึก พ.ศ. 2393-2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/772?lang=th |
101 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศห้ามผู้หญิงขึ้นไปบนพระตำหนักปั้นหย่าอย่างเด็ดขาด ไม่เว้นแม้แต่เด็กหรือคนชรา อีกทั้งสัตว์ตัวเมียก็ห้ามนำมาเลี้ยงในบริเวณดังกล่าว เพื่อรักษาให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สำหรับปฏิบัติธรรมดังเช่นที่เคยเป็นมาตั้งแต่ตำหนักนี้สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2379 ในสมัยรัชกาลที่ 3 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 1, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 1, หลักที่ 168 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 168 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระตำหนักปั้นหย่า, วัดบวรนิเวศวิหาร, พุทธศาสนา, กุศล สงฆ์, สามเณร, กรรมฐาน, สวดมนต์, ภาวนา, สุนัข, หมา, วานร, ลิง, แมว, เดียรฉาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/764?lang=th |
102 |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีสุทธาวาส |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ ทรงมีพระราชศรัทธาสร้างวัดรังษีสุทธาวาส โดยใช้เวลาถึง 6 ปี จึงแล้วเสร็จ ตอนท้ายกล่าวอุทิศกุศลนี้ให้แก่สรรพสัตว์ทั้งปวง |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีสุทธาวาส, หลักที่ 137 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีฯ, หลักที่ 137 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีฯ, พุทธศักราช 2366, พุทธศักราช 2366, พ.ศ. 2366, พ.ศ. 2366, อุโบสถวัดรังษีสุทธาวาส ในวัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร. 2) แห่งราชวงศ์จักรี, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร. 2) แห่งราชวงศ์จักรี, รัชกาลที่ 2, รัชกาลที่ 2, พุทธ, พระรัตนตรัย, ปริยัติธรรม, พุทธภูมิ, ปัจเจกภูมิ, สาวกภูมิ, วัฏสงสาร, นิพพาน, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, อรัญวาสี, คามวาสี, อุทิศ, กุศล, อนุโมทนา, การสร้างวัด, การตั้งชื่อวัด, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2366, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมขุนอิสรานุรักษ์, บุคคล-พระมหานาค, บุคคล-พระมหาอยู่ |
ฝาผนังด้านหน้าของพระอุโบสถเก่า วัดรังษีสุทธาวาส ในวัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2366 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/754?lang=th |
103 |
จารึกที่ฐานรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 3) โปรดให้สร้างรูปหล่อพระพุทธโฆษาจารย์เพื่อให้เป็นที่สักการะบูชาของสานุศิษย์ นอกจากนี้ยังทรงปฏิสังขรณ์วัดแล้วเปลี่ยนชื่อจากวัดพุทไธสวรรย์เป็น “วัดโมลีโลกย์สุธารามอาวาสวรวิหาร” |
ชื่อจารึก : ธบ. 7, จารึกวัดโมลีโลกยาราม, หลักที่ 167 จารึกที่ฐานรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์”, ธบ. 7, จารึกวัดโมลีโลกยาราม, หลักที่ 167 จารึกที่ฐานรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์” ศักราช : พุทธศักราช 2386วัตถุจารึก : ทองคำลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สถานที่พบ : วัดโมลีโลกยาราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กทม. อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 3, ร. 3 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 3, ร. 3, พระพุทธโฆสาจารย์ (ขุน), อาจารย์ฉิม, สถานที่ : วัดโมลีโลกยาราม, โมลีโลกย์สุทธารามอาวาสวรวิหาร, วัดพุทไธศวรรย์, พุทไธศวรร ยาวาสวรวิหาร ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : หล่อรูป, จำลองรูป, สร้างประติมากรรม, ปฏิสังขรณ์, เปลี่ยนชื่อวัด |
วัดโมลีโลกยาราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2386 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1022?lang=th |
104 |
จารึกที่ฐานรูปนายเรืองผู้เผาตัว |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2333 นายเรืองเผาตัวตายที่วัดอรุณราชธาราม เพราะเชื่อว่าตนจะสำเร็จโพธิญาณ โดยก่อนหน้านั้นนายเรืองกับเพื่อน 2 คน ได้เสี่ยงทายโดยใช้ดอกบัวอ่อน หากของใครบานแสดงว่าจะสำเร็จโพธิญาณ ปรากฏว่ารุ่งเช้าดอกบัวของนายเรืองบาน ตั้งแต่นั้นจึงมาถือศีล ฟังธรรมอยู่ที่ศาลาการเปรียญเก่า โดยจุดไฟที่แขนทั้ง 2 ข้างทุกวัน จนถึงวันเกิดเหตุ นายเรืองฟังเทศนาจบก็นุ่งผ้าชุบน้ำมันแล้วเผาตัวตาย ชาวบ้านช่วยกันยกศพไปเผา แล้วเก็บอัฐิไว้ที่ศาลาการเปรียญเก่า วัดอรุณราชธาราม |
ธบ. 10, จารึกศาลด้านหน้าพระอุโบสถวัดอรุณ, หลักที่ 133 ศิลาจารึกที่ฐานรูปนายเรืองผู้เผาตัว, ธบ. 10, จารึกศาลด้านหน้าพระอุโบสถวัดอรุณ, หลักที่ 133 ศิลาจารึกที่ฐานรูปนายเรืองผู้เผาตัวจารึกที่ฐานรูปนายเรืองผู้เผาตัว, จุลศักราช 1152, พุทธศักราช 2333, จุลศักราช 1152, พุทธศักราช 2333, จ.ศ. 1152, พ.ศ. 2333, จ.ศ.1152, พ.ศ. 2333, หินชนวนสีดำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร. 1, รัชกาลที่ 1, ร. 1, จักรี,รัตนโกสินทร์, นายเรือง, ขุนศรีกันฐัศว์, นายทองรัก, วัดครุฑ, วัดอรุณราชธาราม, วัดอรุณราชธาราม, วัดแจ้ง, วัดหงส์รัตนาราม, วัดหงส์, ศาลาการเปรียญเก่า, การบุเรียญ, ศาสนาพุทธ, พุทธศาสนา, พุทธภูมิ, อุโบสถศิล, เผาตัวตาย, เสี่ยงทายด, ดอกบัว |
ศาลาเล็ก บริเวณหน้าพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2333 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/703?lang=th |
105 |
จารึกที่ฐานรูปนายนกผู้เผาตัว |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2360 นายนกเผาตัวตายบริเวณใต้ต้นโพธิ์ หน้าพระวิหารเก่า วัดอรุณราชธาราม ด้วยความเชื่อว่าจะสามารถบรรลุแก่นิพพานได้ โดยช่วงก่อนวันเกิด เหตุนายนกได้มาอยู่ที่การเปรียญเก่าของวัดดังกล่าว เพื่อปฏิบัติธรรม ศพนายนกถูกพบในวันรุ่งขึ้น ชาวบ้านที่ทราบเรื่องต่างพากันมาทำบุญบังสุกุลให้แก่นายนก เป็นจำนวนมาก |
ธบ. 9, ธบ. 9, จารึกศาลด้านหน้าพระอุโบสถวัดอรุณ, หลักที่ 136 ศิลาจารึกที่ฐานรูปนายนกผู้เผาตัว, หลักที่ 136 ศิลาจารึกที่ฐานรูปนายนกผู้เผาตัว, จารึกที่ฐานรูปนายนกผู้เผาตัว, จุลศักราช 1179, พุทธศักราช 2360, จุลศักราช 1179, พุทธศักราช 2360, หินชนวนสีดำลักษณะวัตถุ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย , รัชกาลที่ 2, ร. 2, จักรี, รัตนโกสินทร์, นายนก, การบุเรียญ การเปรียญ ศาลาการเปรียญ วัดอรุณราชธาราม วัดอรุณราชวราราม พระวิหารเก่า, พระศรีมหาโพธิ์, พุทธศาสนา, นิพพาน, ศิล, ศีล, เจริญภาวน, บังสุกุลเหตุการณ์สำคัญ, เผาตัวตาย, อดอาหาร, ทรมานตน |
ศาลาเล็ก บริเวณหน้าพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/715?lang=th |
106 |
จารึกที่ฐานพระสมุทรเจดีย์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เมื่อ พ.ศ. 2370 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) โปรดให้สร้างป้อม,กำแพงเมืองนครเขื่อนขัณฑ์และเมืองสมุทรปราการจากนั้นทรงดำริที่จะสร้างพระมหาเจดีย์เพื่อบรรจุพระบรมธาตุ จึงโปรดให้เจ้าพระยาพระคลังชักชวนข้าราชการและประชาชนร่วมกันนำหิน ทราย อิฐ มาถมและปรับพื้นที่ให้เรียบแล้วพระราชทานทรัพย์ซื้อวัสดุและค่าจ้างในการก่อสร้าง โดยแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2371 ถวายพระนามว่า “พระสมุทรเจดีย์” ตอนท้ายกล่าวอุทิศพระราชกุศลและขอให้ท้าวจตุมหาราชิกา, เทวดาทั้งหลายและพระรัตนตรัยช่วยคุ้มครองอาณาจักร อนึ่ง ความคิดที่จะสร้างพระเจดีย์นี้ มีมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ซึ่งทรงโปรดให้หาหินและอิฐมาถมที่ดิน แต่ยังไม่ได้สร้างองค์พระเจดีย์ พระองค์ก็เสด็จสวรรคตไปเสียก่อน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) จึงได้กระทำการต่อตามพระราชดำริของรัชกาลที่ 2 |
จารึกที่ฐานพระสมุทรเจดีย์, พุทธศักราช 2371, พุทธศักราช 2270, จุลศักราช 1189, จุลศักราช 1190, พุทธศักราช 2371, พุทธศักราช 2270, จุลศักราช 1189, จุลศักราช 1190, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, พระสมุทรเจดีย์ ปากน้ำเจ้าพระยา ตำบลบางปลากด อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, เจ้าพระยาศรีธรรมราช, พระ ยาโกษาธิบดี, พระยาพระคลัง, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, รัชกาลที่ 2, ร. 2, รัชกาลที่ 2, ร. 2, เมืองสมุทรปราการ, เมืองนครเขื่อนขัณฑ์, เมืองพระประแดง, ป้อมผีเสื้อสมุทร, เมืองด่านน้ำ, เมืองหน้าด่าน, เกาะหาดทราย, ศาสนาพุทธ, จตุมหาราช, ท้าวจตุมหาราชิกา, ท้าวจตุโลกบาล 4, ท้าวจตุโลกบาล 4, โสฬสมหาพรหม, โพธิสัตว์, พระบรมธาตุ, การบรรจุพระธาตุ, การสร้างป้อมปราการ, การสร้างกำแพงเมือง, การสร้างพระเจดีย์, รูปไม่ชัด |
พระสมุทรเจดีย์ ปากน้ำเจ้าพระยา ตำบลบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอเมือง) จังหวัดสมุทรปราการ |
พุทธศักราช 2371 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1228?lang=th |
107 |
จารึกที่ฐานพระรูปสมเด็จพระสังฆราช (สุก) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2387 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) โปรดให้หลวงเทพรจนา เจ้ากรมช่างปั้นซ้าย ทำการหล่อพระรูปสมเด็จพระสังฆราช (สุก) ประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ |
จารึกที่ฐานพระรูปสมเด็จพระสังฆราช (สุก), หลักที่ 175 อักษรเขียนด้วยหมึกที่ฐานไม้ปิดทอง, หลักที่ 175 อักษรเขียนด้วยหมึกที่ฐานไม้ปิดทอง, พ.ศ. 2387, จ.ศ. 1206, 2387, 1206, 2395, 1214, ไม้สัก ปิดทอง, ฐานประติมากรรม, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กทม., สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร.3, ร. 3, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร.4, ร. 4, รัตนโกสินทร์, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สมเด็จพระสังฆราช (สุก), พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร.3, หลวงเทพรจนา เจ้ากรมช่างปั้นซ้าย, พุทธ, อรัญวาสี, คามวาสี, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2387, อายุ-จารุกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนฐานประติมากรรม, ภาษา-จารึกภาษาไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระประติมากรรม, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, บุคคล-หลวงเทพรจนา เจ้ากรมช่างปั้นซ้าย, บุคคล-สมเด็จพระสังฆราช (สุก), รูปเหลือง |
พระอุโบสถวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2387 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1235?lang=th |
108 |
จารึกถ้ำวิมานจักรี |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงอัญเชิญพระพุทธรูปจากกรุงเทพมหานครมาประดิษฐานไว้ ณ ถ้ำพิมานจักรี เพื่อให้เทวดา ภิกษุสามเณร และประชาชนทั่วไปได้นมัสการ โดยอุทิศส่วนกุศลให้แก่บุคคลเหล่านั้นด้วย |
สบ. 3, จารึกศาลด้านหน้าพระอุโบสถวัดอรุณ, หลักที่ 139 ลายเขียนที่ผนังถ้ำวิมานจักรี, จารึกถ้ำวิมานจักรี, สบ. 3, จารึกศาลด้านหน้าพระอุโบสถวัดอรุณ, หลักที่ 139 ลายเขียนที่ผนังถ้ำวิมานจักรี, พุทธศักราช 2370, พุทธศักราช 2370, ปูนซีเมนต์ผสมปูนขาว, ปูนฉาบบนผนังถ้ำ, ถ้ำวิมานจักรี ตำบลขุนโขลน อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, จักรี, รัตนโกสินทร์, เจ้าฟ้ามงกุฎ, สัปปุรุษ, ภิกษุ, สามเณร, ถ้ำพิมานจักรี, ถ้ำวิมานจักรี, พุทธศาสนา, กุศล, อานิสงส์, ผลานิสงส์, เทวดา, เทพยุดา, การเชิญพระพุทธรูป, การประดิษฐานพระพุทธรูป, เจ้าฟ้ามงกุฏ, ถ้ำพิมานจักรี, ถ้ำวิมานจักรี พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, ภิกขุ, ภิกษุ, สงฆ์, สามเณร, สัปปุรุษ, เทพยุดา, เทวดา, เทพบุตรกุศล ผลานิสงส์, นรก |
ถ้ำวิมานจักรี ตำบลขุนโขลน อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี |
พุทธศักราช 2370 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1081?lang=th |
109 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 50 (ยาแก้โรคริดสีดวงลม) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ยาแก้โรคริดสีดวงลม” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 50 (ยาแก้โรคริดสีดวงลม), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 50 (ยาแก้โรคริดสีดวงลม), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ยาบรมสุขีวสิเรจะณะ, สัตตบุษย์, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กานพลู, เทียนแดง, ลูกกราย, ขิงแห้ง, บุก, กลอย, กระดาดทั้งสอง, อุตพิด, สมุลแว้ง, แก่นแสมทะเล, จิงจ้อ, พริก, หอม, น้ำประสานทอง, รากตองแตก, เจตมูล, สลึง, สหัสคุณ, รากขี้หนอน, รากขี้กาแดง, สมอเทศ, มะขามป้อม, สมอพิเภก, พริกหอม, มหาหิงคุ์, ยาดำ, น้ำผึ้ง, ริดสีดวงลมจุกเสียด, ยามหาอนันตคุณ, ลูกผักชี, เทียน, โกฐสอ, โกฐก้านพร้าว, โกฐพุงปลา, โกฐกักกรา, โกฐกระดูก, บุกรอ, อุตพิต, กระดาด, ดินประสิวขาว, ผิวมะกรูด, ดองดึง, สมุลแว้ง, ลำพัน, ขิงแห้ง, ดีปลี, สะค้าน, ชะพลู, แก่นแสม, เปล้า, รากส้มกุ้ง, จิงจ้อ, สหัสคุณเทศ, การบูร, สารส้ม, ตองแตก, มะรุม, กุ่มทั้งสอง, กะทือ, ไพล, ข่า, กระชาย, พริกล่อน, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16342?lang=th |
110 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 49 (ยาแก้รัตตะปิตตะโรค) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ยาแก้รัตตะปิตตะโรค” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 49 (ยาแก้รัตตะปิตตะโรค), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 49 (ยาแก้รัตตะปิตตะโรค), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัตตะปิตตะโรค, โลหิต, ดีกำเริบ, เสมหะ, ยาปะยะดาน, อ้อยแดง, รากสัตตบุษย์, เกสรบัวหลวง, ยางง้าว, ชะเอม, หัวบัวแดง, รากไทรอ่อน, ลูกองุ่น, ซ้องแมวใหญ่, น้ำดอกไม้, น้ำตาลกรวด, แฝกหอม, จันทน์เทศ, เสนียด, ชะเอม, ดีปลี, น้ำผึ้ง, ขิงแห้ง, กระเทียม, น้ำอ้อยสด, จันทน์ขาว, ประยงค์, เปลือกโลด, ใบเสนียด, หัวขัดมอน, บอระเพ็ด, รากสามสิบ, ชะเอม, ดีปลี, เปลือกอบเชย, ลูกพิลังกาสา, รากอบเชย, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16340?lang=th |
111 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 48 (ยาแก้โรคดานทักขิณคุณ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ยาแก้โรคดานทักขิณคุณ” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 48 (ยาแก้โรคดานทักขิณคุณ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 48 (ยาแก้โรคดานทักขิณคุณ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ดานทักขิณคุณ, หัวหน่าว, ส้มเสี่ยว, ส้มสันดาน, ส้มเข้า, สลัดได, รากมะตาดเครือ, เจตมูล, ขิงแห้ง, หัสคุณเทศ, หัวเบญบัตร, มดยอบ, ขมิ้นเครือ, พังอาด, เทียนดำ, เทียนขาว, แก่นปรู, แก่นมะหาด, พริกล่อน, สุรา, ข้าวเปลือก, ยาประจุดานทักขิณคุณ, เปลือกสะท้อน, เปลือกราชพฤกษ์, เปลือกสน, น้ำมะนาว, ตำเอาสิ่งละทะนาน, มะพร้าวไฟ, กะทิ, สลอด, ยานารายณ์ฟังค่าย, หิงคุ์, ลำพัน, ผักชีล้อม, สะค้าน, โกศสอ, พริกไทย, มะตูมอ่อน, ลูกชะพลู, สมอเทศ, เทียนดำ, แก่นบุนนาค, เปล้าน้อย, ทนดี, ดานตะคุณประวาตะคุณ, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16338?lang=th |
112 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 47 (ยาแก้ป่วงหิว) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “อาการป่วงหิว” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 47 (ยาแก้ป่วงหิว), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 47 (ยาแก้ป่วงหิว), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ป่วงหิว, น้ำตาลกรวด, น้ำตาลทราย, น้ำตาลโตนด, ใบบัวหลวง, ใบขนุน, ละมุด, ลูกมะกรูด, น้ำข้าว, ถั่วเขียวคั่ว, ขิง, พริกไทย, ดีปลี, น้ำถั่วเขียวต้ม, ดอกผักบุ้ง, ดอกมะขาม, ดอกผักปอด, ระย่อม, ไคร้เครือ, ดอกมะเฟือง, น้ำรากยอ, พิษราก, พิษกาฬ, บัลลังก์ศิลา, บัลลังก์สี, บัลลังก์คา, มหาสดำ, ดอกมะเฟือง, น้ำดอกไม้, เปลือกมะเดื่อ, น้ำยอ, ดอกพิกุล, ดอกมะเฟือง, ไคร้เครือ, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16336?lang=th |
113 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 46 (ยาผายเลือด) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ยาผายเลือด” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 46 (ยาผายเลือด), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 46 (ยาผายเลือด), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ยาผายเลือด, รากขี้กาแดง, เบญจขี้เหล็ก, ใบมะกา, ใบมะขาม, ใบส้มป่อย, หญ้าไซ, ลูกคัดเค้า, ยาดำ, ดีเกลือ, เลือดร้าย, ไข้สันนิบาต, ฝีดาษ, ยาผายเลือดเน่า, ใบมะขาม, ใบส้มป่อย, เกลือ, มะขามเปียก, เลือดเน่า, เลือดร้าย, ยาบำรุงเลือด, แก่นแสมทะเล, เปลือกมะซาง, กานพลู, กระสารส้ม, ดินประสิวขาว, เทียนดำ, เลือดตก, หัสคุณเทศ, แก่นแสมทะเล, หญ้ายองไฟ, ขมิ้นอ้อย, เหล้า, ขับเลือด, อยู่ไฟ, สารส้ม, เทียนดำ, น้ำร้อน, ลูกกลอน, มะนาว, พริกไทยบด, ข้าวกลั่น, ข้าวเปลือก, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16334?lang=th |
114 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 45 (แผนปลิงคว่ำ ตอนที่ 2) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “แผนปลิงคว่ำ” ซึ่งเป็นการรักษาโรครูปแบบหนึ่ง รักษาโดยใช้ปลิงดูดเลือดออกจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อให้หายจากอาการเจ็บป่วยเฉพาะโรคนั้นๆ |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 45 (แผนปลิงคว่ำ ตอนที่ 2), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 45 (แผนปลิงคว่ำ ตอนที่ 2), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, การรักษาด้วยปลิง, ปากเบี้ยว, ปัตคาด, แขนตาย, ปวดศีรษะ, ภาหุนะวาต, ลมเสียดคาง, รากเสลด, กระษัยดาน, โรหิณี, ตะคริว, กล่อน, เหน็บตะโพก, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยปลิง |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16332?lang=th |
115 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 44 (ยาแก้โรคลมบ้าหมู) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคลมบ้าหมู” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 44 (ยาแก้โรคลมบ้าหมู), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 44 (ยาแก้โรคลมบ้าหมู), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ลมบ้าหมู, หทัยโรค, วานร, ชักปากเฟ็ด, น้ำลายฟด, ตรีกฏุก, เบญจกูล, ข้าวข้าโกศ, ก้านพร้าว, ดอกจันทน์, เกสรบุนนาค, น้ำคนทีสอ, กระเทียม, หัสคุณ, คนทีเขมา, สรรพพิษ, เปราะหอม, ตรีกฏุก, จันทน์เทศ, เกสรบุนนาค, โกศก้านพร้าว, โกศกักกรา, อบเชย, น้ำมะงั่ว, หลังโกง, ลมปัตคาด, ลมสันนิบาต, ใบคนทีสอ, เกลือสินเธาว์, มหาหิงคุ์, เบญจไฟ, ปวดศีรษะ, หูตึง, มองคร่อ, ข้าวสารข้างครก, ละอองบวบขม, ผงลาน, พริกไทย, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16330?lang=th |
116 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 43 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 3) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคที่เกิดจากลม” อันก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยขึ้นกับอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 43 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 3), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 43 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 3), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, อัตพังคีวาโย, กระหม่อม, สารพางค์ศีรษะ, หอมแดง, คนทีสอ, คาเสือ, พริกล่อน, กัญชา, ปีบ, น้ำส้มสายชู, ลูกกลอน, ภาหุรวาโย, ช่องทวาร, หัวหน่าว, กระบาลศีรษะ, เสมหะ, มูกตก, น้ำตาตก, ขิง, น้ำส้มผอูน, ขี้วัว, น้ำมูตรม้า, น้ำดองดึง, น้ำใบพุด, น้ำเปลือกม่วง, น้ำผักไห่, น้ำกระเทียมทอก, น้ำไฟเดือนห้า, ลูกจันทน์, พิมเสน, ลิ้นทะเล, การบูร, น้ำผึ้ง, พิรุศวาโย, ไพล, ตานน้ำ, ม่วงคัน, ตานหม่อน, ส้มกุ้ง, พรรลัน, แทงทวย, ปีบ, กัญชา, ผักแว่น, ตีนเป็ด, ขอบชะนางแดง, ชะพลู, โปร่งฟ้า, ตานดำ, ถั่วแระ, ใบสะเดา, คนทีสอ, พันงู, ลูกผักกาด, ดอกจันทน์, ดีปลี, ขิงแห้ง, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16328?lang=th |
117 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 42 (ยาแก้โรคตานโจร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคตานโจร” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 42 (ยาแก้โรคตานโจร), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 42 (ยาแก้โรคตานโจร), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, กุมารกุมารี, ซางเจ้าเรือน, ซางช้าง, ตานโจร, อาหาร, อชิรณะ, สำแลง, จตุธาตุ, ตรีสมุฏฐาน, กิมิชาติ, คัมภีร์ปถมจินดา, ข่า, กระชาย, กระทือ, ไพล, หอม, เปลือกสนุ่น, เปลือกไข่เน่า, ลูกขี้กา, มะกรูด, รากเล็บมือนาง, ไคร้หอม, พริก, ขิง, กระเทียม, ขมิ้นอ้อย, บอระเพ็ด, เหล้าครึ่ง, น้ำครึ่ง, ลูกขี้กาแดง, มะกรูด, ไพล, ขมิ้นอ้อย, เสมหะ, โลหิต, ขมิ้นอ้อย, ใบกระพังโหม, เปลือกลั่นทม, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16326?lang=th |
118 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 41 (ยาแก้รัตตะปิตตะโรค) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “รัตตะปิตตะโรค” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 41 (ยาแก้รัตตะปิตตะโรค), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 41 (ยาแก้รัตตะปิตตะโรค), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, รัตตะปิตตะโรค, โลหิตระดม, วาตะ, เสมหะ, สันนิบาต, อติไสย, รากสามสิบ, รากมะซาง, รากมะฝ่อ, รากคา, จันทน์, ขิงแห้ง, ดีปลี, เบญจเสนียด, ลูกจันทน์, กานพลู, พิมเสน, น้ำเปลือกข่อย, โกฐหัวบัวต้ม, แฝกหอม, ไคร้หอม, ไคร้น้ำ, ไคร้บก, กระวาน, บอระเพ็ด, การบูร, แก่นกันเกรา, สุรามะริด, เจตมูลเพลิง, น้ำขิง, เทพทาโร, เปลือกโลด, เปลือกกันเกรา, กานพลู, ขิงแห้ง, พญามือเหล็ก, เจตพังคี, เปล้าน้อย, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16324?lang=th |
119 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 40 (ยาแก้โรคประจำเดือนมาไม่ปกติ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคประจำเดือนมาไม่ปกติ” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 40 (ยาแก้โรคประจำเดือนมาไม่ปกติ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 40 (ยาแก้โรคประจำเดือนมาไม่ปกติ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ระดู, ยาบำรุงธาตุ, ยาบำรุงเลือด, เบญกูล, ลูกผักชี, ว่านน้ำ, หัวแห้วหมู, ลูกพิลังกาสา, บอระเพ็ด, ผิวมะกรูด, น้ำส้มซ่า, โกฐ, เทียน, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, กานพลู, เลือดแรด, ดอกคำไทย, ฝางเสน, เกสรดอกพิกุล, ดอกบุนนาค, ดอกสารภี, บัวหลวง, ดอกมะลิ, ดอกจำปา, ดอกกระดังงา, กฤษณา, กระลำพัก, ชะลูด, ขอนดอก, อบเชย, ชะเอมเทศ, จันทน์, ขมิ้นเครือ, ลูกชะพลู, รากชะพลู, รากเจตมูลเพลิง, ว่านน้ำ, ฝักส้มป่อย, ลูกสลอด, หัสคุนเทศ, เปล้าน้อย, พริกไทยล่อน, ตำลึง, กระเทียม, หัวดองดึง, เหล้า, สุรา, ข้าวเปลือก, เลือดเน่า, เลือดร้าย, เสมหะ, ริดสีดวง, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16322?lang=th |
120 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 39 (ยาแก้โรคลมขบในข้อกระดูก) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคลมขบในข้อกระดูก เหน็บชา” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 39 (ยาแก้โรคลมขบในข้อกระดูก), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 39 (ยาแก้โรคลมขบในข้อกระดูก), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ลมขบในข้อกระดูก, เหน็บ, หัวเหล้าเข้ม, น้ำขิง, น้ำข่า, น้ำขมิ้นอ้อย, น้ำใบผักเป็ด, น้ำมะนาว, น้ำใบรักขาว, น้ำบอระเพ็ด, น้ำมันงา, น้ำมัน, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, เทียนดำ, เทียนขาว, เทียนสัตตบุษย์, ดีปลี, พริกหอม, กระเทียมทอก, ฝีเอ็น, ฝีคัณฑมา, ฝีประคำร้อย, ฝีลูกหนู, ขนานหนึ่ง, น้ำไฟเดือนห้า, น้ำใบผักเป็ด, น้ำหญ้าใต้ใบ, น้ำหอมแดง, น้ำกระเทียม, น้ำมันงา, สิ่งละทะนาน, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, การพลู, โกฐสอ, โกฐเขมา, เทียนทั้งห้า, เส้นเหน็บชา, หูหนวก, หูตึง, น้ำหนวก, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16320?lang=th |
121 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 38 (ยาแก้ไข้เจลียงไพร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ไข้เจลียงไพร” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 38 (ยาแก้ไข้เจลียงไพร), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 38 (ยาแก้ไข้เจลียงไพร), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ไข้เจลียงไพร, ปีศาจเข้าสิง, ปัสสาวะแดง, ลูกกระดอม, ฝักราชพฤกษ์, มะขามเปียก, เปลือกสะเดา, เทียนทั้งห้า, สมอเทศ, สมอไทย, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, ขมิ้นอ้อย, ยาดำ, โกฐ, เทียน, กระวาน, กานพลู, น้ำอ้อยแดง, น้ำท่า, เบญจราชพฤกษ์, เบญจเหล็ก, เบญจมะกา, รากก้างปลาแดง, รากผักเสี้ยนผี, รากชะพลู, แห้วหมู, แตงหนู, ข่าตาแดง, จันทน์แดง, จันทน์ขาว, ไคร้หอม, หอมแดง, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหลังพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16318?lang=th |
122 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 37 (ยาแก้โรคตับ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสฯ มีจำนวน 50 แผ่น มีขนาดเท่ากันทุกแผ่น ติดอยู่ที่ผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ จำนวน 42 แผ่น และติดอยู่ที่ผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถ 2 ศาลา ศาลาละ 4 แผ่น จากข้อมูลในหนังสือ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร (พ.ศ. 2541) ระบุไว้ว่า ก่อนการบูรณะพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ เมื่อปี พ.ศ. 2525 จารึกตำรายานี้ มีจำนวนถึง 92 แผ่น คาดว่าคงจะชำรุดหรือสูญหายไปกว่าครึ่ง เมื่อมีการบูรณะขึ้นใหม่ จึงพบว่าเหลือเพียง 50 แผ่นในปัจจุบัน นอกจากนั้น จารึกหลายแผ่นคงพลัดหลงจากตำแหน่งที่เคยติดอยู่เดิม เมื่อนำมาติดขึ้นใหม่จึงสลับและไม่เรียงลำดับกันตามเนื้อหาหรือกลุ่มโรค |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 37 (ยาแก้โรคตับ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 37 (ยาแก้โรคตับ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, กุมารกุมารี, ตับย้อย, ตับทรุด, ตับเรื้อย, โอปักมิกาภาธิ, อู่, เปล, ซาง, หละ, ละลอง, ลมมีพิษ, ธาตุสมุฏฐาน, ดานตก, ดานเสมหะ, ปถมจินดา, พลพลุหะเฉท, สมอ, มะขามป้อม, ขี้กาแดง, รากอ้ายเหนียว, รากเล็บมือนาง, เปลือกไข่เน่า, เทียนดำ, เทียนขาว, แห้วหมู, น้ำประสานทอง, ลูกมะตูมอ่อน, เกสรบัวหลวง, เกสรบุนนาค, ขมิ้นอ้อย, บอระเพ็ด, ราชพฤกษ์, หัวเต่า, หัวเต่าเกียด, ลิ้นเสือ, ตาไม้ไผ่ป่า, เกสรสารภี, เกสรบุนนาค, ปูนขาว, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหลังพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16316?lang=th |
123 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 36 (ยาแก้ไข้เจลียงพระสมุทร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ไข้เจลียงพระสมุทร” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 36 (ยาแก้ไข้เจลียงพระสมุทร), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 36 (ยาแก้ไข้เจลียงพระสมุทร), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ไข้เจลียงพระสมุทร, ข้อกระดูก, พริกไทย, ขิงแห้ง, กระเทียม, ไพล, ข่า, กระชาย, พริกเทศ, บอระเพ็ด, ขมิ้นอ้อย, ฝักราชพฤกษ์, ใบมะกา, ยาดำ, ขมิ้นอ้อย, บอระเพ็ด, ก้านสะเดา, ใบมะนาว, ฝักราชพฤกษ์, เบญราชพฤกษ์, เบญจขี้เหล็ก, สมอทั้งสาม, ขมิ้นอ้อย, รากทนดี, รากชะพลู, ลูกมะตูมอ่อน, แห้วหมู, หญ้าปากควาย, สิ่งละกำมือ, ไข้จับคลั่งเครือ, เอาใบคนทีสอ, ใบมะตูม, ใบเสนียด, ใบทองหลาง, ใบมน, ขิง, ดินประสิวขาว, สารส้ม, ใบสลอด, น้ำท่า, น้ำข่า, เสมหะ, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16314?lang=th |
124 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 35 (ยาแก้โรคท้องมาน) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคท้องมาน” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 35 (ยาแก้โรคท้องมาน), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 35 (ยาแก้โรคท้องมาน), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, สันนิบาตอุทรโรค, ท้องมาน, สันนิบาตวิธี, อุทรโรคเพื่อลม, น้ำมันเนย, นมโค, ยางสลัดได, รากจิงจ้อหลวง, ท้องมาน, เสมหะ, ขิง, จิงจ้อหลวง, รากตองแตก, ฝักราชพฤกษ์, ตรีผลา, ผักโหมหิน, น้ำขิงสด, เบญจดีปลี, เทียน, สัตตบุษย์, ผักโหมบิน, แก่นสน, ตองแตก, จิงจ้อใหญ่, โคกกระสุน, ปรอทตุกต่ำ, นกยูง, ดีปลี, ผลสลอด, น้ำยางสลัดได, น้ำฝักราชพฤกษ์, เม็ดถั่วเขียวเล็ก, น้ำส้มมะขามเปียก, น้ำสุก, ภานาชุณะฤาษี, วิเรจะณะสุรรส, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16312?lang=th |
125 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 34 (ยาแก้ไข้ออกดำแดง) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ไข้ออกดำแดง” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 34 (ยาแก้ไข้ออกดำแดง), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 34 (ยาแก้ไข้ออกดำแดง), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, สุรา, น้ำมัน, กระเช้าผีมด, หัวคล้า, รากชา, รากง้วน, หัวหมูหลวง, รากส้มแสด, รากข้าวไหม้, รากจิงจ้อ, รากสวาด, รากสะแก, รากมะนาว, รากย่านาง, รากฟักข้าว, รากผักหวาน, น้ำซาวข้าว, ไข้ออกดำแดง, ไฟเดือนห้า, ประกายดาษหงส์ระทด, ละอองไฟฟ้ามหาเมฆ, มหานิล, ปู่เจ้าลอยท่า, หัวมหากาฬ, พิษนาศน์, พญารากขาว, รากทงไชย, รากตุมกา, รากตับเต่า, รากมะกอกเผือก, รากหีบลม, รากกะทกรก, รากช้างน้าวดอกเหลือง, รากแตงเถื่อน, รากกระแจะ, รากหนาดดำ, รากคันทรง, รากก้างปลาแดง, รากมะเฟือง, รากสวาด, รากมะดูก, รากช้าเลือด, น้ำซาวข้าว, ตับเต่าใหญ่, รากมะเกลือ, รากคัดเค้า, รากละหุ่ง, รากผักหนาม, ทำเป็นจุณ, รากมะเดื่อ, รากคนทา, รากเท้ายายม่อม, รากย่านาง, รากชิงชี่,, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16310?lang=th |
126 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 33 (ยาแก้กลาก) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ยาแก้กลาก” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 33 (ยาแก้กลาก), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 33 (ยาแก้กลาก), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ยาแก้กลาก, เทียน, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, แก่นเหล็ก, รากทองพันชั่ง, ว่านน้ำ, แก่นแสม, แก่นสนเทศ, ลูกชุมเห็ดเทศ, สุรา, ฝังข้าวเปลือก, กลากเกลื้อน, สารหนู, ลูกสลอด, ถ่านไม้ซาก, กำมะถันเหลือง, น้ำขิง, น้ำมะนาว, จุณเหล็ก, รากทองพันชั่ง, ส้านแดง, ลูกชุมเห็ดเทศ, ลูกในมะนาว, ปูนผง, ฝิ่น, น้ำกระเทียม, ละลายน้ำมะนาว, หางไหลแดง, เอื้องเพชรม้า, ลูกในชุมเห็ด, เบญจเหล็ก, เปลือกกระเบา, เปลือกกระเบียน, เปลือกเลี้ยน, รากทองพันชั่ง, รากทองหลาง, ลูกมะแว้งเครือ, ลูกมะเขือขื่น, พิมเสน, หรดาลกลีบทอง, บัลลังก์ศิลา, น้ำจันทน์แดง, มสุริกาโรค, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16308?lang=th |
127 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 32 (ยาแก้โรคซางช้าง) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคซางช้าง” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 32 (ยาแก้โรคซางช้าง), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 32 (ยาแก้โรคซางช้าง), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, กุมารกุมารี, วันศุกร์, ซางช้าง, แสงพระจันทร์, ละออง, เนียรกรรถี, ลมอริต, ซางช้างวันศุกร์, เขม่า, ลำคอ, ไอแห้ง, ใบชุมเห็ดเทศ, ใบสวาด, ใบผักขวง, ใบกะเพรา, ละอองพระกฤษ, น้ำมูลม้าสด, สุรา, ผักคราด, ขอบชะนาง, ผักเสี้ยนผี, ขมิ้นอ้อย, ลูกประคำดีควาย, พริกไทย, หญ้าไซ, ยอดเต่าร้าง, กระทือ, ไพล, ตานเสี้ยน, มูกเลือด, รากสันพร้ามอญ, รากชะมดต้น, ใบพิมเสน, จุกโรหิณี, สังกรณี, ลูกผักชี, พันธุ์ผักกาด, ลูกพิลังกาสา, ลูกจันทน์, กระลำพัก, ว่านร่อนทอง, ขิงแห้ง, นอแรด, เขากวาง, หนังกระเบน, ผมคน, หวายตะค้า, รากมะแว้ง, ตรีกฏุก, กระเทียม, สุรากวาด, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16306?lang=th |
128 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 31 (ยาแก้ลมหทัยวาตกำเริบ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ลมหทัยวาตกำเริบ” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 31 (ยาแก้ลมหทัยวาตกำเริบ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 31 (ยาแก้ลมหทัยวาตกำเริบ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ลมหทัยวาตกำเริบ, ลูกคนทีสอ, ลูกสะบ้าปิ้ง, จันทน์, ดีปลี, เทียนข้าวเปลือก, เทียนตั๊กแตน, เทพทาโร, น้ำดอกไม้, พิมเสน, ลูกมะแว้งเครือ, ชะเอมเทศ, ใบกระวาน, ดอกบุนนาค, พริกไทย, ขิงแห้ง, ดีปลี, อบเชยเทศ, รากน้ำใจใคร่, เกสรบัวหลวง, จันทน์เทศ, น้ำตาลทราย, พิมเสน, มหาสมมิตร, โกฐทั้งห้า, เทียนทั้งห้า, บัลลังก์ศิลา, สังข์, แก้ว, แกลบ, แฝกหอม, บัวน้ำทั้งห้า, สัตตบงกช, กฤษณา, กระลำพัก, ขอนดอก, อบเชยเทศ, แก่นสน, ใบผักกะโฉม, ใบสันพร้าหอม, ใบพิมเสน, ใบชะมดต้น, ใบทองพันชั่ง, ว่านกีบแรด, ว่านร่อนทอง, ว่านซุ้มเพชร, ว่านเพชรโองการ, พิษนาศน์, ระย่อม, ชะมด, พิมเสน, หญ้าฝรั่น, อำพัน, กระแจะตะนาว, เกล็ดหอยเทศ, น้ำดอกไม้เทศ, น้ำตาลทราย, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16304?lang=th |
129 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 30 (ยาแก้โรคดานพืด) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคดานพืด” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 30 (ยาแก้โรคดานพืด), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 30 (ยาแก้โรคดานพืด), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ดานพืด, ท้องน้อย, หัวหน่าว, สะดือ, ขมิ้นอ้อย, เปลือกไข่เป็ด, เบี้ยผู้เผา, ข้าวเม่าเหล็ก, น้ำมะนาว, ใบกะเพรา, ใบแมงลัก, ผักเสี้ยนผี, กระชาย, กัญชา, พริกไทย, หอมแดง, หญ้าไซ, เกลือสมุทร, ลูกคัดเค้า, น้ำมันงา, ลูกจันทน์, กระวาน, กานพลู, เทียนดำ, เทียนขาว, การบูร, สนั่นไตรภพ, เนาวหอย, หอยขม, หอยแครง, หอยตาวัว, หอยพิมพการัง, หอยนางรม, หอยกาบ, หอยจุ๊บแจง, หอยมุก, หอยสังข์, กระดูกเสือ, กระดูกโค, กระดูกแพะ, กระดูกงูเหลือม, รากทนดี, เจตมูล, หัสคุณ, ตำลึง, น้ำผึ้ง, ดานเถา, ลมจุกเสียด, สรรพลมหาย, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16302?lang=th |
130 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 29 (ยาแก้โรคลงเลือด) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคลงเลือด” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 29 (ยาแก้โรคลงเลือด), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 29 (ยาแก้โรคลงเลือด), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ยาแก้ลงเลือด, ฝาง, รากกล้วยตีบ, ฝิ่น, ยาแก้ริดสีดวง, บุก, กลอย, น้ำมะนาว, พริก, ขิง, สารส้ม, เกลือ, ตำหมัก, ช้อนหอย, บิดลงเลือด, เบญจกะเม็ง, ลูกชะพลู, ดีปลี, พริก, กระเทียม, เทียนดำ, น้ำกะเม็ง, กัตตะวา, ใบกระท่อม, ขมิ้นอ้อย, ไพล, พันธุ์ผักกาด, กระพังโหม, กระบอกไม้หลาม, เหล้า, ริดสีดวง, หนอง, เสลด, เลือดเน่า, รากส้มกุ้ง, ย่านาง, พริก, หอม, สารส้ม, เทียนดำ, เทียนแดง, เทียนขาว, น้ำขิงสด, น้ำมะนาว, กระเทียมกรอบ, ดีงูเหลือม, กระลำพักจันทน์แดง, บิดเลือดเน่า, บิดเสลดเน่า, ลูกจันทน์, ครั่ง, ศร่ง, ลูกเบญกานี, ขัณฑสกร, ดีงูเห่า, ดีงูเหลือม, ดินกิน, เปลือกมะขามขบ, ลูกสะแก, ชันตะคียน, สีเสียด, เปลือกทับทิม, ไพล, ดินประสิวขาว, กำมะถัน, หรดาล, กราย, ใบไม้เท้ายายม่อม, ขมิ้นอ้อย, กัญชา, น้ำมะงั่ว, น้ำสายชู, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16300?lang=th |
131 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 28 (ยาแก้โรคมะเร็ง) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคมะเร็ง” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 28 (ยาแก้โรคมะเร็ง), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 28 (ยาแก้โรคมะเร็ง), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ยาแก้มะเร็ง, ยาดำรงทองกำมะถัน, เทียนดำ, ข้าวสารคั่วรางแร่ง, หัวย้าง, เปลือกสันพร้านางแอ, สุรา, มะเร็งคชราช, ไส้ด้วน, ไส้ลาม, อุปทม, พันธุ์ผักกาด, พริกไทย, ยาข้าวเย็น, หัวย้างไคร้หางนาค, กระเทียม, มะเร็งคุด, มะเร็งเปื่อย, ใบผักไห่, ใบทุมราชา, ฝาหอยโข่ง, ทามะเร็ง, กลากเกลื้อน, เรื้อนเหล็ก, มะเร็งไฟฟ้า, ใบเทียน, ใบถั่วแระ, น้ำมันงา, ขี้ผึ้งแข็ง, มะเร็งเพลิงหาย, ใบมะเกลือ, ลูกสะบ้า, ใบมะระ, ใบปีบ, ขมิ้นอ้อย, น้ำมันงา, น้ำมันมะพร้าว, น้ำมันใส่แผลมะเร็งเพลิง, กลากเกลื้อน, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16298?lang=th |
132 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 27 (ยาแก้โรคมุตกิต) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคมุตกิต” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 27 (ยาแก้โรคมุตกิต), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 27 (ยาแก้โรคมุตกิต), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, มุตกิด, เบาขาว, น้ำคาวปลา, น้ำซาวข้าว, โลหิตช้ำ, มุตกิดช้ำรั่ว, แห้วหมูใหญ่, เทียนดำใหญ่, มะตูม, ว่านน้ำ, ว่านเปราะ, อังกาบ, เทียนดำน้อย, โกฐพุงปลา, รากเถาวัลย์เหล็ก, ยางงิ้ว, การบูร, ลูกเอ็น, กานพลู, ดีปลี, สารส้ม, น้ำผึ้ง, เปลือกไข่เน่า, ขมิ้น, มะเขือหนาม, เปลือกเพกา, กฤษณา, เสือรองรัง, ข้าวผอกนางสีดา, มุตกิดเบาขาว, เปลือกเพกา, เปลือกกาหลง, สะค้าน, กระถินแดง, ดีปลี, ไส้ขนุนละมุด, เปลือกกุ่มบก, ทองหลางใบมน, เบญจตะแบก, โพบาย, โคกกระสุน, พุทรา, เสนียด, มะม่วง, ขมิ้น, คาง, กระทุ่มใหญ่, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16296?lang=th |
133 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 26 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 2) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคลม” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 26 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 2), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 26 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 2), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, สิตะมัคคะวาโย, กัญชา, ตำลึง, เนย, ตรีผลา, น้ำตาลทราย, ลูกจันทน์, ดีปลี, พริกไทย, หอมแดง, น้ำมะพร้าวนาฬิเก, ยางมะตูม, ลูกกลอน, พุทธยักขวาโย, สันหลัง, กระดูก, รำมะนาด, ขิง, แห้วหมู, ชะเอมเทศ, ครั่ง, น้ำนมราชสีห์, พันงูแดง, ลิ้นทะเล, น้ำมะนาว, ริตะวาต, สันนิบาต, สมอ, ว่านน้ำ, มะขามป้อม, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, กานพลู, อบเชย, การบูร, ดอกกระดังงา, น้ำประสานทอง, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16162?lang=th |
134 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 25 (ยาแก้ป่วงลม) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “ป่วงลม” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 25 (ยาแก้ป่วงลม), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 25 (ยาแก้ป่วงลม), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ป่วงลม, วัณโรค, สมอไทย, สมอพิเภก, รากชะพลู, รากมะตูม, ลูกผักชี, ขิงแห้ง, ดีปลี, แห้วหมู, ลูกมะตูมอ่อน, สะค้าน, เพลิงธาตุ, เจตมูลเพลิง, มหาหิงคุ์, ลูกโมกมัน, ตรีกฏุก, ว่านน้ำ, เกลือสินเธาว์, มะขามป้อม, กานพลู, เทียนเยาวพาณี,, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16160?lang=th |
135 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 24 (ยาแก้วาโยธาตุกำเริบ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “วาโยธาตุกำเริบ” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 24 (ยาแก้วาโยธาตุกำเริบ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 24 (ยาแก้วาโยธาตุกำเริบ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, วาโยธาตุกำเริบ, หิ่งห้อย, ตะคริว, จับโปง, หัวเข่า, ฝี, เอ็น, รากลม, ดีปลี, แฝกหอมตะนาว, พริก, ว่านเปราะ, แห้วหมู, ว่านน้ำ, เปลือกมูกมัน, รากสลอด, ว่านน้ำ, หญ้ารังกา, เจตมูล, สมอไทย, ไคร้เครือ, เหล้า, มูตรวัว, มหาหิงคุ์, ผลราชดัด, ผลสวาด, สะค้าน, ชะเอม, โกฐเขมา, ใบย่างทราย, ขิง, โกฐสอ, กรุงเขมา, น้ำผึ้ง, นมวัวก็ได้, ใบหนาด, การบูร, รากทนดี, จิงจ้อ, ขิง, ใบสลอด, น้ำมูตรวัว, เจตพังคี, บอระเพ็ด, หัสคุณ, ไพล, สังกรณี, น้ำซาวข้าว, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16158?lang=th |
136 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 23 (ยาแก้โรคจักษุโรค) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคจักษุโรค” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 23 (ยาแก้โรคจักษุโรค), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 23 (ยาแก้โรคจักษุโรค), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, จักษุโรค, ต้อ, เปลือกส้มเสี้ยว, เปลือกช้างน้าว, เปลือกมะไฟ, รากส้มกุ้ง, หัวถั่วพู, ฝิ่น, ลิ้นทะเล, สีเสียดเทศ, ดีงูเหลือม, น้ำแก่นประดู่, ตาริดสีดวง, ฝีในตา, ดินถนำ, ดินสอพอง, เปราะหอม, พิมเสน, ฝิ่น, ดีงูเหลือม, น้ำใบแมงลัก, โคนสับปะรด, หญ้าเกล็ดหอย, ยาดำ, หัวหอม, น้ำดีจระเข้, ดีงูเหลือม, ดีตะพาบ, ต้อสาย, ต้อลำใยหาย, สังขรัศมี, สังข์, เบี้ยผู้, ตุ๊กต่ำน้ำทอง, ดินถนำ, ไม้สะแก, สุพรรณถันแดง, น้ำมะพร้าวนาฬิเก, ต้อหมอก, น้ำมะลิ, ตาริดสีดวง, น้ำมะนาว, น้ำเถาตำลึง, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16156?lang=th |
137 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 22 (ยาแก้โรคซางโจร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคซางโจร” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 22 (ยาแก้โรคซางโจร), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 22 (ยาแก้โรคซางโจร), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ซางโจร, ซางนางริ้น, ซางจร, มหานีลกาล, ละอองทับทิม, กุมภัณฑ์ยักษ์, ซางโจรวันเสาร์, กุมาร, เหงือก, ไร, บิด, ปวดมวน, ดากแตก, อัคนีชวา, ลูกราชดัด, ลูกประคำดีควาย, ลูกจันทน์, เม็ดในมะนาว, ฝิ่น, ดีงูเหลือม, สุรา, พิษซางโจร, ทองคำเปลว, พิษซางแดง, เหลืองหรคุณ, รงทอง, ลูกจันทน์, ขมิ้นอ้อย, พิมเสน, ไพ, หรดาลกลีบทอง, ละอองเพลิง, ขาวกะบัง, พิมเสน, ดอกจันทน์, เบี้ยผู้เผาจันทน์ขาว, กะบัง, ละอองขาว, เขียวขี้ทอง, กระวาน, กานพลู, การบูร, โหราเดือยไก่, เฟื้อง, ซางโจรละอองเขียว, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16154?lang=th |
138 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 21 (ยาแก้โรคสันทะคาต) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคสันทะคาต” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 21 (ยาแก้โรคสันทะคาต), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 21 (ยาแก้โรคสันทะคาต), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, โรคสันทะคาด, โลหิตตก, ทวารเบา, เลือดสด, น้ำคาวปลา, โลหิตเน่า, รากไคร้เครือ, สะค้าน, กระถินแดง, เปลือกกุ่มบก, เปลือกโลด, เปลือกทองหลางน้ำ, เปลือกพุทรา, ขนุน, ละมุด, รากเสนียด, น้ำผึ้ง, ผลโหระพา, กระสารส้มสะตุ, เทียนดำ, ผลผักชี, รากเจตพังคี, ผลพิลังกาสา, ฝาหอยเทด, เกลือ, เปลือกโลด, หินปะการังแดง, น้ำผึ้ง, กล่ำ, ตรีกฏุก, แก่นแสม, เจตมูลเพลิง, ฝักส้มป่อยคั่ว, ดีปลี, น้ำประสานทอง, น้ำซาวข้าว, น้ำอ้อยแดง, มุตกิต, มุตฆาต, สมอเทศ, โคกกระสุน, รากราชพฤกษ์, หินปะการัง, โกฐจุฬา, ลัมพา, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16152?lang=th |
139 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 20 (ยาแก้โรคดานเถา) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคดานเถา” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 20 (ยาแก้โรคดานเถา), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 20 (ยาแก้โรคดานเถา), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ดานเถา, ลมปัตคาด, หัวหน่าว, ชายโครง, ยอดอก, ลำคอ, อาเจียน, ฝีปลวก, ฝีมะเร็ง, มูตร, มูตรแดง, ดานกระษัย, ดานทะลุน, กฤษณา, กระลำพัก, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, กานพลู, เทียนทั้งห้า, โกฐสอ, โกฐพุงปลา, โกฐก้านพร้าว, โกฐกระดูก, สลึง, สมอ, ลูกสลอดประสะ, น้ำผึ้ง, กล่ำ, ตรีกฏุก, แก่นแสม, เจตมูลเพลิง, ฝักส้มป่อยคั่ว, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กานพลู, สมุลแว้ง, น้ำกระเทียม, ลมอัมพาต, ราทยักษ์, น้ำขิง, น้ำข่า, น้ำมะนาว, ลูกเอ็น, กระวาน 2, อบเชยเทศ, ดอกบุนนาค, ตำลึง, ดีปลี, ขิงแห้ง, ชะเอมเทศ, พริกล่อน, ลูกมะขามป้อม, น้ำตาลทราย, น้ำท่า, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14799?lang=th |
140 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 19 (แผนปลิงหงาย) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “แผนปลิงคว่ำ” ซึ่งเป็นการรักษาโรครูปแบบหนึ่ง รักษาโดยใช้ปลิงดูดเลือดออกจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อให้หายจากอาการเจ็บป่วยเฉพาะโรคนั้นๆ |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 19 (แผนปลิงหงาย), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 19 (แผนปลิงหงาย), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, การรักษาด้วยปลิง, ลมอำพาต, ราทยักษ์, ลมพิษ, ฝีกะแช่, ท้องมาน, รัตตะปิตตะ, ลมกระษัย, ดานทลุน, ตะคริว, ไข้ตัวร้อน, กล่อน, อันทพฤก, ป่วง, กระหม่อม, ทัดดอกไม้, ริดสีดวง, ราทยักษ์, รัตปิตตะ, ลมลำโฮก, อัณฑพฤกษ์, ลมรัทวาต, ลมป่วง, ลมกระษัย, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยปลิง |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16346?lang=th |
141 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 18 (ยาแก้โรคฝีดาษ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคฝีดาษ” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 18 (ยาแก้โรคฝีดาษ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 18 (ยาแก้โรคฝีดาษ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ฝีดาษ, อาโปธาตุ, ใบมะอึก, ใบผักบุ้งร้วม, ใบผักบุ้งขัน, ใบก้างปลา, ใบพุงดอ, ใบผักขวง, ใบหมาก, ใบทองพันชั่ง, เสมหะหาย, กะทิมะพร้าว, น้ำคาวปลาไหล, ไข่เป็ดลูกหนึ่ง, มูลโคดำ, แก่นประดู่, น้ำลูกตำลึง, น้ำมันงา, น้ำมันหัวกุ้ง, น้ำรากถั่วพู, เห็ดมูลโค, ว่านกีบแรด, ว่านร่อนทอง, สังกรณี, ชะเอม, ลูกประคำดีควาย, หวายตะค้า, เขากวางเผา, กระดูกเสือเผา, มะกล่ำเครือ, ขัณฑสกร, มะขามเปียก, น้ำมะนาว, สุรา, ดีงูเหลือม, รำหัด, ใบหิ่งหาย, ใบโหระพา, ใบผักคราด, ใบมะนาว, พันงูแดง, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14797?lang=th |
142 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 17 (ยาแก้โรคเลือดเน่า) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคเลือดเน่า” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 17 (ยาแก้โรคเลือดเน่า), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 17 (ยาแก้โรคเลือดเน่า), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, เลือดเน่า, สังข์, ตำลึง, บาท, ดินประสิวขาว, ลูกจันทน์, สลึง, ดอกจันทน์, เทียนดำ, เทียนขาว, เกลือ, ขมิ้นอ้อย, ขิง, กระชาย, ไพล, หัวหอม, กระเทียม, น้ำส้มซ่า, สังขวิไชย, รากพันงูแดง, แห้วหมู, บอระเพ็ด, รากมะตูม, รากจิงจ้อ, รากปีบ, ผิวมะกรูด, เอื้องเพ็ดม้า, เปลือกกุ่ม, มะไฟ, สมุลแว้ง, กรุงเขมา, โกฐ, ชะเอม, รากทนดี, รากหนาด, พริกหอม, รากพุงดอ, รากชะพลู, รากส้มกุ้ง, รากเจตพังดี, การบูร, กระวาน, ลูกเอ็น, รากมะรุม, มะแว้งเครือ, รากมะเขื่อขื่น, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กานพลู, รากเจตมูลเพลิง, แก่นแสม, สนเทศ, สะค้าน, หญ้ายองไฟ, สังเบา, สังหนาม, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งขวาด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14795?lang=th |
143 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 16 (แผนปลิงคว่ำ ตอนที่ 1) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “แผนปลิงคว่ำ” ซึ่งเป็นการรักษาโรครูปแบบหนึ่ง รักษาโดยใช้ปลิงดูดเลือดออกจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อให้หายจากอาการเจ็บป่วยเฉพาะโรคนั้นๆ |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 16 (แผนปลิงคว่ำ ตอนที่ 1), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 16 (แผนปลิงคว่ำ ตอนที่ 1), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, การรักษาด้วยปลิง, ตามืด, ตาต้อ, ตาหมอก, ปวดหัว, เจ็บกระบอกตา, ไข้จับ, ไข้เจลียง, เสมหะ, ตะโภก, ตะโพก, ทวารทุกะสัตมิออก, ปัตคาด, รัดปิตตะ, รัตปิตตะ, รัตตะปิตตะ, ตีนตาย, อัณฑพฦกษ์, อันทพฦก, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยปลิง |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านข้างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16344?lang=th |
144 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 15 (ยาแก้โรคซางโค) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคซางโค” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 15 (ยาแก้โรคซางโค), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 15 (ยาแก้โรคซางโค), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ซางโค, ซางข้าวเปลือก, ซางจร, นิลกาฬ, มหาเมฆ, หัศคินี, ลูกจิงจ้อ, ลูกหมอน้อย, ลูกหญ้า, เนระพูสี, สมอเทศ, นมโคข้น, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, พริกไทย, สุรา, ใบส้มซ่า, ใบมะกรูด, ใบมะเฟือง, แห้วหมู, ลูกเขยตาย, สมอ, พิเภก, รากชะพลู, ดีงูเหลือม, ลูกสลาหลก, กระวาน, ลูกพุมเรียง, ขมิ้นอ้อย, น้ำประสานทอง, ลูกมะกอกเทศเผา, ลูกประคำดีควายเผา, ลูกตานขโมย, ลูกมะตูม, เปลือกมะรุม, เบญกานี, กานพลู, รากหิ่งหาย, ขอนดอก, ชะลูด, น้ำดอกไม้, ชะเอม, กระเทียม, เกลือ, น้ำมะนาว, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14793?lang=th |
145 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 14 (ยาแก้โรคไข้สัมประชวร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคไข้สัมประชวร” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 14 (ยาแก้โรคไข้สัมประชวร), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 14 (ยาแก้โรคไข้สัมประชวร), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, สันนิบาต, เสมหะ, ดี, ลม, สัมประชวร, สุริยาวุทธิ, ปรอท, สุพรรณถัน, โหรา, มหาหิงคุ์, ผลสลอด, น้ำผึ้ง, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, พยาธิ, มหาสุริยาวิทธิ, ดีปลี, กานพลู, เตโชธาตุสมุฏฐาน, ราชวิเรจนโอสถ, กฏุก, ตรีผลา, เกลือสินเธาว์, น้ำประสานทอง, ไข้เจลียง, ผลมะกล่ำตาช้าง, ศุกขวิเรจนะโอสถ, การบูร, กระวาน, โกฐิก้านพร้าว, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, สมอเทศ, น้ำขิง, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14791?lang=th |
146 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 13 (ยาแก้โรคสรเภทโรค) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคสรเภทโรค” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 13 (ยาแก้โรคสรเภทโรค), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 13 (ยาแก้โรคสรเภทโรค), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, สรเภทโรค, เสมหะ, สะค้าน, เจตมูลเพลิง, กานพลู, กระวาน, ตรีกฏุก, เยื่อมะขามเปียก, กระเพราแดง, สมอไทย, น้ำมะนาว, ริดสีดวง, รากพรมมิ, รากแมงลัก, ว่านน้ำ, ชะเอม, น้ำผึ้ง, น้ำตาลกรวด, กระเทียม, บอระเพ็ด, เพชรสังฆาต, ใบราชพฤกษ์, เจตมูลเพลิง, ข่า, รากชะพลู, เกลือสินเธาว์, เกลือสุวษา, เกลือเยาวกาษา, มะขามป้อม, ลูกพิลังกาสา, สมอไทย, ว่านน้ำ, น้ำตาลกรวด, น้ำชะเอมต้ม, น้ำรากมะกล่ำเครือ, วาโยสมุฏฐาน, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14789?lang=th |
147 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 12 (ยาแก้โรคหืด) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคหืด” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 12 (ยาแก้โรคหืด), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 12 (ยาแก้โรคหืด), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ยาแก้หืด, เปลือกประยงค์ป่า, กุ่มเพลิง, เจตมูลเพลิง, ข้าวข้าบุกรอ, กลอย, กระดาด, พริกไทย, สุรา, ข้าวเปลือก, เงินผูกคอหม้อ, เสมหะหืด, เปลือกแมงดา, ผักแพวแดง, สลึง, พริกไทย, หัวย้าง, ตำลึง, ยาข้าวเย็น, ยาสูบ, เกลือสมุทร, ขิงสด, บวบขมสด, กระเทียม, ฝาหอย, รากสลอด, เล็บเหยี่ยว, รากมะกรูด, รากมะดูก, รากมะขามป้อม, รากไข่เน่า, รากข่อยหยอง, รากก้างปลาแดง, รากเท้ายายม่อม, รากกะตังใบ, รากส้มกุ้ง, รากนมแมว, ขอบชะนาง, หญ้าหนวดแมว, พันงูแดง, น้ำนมเสือ, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14787?lang=th |
148 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 11 (ยาแก้โรคลมบาดทะยัก) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคลมบาดทะยัก” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 11 (ยาแก้โรคลมบาดทะยัก), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 11 (ยาแก้โรคลมบาดทะยัก), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ไข้เจลียงอากาศ, สันนิบาต, โกฐสอ, โกฐเขมา, เทียนดำ, ลูกโหระพา, ลูกผักชี, น้ำประสานทอง, ใบพิมเสน, ใบสันพร้ามอญ, ใบผักหวาน, รากทองหลาง, รากสลอดน้ำ เม็ดในมะนาว, หวายตะค้า, ลูกสรรพพิษ, ไคร้เครือ, ดอกพิกุล, ดอกบุญนาค, ดอกสารภี, คางปลาช่อนข้างล่างเผา, กระดูกงูเหลือมเผา, กระดูกงูทับทางเผา, งาช้างเผา, กรามแรดเผา, น้ำดอกไม้, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, นิสา เชยกลิ่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14785?lang=th |
149 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 10 (ยาแก้ไข้เจลียงอากาศ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงพิษจาก “ไข้เจลียงอากาศ” อาการของโรค ตำรับยาสมุนไพรที่ใช้รักษา ตลอดจนการปรุง และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 10 (ยาแก้ไข้เจลียงอากาศ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 10 (ยาแก้ไข้เจลียงอากาศ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, ไข้เจลียงอากาศ, อุจจาระปัสสาวะ, สันนิบาต, เบญจเหล็ก, เถาวัลย์เปรียง, แก่นสน, แก่นสัก, แก่นสักขี, แก่นขนุน, กำลังโคเถลิง, พญามือเหล็ก, จันทน์, ตรีผลา, เบญจกูล, พริกไทย, กำแพงเจ็ดชั้น, กันเกรา, ข่าต้น, เทพทาโร, สะค้าน, ชะพลู, ตรีกฏุก, รากไม้ไผ่, รากปีบ, รากมะกล่ำเครือ, เบญจชะพลู, เบญจเต่าร้าง, เบญจกะเพรา, สะค้าน, ดีปลี, ขิง, เจตมูลเพลิง, เปลือกมะพูด, บอระเพช, ช้าพลู, โกฐ, เทียน, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, กานพลู, กฤษณา, กระลำพัก, ชะลูด, แฝกหอม, กระดอม, บอระเพ็ด, ไคร้หอม, ตรีผลา, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงฝั่งซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12684?lang=th |
150 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 9 (ยาแก้โรคริดสีดวง) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงโรค “ริดสีดวง” ซึ่งเกิดจากภาวะธาตุดินในร่างกายผิดปกติ สำแดงอาการที่ลิ้นเป็นส่วนใหญ่ ข้อความในจารึกได้บอกถึงอาการของโรค ตำรับยาสมุนไพรที่ใช้รักษา ตลอดจนการปรุง และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 9 (ยาแก้โรคริดสีดวง), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 9 (ยาแก้โรคริดสีดวง), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, เจตมูล, ขิงแห้ง, กระดาดแดง, จิงจ้อเหลี่ยม, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, กระวาน, กานพลู, สมุลแว้ง, พริกไทย, เทียนทั้งห้า, น้ำผึ้ง, มหาหิงคุ์, ลำพัน, ดีปลี, ขิงแห้ง, เทียนเยาวพาณี, หัสคุณเทศ, ผักแพวแดง, พริกไทย, รากข่อย รากคาง, รากส้มป่อย, รากเจตมูล, การบูร, ยาดำ, พิมเสน, รังปลวกใต้ดิน, ปรุงยา, ต้มยา, กวนยา, ริดสีดวง, รุกขชิวหา, กองปฐวีธาตุ, เฟื้อง, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ระเบียงมุมซ้ายด้านหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12678?lang=th |
151 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 8 (ยาแก้โรคลมชัก) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงโรค “ลมชัก” ซึ่งเกิดจากลมในร่างกายเคลื่อนไหวรุนแรงและเร็วมาก ข้อความในจารึกได้บอกถึงอาการของโรค ตำรับยาสมุนไพรที่ใช้รักษา ตลอดจนการปรุง และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 8 (ยาแก้โรคลมชัก), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 8 (ยาแก้โรคลมชัก), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, โกฐสอ, โกฐพุงปลา, โกฐเขมา, โกฐหัวบัว, ไพล, เปลือกกุ่ม, ลำพันแดง, รากละหุ่งแดง, ขิง, ลูกกระวาน, กานพลู, ข่า, ขมิ้นอ้อย, รากพานงูแดง, รากอังกาบ, ลูกสมอไท, ลูกผักชี, สมอพิเภก, หัวตะใคร้หอม, ลูกช้าพลู, ลูกชะพลู, ขิงแครง, ขิงแห้ง, เปลือกราชพฤกษ์, รากพังโหม, ดีปลี, รากเจตมูล, สะค้าน, เปลือกโลด, ว่านเปราะ, เปลือกมะยมตัวผู้, เปลือกสะท้อน, เปลือกมะไฟ, รากตองแตก, ใบสมอทะเล, กระเทียม, มหาหิงค์, ตะไคร้หอม, เหล้า, น้ำขิงข่า, น้ำมะนาว, ปรุงยา, ต้มยา, กวนยา, เครื่องเทศ, ปัสสาวะมรรค, สลึง, เลือดเน่า, ทวาร, เบญจขัน, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12676?lang=th |
152 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 7 (ยาแก้โรคสันนิบาต ตอนที่ 1) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงโรค “สันนิบาต” 7 ประการ ซึ่งเกิดจากธาตุต่างๆ ในร่างกายผิดปกติ ทำโทษต่อร่างกายพร้อมๆ กัน ทำให้มีไข้ ข้อความในจารึกได้บอกวิธีรักษาอาการต่างๆ ของโรคด้วยตำรับยาสมุนไพร (หมายเหตุ: ภาพประกอบของ “จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 7” ในหนังสือ “จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” ไม่ตรงกับคำจารึกและคำปริวรรตของ “ตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 7” แต่ตรงกับเนื้อหาของ “จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 4”) |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 7 (ยาแก้โรคสันนิบาต ตอนที่ 1), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 7 (ยาแก้โรคสันนิบาต ตอนที่ 1), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, โกฐสอ, ว่านน้ำ, โกฐเขมา, โกฐหัวบัว, ใบปีบ, ใบสะเดา, บอระเพ็ด, พริก, ขิง, รากเจตมูลเพลิง, ฝักราชพฤกษ์, ขันฑสกร, รากสลอดน้ำ, จันทน์ขาว, กระวาน, จันทน์, ผักเป็ด, ใบสะเดา, เปลือกสะเดา, ใบหมากผู้, ดินสอพอง, หางนกยูง, ผักเสี้ยนผี, บอระเพ็ด, ไม้ไผ่ป่า, เปลือกมะกรูด, เปลือกมะรุม, สันพร้ามอญ, รากสมอ, ไพล, ขมิ้นอ้อย, พิมเสน, น้ำส้มซ่า, น้ำซาวข้าว, ปรุงยา, ต้มยา, กวนยา, สันนิบาตเลือด, สันนิบาตลม, สันนิบาต, สันนิบาตเสลด, สันนิบาตดีพลุ่ง, สันนิบาตน้ำเหลือง, สันนิบาตอัมพฤกษ์, สันนิบาตสแกเวียน, สันนิบาตตาเหลือง, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, เกษียร มะปะโม, นวพรรณ ภัทรมูล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12671?lang=th |
153 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 6 (ยาแก้โรคกล่อน ตอนที่ 2) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงโรค “กล่อนเอ็น” “กล่อนหิน” “กล่อนน้ำ” และ “กล่อนลม” โดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับตำรับยา การประกอบเครื่องยา ตลอดจนการใช้ยารักษาอาการของโรค |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 6 (ยาแก้โรคกล่อน ตอนที่ 2), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 6 (ยาแก้โรคกล่อน ตอนที่ 2), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, เบญจขี้เหล็ก, มะกา, มัดกา, รากโคกกระสุน, ผักเสี้ยนผี, ผักเสี้ยนเรา, รากชะพลู, พริก, ขิง, ดีปลี, ลูกฝ้าย, กำลังวัวเถลิง, รากพังอาด, กะทกรก, กระทกรก, ขี้เหล็ก, หัวแห้วหมู, น้ำขี้เหล็ก, หัวอุตพิด, ใบคนทีสอ, เบญจคัดเค้า, หอมแดง, ตรีกฏุก, ลูกประคำดีควาย, ใบกะเม็ง, การบูร, เกลือ, ปรุงยา, ต้มยา, กวนยา, ยากล่อน, กล่อนน้ำ, กล่อนลม, กล่อนหิน, กล่อนเอ็น, สลึง, เฟื้อง, บาท, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12668?lang=th |
154 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 5 (ยาแก้พิษอติสาร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงอาการของพิษไข้ “อติสาร” ให้รายละเอียดของสูตรยา วิธีประกอบเครื่องยา และวิธีรับประทาน |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 5 (ยาแก้พิษอติสาร), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 5 (ยาแก้พิษอติสาร), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, ถนนเอกชัย, แขวงบางค้อ, เขตจอมทอง, กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, เกสรบุนนาค, เกสรบัวหลวง, เกสรสารภี, จันทน์ขาว, จันทน์แดง, ดอกฟักทอง, ใบน้ำดับไฟ, ใบบอระเพ็ด, ใบชิงช้าชาลี, ใบชาลี, ใบตำลึง, ใบชบา, หางจระเข้, ฆ้องสามย่าน, ใบน้ำเต้า, เพชรสังฆาต, กรุงเขมา, ใบกระทืบยอบ, หิ่งหาย, ผักบุ้งขัน, ใบมะระ, ใบชุมเห็ดไทย, ขมิ้นอ้อย, ใบโคกกระสุน, ขี้นกพิราบ, เบญกานี, กฤษณา, สีเสียด, ลูกจันทน์, ชันตะเคียน, พริก, ขิง, ผักกระเฉด, กระเทียมกรอบ, ดีปลี, เปลือกมูกมัน, เปลือกกระทุ่มนา, เปลือกคางกราย, ตาน, อุตพิด, ผลมะตูมอ่อน, โกฐสอ, สังกรณี, ฝิ่น, สมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, พิมเสน, น้ำดอกไม้, ดินประสิว, เปลือกมะพร้าว, ครก, น้ำซาวข้าว, กำยาน, มาศเหลือง, น้ำฝาง, ยางแต้ว, ปรุงยา, บดยา, เฟื้อง, อติสาร สลึง, สมุทรเกลื่อน, พรหมพักตร, รัตนธาตุ, ริดสีดวง, ไข้, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12658?lang=th |
155 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 4 (ยาแก้โรคกล่อน ตอนที่ 1) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคกล่อน” ว่ามีกล่อนอยู่ 5 ชนิด ได้แก่ อินท์ หรือกล่อนดิน กล่อนลม กล่อนน้ำ กล่อนหิน และกล่อนเลือด โดยจารึกหลักนี้จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับอาการ การรักษา และตำรับยาแก้โรคกล่อนน้ำเป็นหลัก |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 4 (ยาแก้โรคกล่อน ตอนที่ 1), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 4 (ยาแก้โรคกล่อน ตอนที่ 1), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, ถนนเอกชัย, แขวงบางค้อ, เขตจอมทอง, กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ยาสมุนไพร, การรักษาด้วยสมุนไพร, เปลือกขี้เหล็ก, รากช้าพลู, รากตองแตก, รากทรงบาดาล, ผักเสี้ยนไทย, รากเจตมูลเพลิง, กะทกรก, แก่นแสม, แก่นปรู, แก่นมะหาด, แก่นมะเกลือ, แก่นสักหิน, มหาหิงค์, พริกไทย, ลูกจันทน์, การบูร, ดีปลี, สะค้าน, หมากตรวย, ส้มกุ้ง, โคกกระออม, เกลือ, เทียน, เมี่ยงคำ, ขนม, ข้าวเปลือก, ทอง, กล่อนลม, กล่อนอินท์, กล่อนน้ำ, กล่อนหิน, กล่อนเอ็น, กล่อนเลือด, กล่อนแห้ง, น้ำเหลือง, กระดูก, หัวหน่าว, หัวเหน่า, ตำลึง, สุรา, สลึง, เฟื้อง, บาท, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, นวพรรณ ภัทรมูล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12627?lang=th |
156 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 3 (ยาแก้โรคทุราวสา หรือโรคทางเดินปัสสาวะ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคทุราวสา” หรือโรคทางเดินปัสสาวะ ระบุอาการของโรคโดยดูจากสีและลักษณะของน้ำปัสสาวะ คือ สีเหลือง, แดง, ดำ หรือขาวขุ่น ซึ่งแต่ละอาการก็มีตำรับยาและวิธีรักษาต่างกัน ในจารึกนี้ได้ให้รายละเอียดของเครื่องยาแต่ละสูตร ตลอดจนวิธีรับประทานยาให้เหมาะสมกับโรค |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 3 (ยาแก้โรคทุราวสา หรือโรคทางเดินปัสสาวะ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 3 (ยาแก้โรคทุราวสา หรือโรคทางเดินปัสสาวะ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ลูกแตงแต้ว, ว่านน้ำ, แห้วหมู, ขิงแห้ง, สมออัพยา, มหาหิงคุ์, เจตมูล, ดีปลี, รากมะตูม, ใบสะเดา, รากเสนียด, ใบอังกาบ, แห้ว, อบเชย, ลูกประคำดีควาย, บอระเพ็ด, โมกมัน, ต้นมหาหิงคุ์, พิลังกาสา, พริกล่อน, เปราะหอม, จิงจ้อ, กานพลู, การบูร, เทียนดำ, เปลือกไข่เน่า, ลูกเอ็น, น้ำผึ้ง, น้ำประสารทอง, โคกกระสุน, สารส้ม, ดอกดำ, น้ำมะนาว, น้ำอ้อยแดง, โกฐสอ, เกลือสินเธาว์, ชะมด, ปรุงยา, เบาเป็นมัน, ปุพโพ, โลหิต, โรคเบาเหลือง, โรคเบาแดง, โรคเบาขาว, โรคเบาดำ, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, พิมพ์พรรณ ไพบูลณ์หวังเจริญ, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, เกษียณ ปะมะโม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12532?lang=th |
157 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 2 (ยาแก้โรคสำหรับบุรุษ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคสำหรับบุรุษ” ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 2 (ยาแก้โรคสำหรับบุรุษ), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 2 (ยาแก้โรคสำหรับบุรุษ), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, ใบมะระ, ใบเถาคัน, เปลือกหว้า, เปลือกโพบาย, เปลือกพิกุล, ใบต่อไส้, ขมิ้นอ้อย, เปลือกจิก, เปลือกมะม่วงกะล่อน, ใบขัดมอน, ผักบุ้งรวม, ผักบุ้งไทย, ผลมะกอก, เม็ดมะนาว, เบญกานี, สีเสียด, รากมะนาว, หัวกะทิ, น้ำมันงา, สีผึ้ง, ขี้ผึ้ง, ฝุ่นจีน, กะลามะพร้าว, ดินแดงเทศ, ชันย้อย, ชันตะเคียน, ปรุงยา, ต้มยา, น้ำเหลือง, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12530?lang=th |
158 |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 1 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 1) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึง “โรคที่เกิดจากลม” อันก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยขึ้นกับอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ระบุอาการของโรค รายชื่อสมุนไพรที่ใช้ประกอบเครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใช้ยา |
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 1 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 1), จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 1 (ยาแก้โรคลม ตอนที่ 1), หินอ่อนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส, วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พืชสมุนไพร, หน่อไม้, กานพลู, ผักแพ้วแดง, ดีปลี, ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, พริกไทย, ตาเสือ, ผักเบี้ยหนู, พุทรา, หอมแดง, พันธุ์ผักกาด, แทงทวย, โพบาย, หัวบุก, ดองดึง, สะค้าน, กระวาน, สัตตบุษย์, ชันตะเคียน, หอมแดง, มะรุม, ไพล, ผักเบื้ยหนู, มะนาว, โลดแดง, น้ำผึ้ง, ยาลูกกลอน, เหล้า, ลิ้นทะเล, แกลบ, โกศเขมา, เทียนดำ, สารส้ม, ปรุงยา, เครื่องยา, จตุบาทวาโย, คางทูม, ชื่ออัควารันตะ, ภุมรา, สรรพวาโย, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์,อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกภาษาไทย, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ตำรายา, เรื่อง-ยาสมุนไพร, เรื่อง-พืชสมุนไพร, เรื่อง-โรคและการรักษาด้วยสมุนไพร |
ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12528?lang=th |
159 |
จารึกดวงชะตาฤกษ์สร้างวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ระบุถึงดวงชะตาฤกษ์ที่สร้างวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร |
จารึกดวงชะตาฤกษ์สร้างวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร, จุลศักราช 1196, จุลศักราช 1196, พุทธศักราช 2377,พุทธศักราช 2377, รัตนโกสินทร์ศักราช 53,รัตนโกสินทร์ศักราช 53, แผ่นทองแดง, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ฐานพระประธาน วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, รัชกาล, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3ราชวงศ์จักรี, รัตนโกสินทร์, วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร, ศาสนาพุทธ, ดวงชะตาฤกษ์, สุริยคติ, จันทรคติ, อธิกมาศ, ลักขณา, ราศีกันย์, ธาตุดิน |
พิพิธภัณฑ์วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร หอบูรพาจารย์ แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 24 มิถุนายน 2565) |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/723?lang=th |
160 |
จารึกฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อดำ |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้างและนามผู้สร้าง คือ พระครูนาขาม พร้อมด้วยอุบาสก อุบาสิกา ว่าได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อดำ, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, สำริดรมดำ, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, กุฏิเจ้าอาวาสวัดกลางกาฬสินธุ์, อำเภอเมือง, จังหวัดกาฬสินธุ์, ไทย, รัตนโกสินทร์, เจ้าครูนาขาม, สงฆ์, เป็นเค้า, ประธาน, อุบาสก, อุบาสิกา, ตัมพโลหะ, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีกดสง้า, ปีกดซง้า, ปีกดซะง้า, ปีกดสะง้า, มื้อรวงเม้า, นักขัตฤกษ์, บุษยะ, เทวดา, นิพพานปัจจโยโหตุ, วัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2343, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 4 (พระเจ้าอินทวงศ์), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดกลางกาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
กุฏิเจ้าอาวาสวัดกลางกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ |
พุทธศักราช 2353 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2413?lang=th |
161 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสร้างโดยเจ้าหลวงน้อยอินทร์แห่งลำปาง |
ธรรมล้านนา |
พระองค์เจ้าหลวง (เจ้าหลวงน้อยอินทร์) แม่เจ้าจุมปา และแม่เจ้าศรีบุญเรือง เป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ร่วมกับราชโอรส-ธิดาและทาสชายหญิงทุกคน เมื่อจุลศักราช 1202 โดยขอให้เป็นปัจจัยสู่นิพพาน |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปสร้างโดยเจ้าหลวงน้อยอินทร์แห่งลำปาง, A BUDDHA IMAGE SPONSORED BY JAO LUANG NòI IN OF LAMPANG IN 1841, จุลศักราช 1202, พ.ศ. 2384, 1202, 2384, ไม้ ลงรัก ปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา, เจ้าหลวงน้อยอินทร์, พระยาน้อยอินทร์, ลำปาง, นครไชยสุขาวดี, แม่เจ้าจุมปา, แม่เจ้าศรีบุญเรือง, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2384, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าหลวงน้อยอินทร์ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2384 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2529?lang=th |
162 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 |
ธรรมล้านนา |
ขนานอุตมะพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย และแผ่ส่วนบุญกุศลไปหาบิดา มารดา วงศาคณาญาติและครูบาอาจารย์ที่ล่วงลับไปแล้ว |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 (นน. 2107) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 (นน. 2107) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานอุตมะ |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14966?lang=th |
163 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 |
ธรรมล้านนา |
หนานมุดพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 (นน. 2106) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 (นน.2106) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานมุด |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14963?lang=th |
164 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3 |
ธรรมล้านนา |
หนานวงศ์พร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3 (นน. 2105) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, พระพุทธรูปวัดใหม่ 3 (นน. 2105) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานวงศ์ |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14960?lang=th |
165 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ.2395 สวาธุเจ้าเมธังได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2 (นน. 2103) จ.ศ. 1214 (พ.ศ. 2395), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 2 (นน. 2103) จ.ศ. 1214 (พ.ศ. 2395), วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2395, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ,, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าสวาธุเมธัง |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2395 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14956?lang=th |
166 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 |
ธรรมล้านนา |
หนานมุดพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 (นน. 2103) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 (นน. 2103) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานหมุด |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14953?lang=th |
167 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงยืน |
ธรรมล้านนา |
อุบาสกนามว่า อ้ายกาง ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้แด่วัดเชียงยืน เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา ในจุลศักราช 1194 ขอให้มีอานิสงส์ได้ถึงโลกุตรธรรม 9 ประการ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงยืน, ชม. 103, 74 วัดเชียงยืน, ชม. 103, 74 วัดเชียงยืน, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดเชียงยืน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระยาพุทธวงศ์, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, อ้ายกาง, โลกุตรธรรม 9 ประการ, นิพพาน, ฉลอง, กินทาน, ผลานิสงส์, อุบาสก, ผลบุญ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2375, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดเชียงยืน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดเชียงยืน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1708?lang=th |
168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 |
ธรรมล้านนา |
ขนานคัมภีระได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 (นน. 2092) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 (นน. 2092) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานคัมภีระ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14864?lang=th |
169 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2379 จินดาภิกขุได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8 (นน. 2091) จ.ศ. 1198 (พ.ศ. 2379), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 8 (นน. 2091) จ.ศ. 1198 (พ.ศ. 2379), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2379, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-จินดาภิกขุ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2379 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14861?lang=th |
170 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 5 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2374 ขนานชินะรินทา ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 5, จารึกจารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 5 (นน. 2088) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 5 (นน. 2088) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานชินะรินทา |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2374 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14855?lang=th |
171 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 4 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2348 วัชชิระสามเณรพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 4 (นน. 2087) จ.ศ. 1167 (พ.ศ. 2348), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 4 (นน. 2048) จ.ศ. 1167 (พ.ศ. 2348), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2348, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-วัชชิระสามเณร |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2348 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14845?lang=th |
172 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2360 ปรมวังสะภิกขุพร้อมด้วยลูกศิษย์ทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยทองแดง ทองแข และทองเหลือง เพื่อค้ำชูพระศาสนาตราบ 5,000 ปี โดยมีศิษย์ที่ชื่อยาสิทธิเป็นผู้ตกแต่งพระพักตรของพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 3, จารึกจารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 3 (นน. 2086) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 3 (นน. 2086) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปรมวังสะภิกขุ, บุคคล-ยาสิทธิ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14843?lang=th |
173 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2363 น้อยคู้พร้อมครอบครัว ร่วมกับฝ่ายสงฆ์คือ มหาปรมวังสะ (น่าจะเป็นเจ้าอาวาส) พระอุปละและลูกศิษย์ทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยทองสำริด โดยมีธรรมสิทธิภิกขุเป็นผู้จารตัวอักษร |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1 (นน. 2084) จ.ศ. 1182 (พ.ศ. 2363), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 1 (นน. 2084) จ.ศ. 1182 (พ.ศ. 2363), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2363, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคู้, บุคคล-มหาปรมวังสะ, บุคคล-พระอุปละ, บุคคล-ธรรมสิทธิภิกขุ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2363 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14839?lang=th |
174 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอ่างแก้ว |
ธรรมอีสาน |
เจ้าหม่อมพิมพา ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
สค. 1, สค. 1, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากวัดศรีสระเกศ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดอ่างแก้ว, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, สัมฤทธิ์, สำริด, ฐานพระพุทธรูป ปางสมาธิ, จังหวัดศรีสะเกษ, วัดอ่างแก้ว, เชิงสะพานท่าจีน, อำเภอเมือง, จังหวัดสมุทรสาคร, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, เจ้าหม่อมพิมพา, พุทธศาสนา, ปีระวายสี, วันพุธ, มีกดสัน, มื้อกดสัน, ตุลนรราศี, ตุลณราศี, ตุลราศี, ยามเที่ยงวัน, นิรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, พิทูร มลิวัลย์, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, พิทูร มลิวัลย์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 : อักษรธรรมและอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าหม่อมพิมพา |
วัดอ่างแก้ว เชิงสะพานท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร (เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2557 ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทยได้ไปสำรวจแต่ไม่พบจารึกหลักนี้) |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2449?lang=th |
175 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายตันพร้อมด้วยมารดา ภรรยา และบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บิดาชื่อ น้อยอุตมะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 8 (นน. 2083) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 8 (นน. 2083) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายตัน, บุคคล-น้อยอุตมะ |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14918?lang=th |
176 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 6 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2306 อุ้ยจมปากับภรรยาทั้ง 7 ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา และปรารถนาให้ถึงพระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 6, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 7 (นน. 2082) จ.ศ. 1125 (พ.ศ. 2306), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 7 (นน. 2082) จ.ศ. 1125 (พ.ศ. 2306), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2306, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าขี้หุด, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-โป่อภัยคามินี, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-อุ้ยจมปา |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2306 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14913?lang=th |
177 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1 |
ธรรมล้านนา |
น้อยวันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ด้วยปรารถนาความสุข 3 ประการ มีนิพพานเป็นที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 2 (นน. 2077) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 2 (นน. 2077) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-น้อยวัน |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14896?lang=th |
178 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1179 นางแก้ววัณณา น้อยคันธิยะพร้อมทั้งภรรยาและลูกหลานเหลนทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปด้วยละอองเกสรดอกไม้องค์นี้ ไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 1, ชม. 98, 53 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 1, ชม. 98, 53 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1179, พุทธศักราช 2360, จุลศักราช 1179, พุทธศักราช 2360, จ.ศ. 1179, พ.ศ. 2360, จ.ศ. 1179, จ.ศ. 2360, เมิงเป้า, ฉลู นพศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูปมุกเกสรปางสมาธิ, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระยาคำฝั้น, รัชกาลที่ 2, ร.2, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยอาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นางแก้ววัณณา น้อยคันธิยะและภรรยารวมถึงลูกหลานเหลน, ละอองเกสร, พระพุทธไกรสร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2360, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1503?lang=th |
179 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2338 ขนานทิพพละและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 2 (นน. 2128) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 2 (นน. 2128) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2338, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสันทะ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานทิพพละ |
วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2338 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15089?lang=th |
180 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 1 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายดวงพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสันทะ 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 1 (นน. 2127) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสันทะ 1 (นน. 2127) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสันทะ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายดวง |
วัดสันทะ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15086?lang=th |
181 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 3 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2397 ญาณภิกขุพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 3 (นน. 2123) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 3 (นน. 2123) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2397, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถาน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ญาณภิกขุ |
วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2397 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15074?lang=th |
182 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2397 แสนยนพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 2 (นน. 2122) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 2 (นน. 2122) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2397, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถาน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนยน |
วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2397 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15065?lang=th |
183 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2397 ท้าววุฒาและภรรยาพร้อมด้วยบุตรหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสถาน 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 1 (นน. 2121) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดสถาน 1 (นน. 2121) จ.ศ. 1216 (พ.ศ. 2397), วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2397, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถาน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท้าววุฒา |
วัดสถาน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2397 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15063?lang=th |
184 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเมือง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระราชมารดามหากษัตริย์ขัตติยวรกัญญาเจ้าที่ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ พร้อมตั้งคำอธิษฐาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเมือง, พ.ศ. 2306, พุทธศักราช 2306, พ.ศ. 2306, พุทธศักราช 2306, จ.ศ. 1125, จุลศักราช 1125, จ.ศ. 1125, จุลศักราช 1125วัตถุ, สำริด,ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปประธาน, ในโบสถ์วัดศรีเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พระราชมารดามหากษัตราขัตติยวรกัญญาเจ้า, มหากษัตราขัตติยวรกัญญาอุตตมา, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, วัดกลางหลวงจันทบุรี, หล่อพุทธรูปเจ้า, หล่อพระพุทธรูป, สร้างพระพุทธรูป, ปีก่ามด, มื้อกัดมด, สัทธาธิก, ธิษฐานุคติ, คน, เทวดา, มนุษยโลกา, เมืองฟ้า, สวรรค์, นางเทพดา, นิพพาน, เมืองแก้วนิรพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, ายุ-จารึก พ.ศ. 2306, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 (พระเจ้าศิริบุญสาร), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีเมือง หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พระพุทธรูปประธาน ในโบสถ์วัดศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2306 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2485?lang=th |
185 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1201 เจ้านางโนชาทรงสร้างพระพุทธรูปเพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 1, ชม. 104, 76 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 1, ชม. 104, 76 วัดศรีเกิด, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2382, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์, อำเภอเมือง, จังหวัดเชียงใหม่รัชกาล, พระยาพุทธวงศ์, รัตนโกสินทร์, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้านางโนชา, นิพพาน, เมืองฟ้า, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2382, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่พบพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดศรีเกิด |
พุทธศักราช 2382 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1682?lang=th |
186 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 6 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
เนื่องจากข้อความในจารึกหายไปบางส่วน จึงไม่ทราบชื่อผู้สร้าง ทราบแต่เพียงปี เดือน และวันที่สร้างเท่านั้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 6 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 6 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 8 (นน. 2102) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 8 (นน. 2102) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2374, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2374 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14942?lang=th |
187 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 4 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ขนานมหาวันพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 4 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 4 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 6 (นน. 2100) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 6 (นน. 2100) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานมหาวัน |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14936?lang=th |
188 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 3 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ขนานสมวันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 3 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 3 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 5 (นน. 2099) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 5 (นน. 2099) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานสมวัน |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14933?lang=th |
189 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (หนองคาย) |
ไทยน้อย |
หัวเจ้าสมเด็จพรหมมาและบรรดาญาติโยมได้มีศรัทธาพร้อมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2, พ.ศ. 2319, พุทธศักราช 2319, พ.ศ. 2319, พุทธศักราช 2319, จ.ศ. 1137, จุลศักราช 1137, จ.ศ. 1137, จุลศักราช 1137, สำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง, ตำบลมีชัย, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, หัวเจ้าสมเด็จพรหมาวชิรปัญญา, เป็นเค้า, พ่อทอง, เฒ่าแก่ท้าวพระยาบ้านเมือง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าหัวทิดบุญคำ, พระเจ้าอริยะเมตตรัยโพธิสัตว์เจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, จุลศักราชร้อย 37, จุลศักราชร้อย 37, ปีรับมด, ปีดับเม็ด, ยามกลองงาย, นิพพานปัจจโยโหตุ, สัพพัญญุตญาณ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2319, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 (พระเจ้าศิริบุญสาร), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหัวทิดบุญคำ, บุคคล-หัวเจ้าสมเด็จพรหมมา, ไม่มีรูป |
ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2319 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2409?lang=th |
190 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2374 หมื่นคำวังพร้อมด้วยภรรยาและญาติพี่น้อง ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 2 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 4 (นน. 2098) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 4 (นน. 2098) จ.ศ. 1193 (พ.ศ. 2374), วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2374, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นคำวัง |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2374 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14930?lang=th |
191 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3 |
ธรรมอีสาน |
พ่อออกราชามาศพร้อมด้วยลูกหลาน ญาติพี่น้อง ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 3ศักราช: พ.ศ. 2388, พุทธศักราช 2388, พ.ศ. 2388, พุทธศักราช 2388วัตถุจารึก: หินลักษณะวัตถุ: ฐานพระพุทธรูปสถานที่พบ: โบสถ์วัดพระธาตุดอนตาลบ้านชีทวน, ตำบลชีทวน, อำเภอเขื่องใน, จังหวัดอุบลราชธานีอาณาจักร: ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์เทพเจ้า: พระยาอินทร์, พระยาพรหม, ยมภิบาล, จตุโลกบาลทั้งสี่, นางธรณี, อิศวร, ครุฑ, นาค, อากาศา, เมฆขลา, เมขลา, เทพา, มนุษย์, พี่น้องบุคคล: พ่อออกราชามาศ, บุตร, นัดดา, คณาญาติวงศ์วานศาสนา: พุทธศาสนาพิธีกรรม: สร้างพระพุทธรูปหิน, สร้างพระพุทธรูปไม้จันทน์อื่นๆ: พุทธภูมิ, กุศล, นิพพานปัจจโยโหตุ, ปรโลก |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2388 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2509?lang=th |
192 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกชื่อผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ คือ พระมหาธรรมเทโวเจ้า |
อบ. 24, อบ. 24, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 1, จารึกฐานพระพุทธพระมหาธัมมเทโวเจ้า, พ.ศ. 2325, พุทธศักราช 2325, พ.ศ. 2325, พุทธศักราช 2325, จ.ศ. 1144, จุลศักราช 1144, จ.ศ. 1144, จุลศักราช 1144, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, พระอุโบสถวัดพระธาตุดอนตาล, บ้านชีทวน, ตำบลชีทวน, อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, กรุงธนบุรี, พระมหาธรรมเทโวเจ้า, เจ้าขนาน, คำมลุน, ทอง, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูป, สร้างพระพุทธรูป, ปีเต่ายี่, วันอาทิตย์, ยามกลองแลง, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2325, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระเจ้าองค์หลวงไชยกุมาร, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุสวนตาล อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาธรรมเทโวเจ้า |
ในกุฏิเจ้าอาวาส วัดพระธาตุสวนตาล (ข้อมูลเดิมว่า อยู่ในพระอุโบสถวัดพระธาตุดอนตาล) บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2325 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2507?lang=th |
193 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 3 |
ธรรมอีสาน |
พระมหาราชครูธรรมคุต วัดป่ามณีโชติศรีสวัสดิ์สัสดี (ชื่อเดิมวัดป่าใหญ่) ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เมื่อปี พ.ศ. 2374 |
อบ. 20, อบ. 20, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 5, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 3, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 3, พ.ศ. 2374, พุทธศักราช 2374, พ.ศ. 2374, พุทธศักราช 2374, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปอินทร์แปง, วิหารอินทร์แปง, วัดป่าใหญ่, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, พระมหาราชครูธรรมคุต, พุทธศาสนา, วัดป่ามณีโชติ, สร้างพระพุทธรูป, ปีเถาะ, ตรีศก, เหมันตฤดู, นิพพานปัจจโยโหตุ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2374, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-เจ้าฮุย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระมหาราชครูธรรมคุต |
อยู่ทางด้านขวาของพระพุทธรูปอินทร์แปลง ในวิหารอินทร์แปลง วัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2374 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2505?lang=th |
194 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 2 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึง วัน เดือน ปี ที่สร้างและนามของผู้สร้าง คือ ท่านเจ้าครูศรีวิลาส |
อบ. 17, อบ. 17, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 4, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 5, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 5, พ.ศ. 2372, พุทธศักราช 2372, พ.ศ. 2372, พุทธศักราช 2372, จ.ศ. 1191, จุลศักราช 1191, จ.ศ. 1191, จุลศักราช 1191, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดป่าใหญ่, วัดมหาวนาราม, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, ท่านเจ้าครูศรีวิลาส, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ปีเป้า, นิพพานปัจจโยโหตุ, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2372, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-เจ้าฮุย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท่านเจ้าครูศรีวิลาส |
ในวิหารวัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2372 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2503?lang=th |
195 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 1 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึง วัน เดือน ปี ที่สร้างพระพุทธรูปนี้ และบอกชื่อผู้สร้าง คือ มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา ซึ่งเป็นองค์เดียวกันกับที่สร้าง พระเจ้าอินแปง |
อบ. 16, อบ. 16, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดป่าใหญ่ 1, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 4, จารึกวัดมหาวนาราม หลักที่ 4, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, หิน, ฐานพระพุทธรูป, พระอุโบสถวัดป่าใหญ่, วัดมหาวนาราม, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, ล้านช้าง,มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, พุทธศาสนา, สร้างพระศิลามุจลินทร์, สร้างพระพุทธรูป, ปีรวายยี่, มื้อเมิงเม้า, สัพพัญญุตญาณ, ปัจจโยโหตุ, คน, เทวดา, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2349, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (พระเจ้าอนุวงศ์), วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2349, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าใหญ่ อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา |
ในพระอุโบสถวัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2349 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2501?lang=th |
196 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบุ้ง |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2354 ธุยาวิลาส (พระยาวิลาส) พร้อมด้วยมารดา พี่ชายและญาติพี่น้อง ได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบุ้ง, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดบุ้ง (นน. 2075) จ.ศ. 1173 (พ.ศ. 2354), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดบุ้ง (นน. 2075) จ.ศ. 1173 (พ.ศ. 2354), วัดบุ้ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรต, จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบุ้ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ธุยาวิลาส |
วัดบุ้ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14888?lang=th |
197 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบ้านแวง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี และบอกว่าหัวครูนริศวงศาส่องแจ้ง เป็นผู้จารึกไว้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบ้านแวง, พ.ศ. 2361, พุทธศักราช 2361, พ.ศ. 2361, พุทธศักราช 2361, จ.ศ. 1180, จุลศักราช 1180, จ.ศ. 1180, จุลศักราช 1180, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ปางนาคปรก, ฐานพระหลวงพ่อนาค, ในอุโบสถวัดบ้านแวง, (วัดโพธิ์ชัย), ตำบลบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, หัวครูนริศวงศาส่องแจ้ง, พุทธศาสนา, ปีเปิกยี่, มื้อฮับไส้, กลองแลง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2361 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (พระเจ้าอนุวงศ์), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบ้านแวง อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-หัวครูนริศวงศาส่องแจ้ง |
ฐานพระหลวงพ่อนาค ในอุโบสถวัดบ้านแวง (วัดโพธิ์ชัยศรี) ตำบลบ้านผือ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2361 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2487?lang=th |
198 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง |
ธรรมล้านนา |
น้อยสุทธะพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง 1 (นน. 2116) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง 1 (นน. 2116) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดบง ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยสุทธะ |
วัดบง ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15047?lang=th |
199 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 4 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2338 ขนานพลและครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 5 (นน. 2115) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 5 (นน. 2115) จ.ศ. 1157 (พ.ศ. 2338), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2338, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานพล |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2338 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15045?lang=th |
200 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 3 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2337 ธุขนานยาวิไชยพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 4 (นน. 2114) จ.ศ. 1156 (พ.ศ. 2337), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 4 (นน. 2114) จ.ศ. 1156 (พ.ศ. 2337), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2337, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ธุขนานวิไชย |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2337 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15042?lang=th |
201 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2347 นางคำผังและครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 3 (นน. 2113) จ.ศ. 1166 (พ.ศ. 2347), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 3 (นน. 2113) จ.ศ. 1166 (พ.ศ. 2347), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2347, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางคำผัง |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2347 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15039?lang=th |
202 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 1 |
ธรรมล้านนา |
เนื่องจากจารึกมีสภาพไม่สมบูรณ์จึงไม่ทราบชื่อผู้สร้าง ทราบแต่เพียงว่าพระพุทธรูปสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2343 เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดน้ำลัด 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 2 (นน. 2112) จ.ศ. 1162 (พ.ศ. 2343), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดน้ำลัด 2 (นน. 2112) จ.ศ. 1162 (พ.ศ. 2343), วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2343, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดน้ำลัด น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดน้ำลัด ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2343 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14981?lang=th |
203 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาหลวง |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2336 พระขนานปัญญาพร้อมด้วยพระลูกศิษย์ทุกรูป ร่วมกับศรัทธาฝ่ายฆราวาส ได้แก่ เจ้านาซ้าย โยมมารดาและโยมบิดาของพระขนานปัญญา คือ หมื่นทักขิณะได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาหลวง, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาหลวง 2 (นน. 22) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาหลวง 2 (นน. 22) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), วัดนาหลวง ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาหลวง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้านาซ้าย, บุคคล-พระขนานปัญญา, บุคคล-หมื่นทักขิณะ |
วัดนาหลวง ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14885?lang=th |
204 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 18 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2335 พ่อขนานคุณาพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 18, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 18, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 21 (นน. 2072) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 21 (นน. 2072) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335)), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2335, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อขนานคุณา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2335 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14837?lang=th |
205 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 16 |
ธรรมล้านนา |
น้อยอุปนันท์พร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนา 5,000 ปี และขอผลานิสงส์ที่ได้จงช่วยค้ำชูพวกตนทั้งชาตินี้และชาติหน้า จนกว่าจะได้บรรลุพระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 16, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 16, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 19 (นน. 2070) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 19 (นน. 2070) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-น้อยอุปนันท์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14833?lang=th |
206 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 15 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2335 ขนานไชยเสนพร้อมด้วยพี่น้องและบุตรหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปชิน 1 องค์และพระพุทธรูปเงิน 2 องค์ ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา ปรารถนาเอาสุข 3 ประการมีพระนิพพานเป็นที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 15, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 15, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 18 (นน. 2069) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2335), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 18 (นน. 2069) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2335), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2335, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานไชยเสน |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2335 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14831?lang=th |
207 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 14 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2360 ขนานอุปละได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 14, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 14, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 17 (นน. 2068) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 17 (นน. 2068) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานอุปละ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14829?lang=th |
208 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 1 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2385 หมื่นไชยสิทธิพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 2 (นน. 2073) จ.ศ. 1204 (พ.ศ. 2385), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 2 (นน. 2073) จ.ศ. 1204 (พ.ศ. 2385), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2385, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นไชยสิทธิ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2385 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14782?lang=th |
209 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 4 |
ธรรมล้านนา |
แสนอินทปัญญาพร้อมด้วยครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปไม้จันทน์องค์นี้ไว้ให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 4 (นน. 2050) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 4 (นน. 2050) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอินทปัญญา |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13684?lang=th |
210 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2360 ขนานสุปินะพร้อมด้วยบุตรภรรยาได้สร้างและถวายพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 2 (นน. 2048) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 2 (นน. 2048) จ.ศ. 1179 (พ.ศ. 2360), 1.7.2.2 วัดนาน้อย พ.ศ. 2360, 1.7.2.2 วัดนาน้อย พ.ศ. 2360, วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 5 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ น่าน และจารึกเมืองน่านที่น่าสนใจ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2360, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา (เจ้าเชียงใหม่ช้างเผือก), วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ขนานสุปินะ |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2360 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13633?lang=th |
211 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 1 (พระเจ้าทองทิพย์) |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2336 เจ้าฟ้าอัทธวรปัญโญพร้อมด้วยพระญาติ หมื่นศรีสรรพช่าง (ช่างออกแบบหล่อ) และอาจารย์อุ่น (ผู้จารึก) ได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ และอธิษฐานขอให้ได้พบกับพระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 1 (พระเจ้าทองทิพย์), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 1 (พระเจ้าทองทิพย์), จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์ วัดนาน้อย 1 (นน. 2047) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์ วัดนาน้อย 1 (นน. 2047) จ.ศ. 1155 (พ.ศ. 2336), 1.7.3.1 วัดนาน้อย พ.ศ. 2336, 1.7.3.1 วัดนาน้อย พ.ศ. 2336, วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 5 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ น่าน และจารึกเมืองน่านที่น่าสนใจ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-หมื่นศรีสรรพช่าง, บุคคล-อาจารย์อุ่น |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13472?lang=th |
212 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอนไชย |
ธรรมล้านนา |
ขนานชัยได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอนไชย, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดดอนไชย 2 (นน. 2045) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดดอนไชย 2 (นน. 2045) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอนไชย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานชัย |
วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13438?lang=th |
213 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 5 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1209 นางแดงและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
ชื่อจารึก : จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 5, ชม. 105, 78 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 5, ชม. 105, 78 วัดดอกคำศักราช : จุลศักราช 1209, พุทธศักราช 2390, จุลศักราช 1209, พุทธศักราช 2390, จ.ศ. 1209, พ.ศ. 2390, จ.ศ.1209, พ.ศ. 2390วัตถุจารึก : มุกลักษณะวัตถุ : ฐานพระพุทธรูปสถานที่พบ : วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่รัชกาล : พระเจ้ามโหตรประเทศ, พระยามหาวงศ์ราชวงศ์ : เจ้าเจ็ดตนอาณาจักร : ล้านนา ศาสนา : พุทธเหตุการณ์สำคัญ : การสร้างพระพุทธรูปบุคคล : นางแดงและลูกทุกคน,จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2390, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนมุก, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2390, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนมุกข้าวชีวิต, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางแดง |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2390 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1630?lang=th |
214 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 4 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1176 เจ้าแสนเมืองมาและครอบครัว ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยไม้แก่นจันทน์ เพื่อเป็นที่บูชาแก่มนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ตอนท้ายขอให้ตนได้สมปรารถนา และขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการ อันมีนิพพานเป็นยอด |
ชื่อจารึก : จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 4, ชม. 97, 50 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 4, ชม. 97, 50 วัดดอกคำศักราช : จุลศักราช 1176, พุทธศักราช 2357, จุลศักราช 1176, พุทธศักราช 2357, จ.ศ. 1176, พ.ศ. 2357, จ.ศ. 1176, พ.ศ. 2357 วัตถุจารึก : ไม้จันทน์ลักษณะวัตถุ : ฐานพระพุทธรูปไม้ปางเปิดโลก อาณาจักร : ล้านนา ศาสนา : พุทธเหตุการณ์สำคัญ : การสร้างพระพุทธรูปบุคคล : แสนเมืองมาอื่นๆ : ไม้แก่นจันทน์, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2357, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้จันทน์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าแสนเมืองมา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2357, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางเปิดโลก, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าแสนเมืองมา |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2357 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1655?lang=th |
215 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1173 น้อยคันธิ, นางดีและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปเจ้าดอกไม้หอมองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา รวมทั้งเป็นที่สักการะแก่คนและเทวดา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 3, ชม. 96, 34 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 3, ชม. 96, 34 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1173, พุทธศักราช 2354, จุลศักราช 1173, พุทธศักราช 2354, จ.ศ. 1173, พ.ศ. 2354, จ.ศ. 1173, พ.ศ. 2354, ไม้, ฐานพระพุทธรูปมุกดอกไม้ปางมารวิชัย, พระเจ้ากาวิละ, เจ้าเจ็ดตนอาณาจักรล้านนา ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, น้อยคันธิ, นางดีและครอบครัว, มุกดอกไม้, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2354, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคันธิ, บุคคล-นางดี |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่พบพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดดอกคำ |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1580?lang=th |
216 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปู่ทิพย์และนางจ้อยผู้เป็นภรรยา รวมทั้งลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นไว้แด่วัดช่างดอกคำ โดยมีการทำพิธีพุทธาภิเษกในจุลศักราช 1163 โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพานในที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 2, ชม. 95, 28 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 2, ชม. 95, 28 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1163, พุทธศักราช 2344, จุลศักราช 1163, พุทธศักราช 2344, จ.ศ. 1163, พ.ศ. 2344, จ.ศ.1163, พ.ศ. 2344, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา,กาล, พระเจ้ากาวิละ, เจ้าเจ็ดตน ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ปู่ทิพย์, นางจ้อย, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2344, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2344, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ปู่ทิพย์, บุคคล-นางจ้อย |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2344 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1612?lang=th |
217 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1145 ท้าวบุญเรืองและครอบครัว ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 1, ชม. 93, 25 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 1, ชม. 93, 25 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1145, พุทธศักราช 2326, จุลศักราช 1145, พุทธศักราช 2326, จ.ศ. 1145, พ.ศ. 2326, จ.ศ.1145, พ.ศ. 2326, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดดอกคำ จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้ากาวิละ, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, ร.1, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, จักรี, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธ, ท้าวบุญเรืองและครอบครัว, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2326, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2326, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท้าวบุญเรือง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2326 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1458?lang=th |
218 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3 |
ธรรมล้านนา |
วันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 10 จุลศักราช 1218 ได้สร้างพระเจ้าชะตาเจ้ามหาพรหมองค์นี้ และทำการสมโภชในวันเดียวกัน |
ชม. 106 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3, 89 วัดดวงดี, ชม. 106 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3, 89 วัดดวงดี, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 3, จุลศักราช 1218, พุทธศักราช 2399, จุลศักราช 1218, พุทธศักราช 2399, จ.ศ. 1218, พ.ศ. 2399, จ.ศ. 1218, พ.ศ. 2399, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระเจ้าชาตา, พระเจ้าชะตา, สมโภช, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2399, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดวงดี, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, |
วัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2399 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1453?lang=th |
219 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 2 |
ธรรมล้านนา |
เจ้าบุญทาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นในจุลศักราช 1184 |
ชม. 100 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 2, 60 วัดดวงดี, ชม. 100 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี 2, 60 วัดดวงดี, จุลศักราช 1184, พุทธศักราช 2365, จุลศักราช 1148, พุทธศักราช 2365, จ.ศ. 1184, พ.ศ. 2365, จ.ศ.1148, พ.ศ. 2365, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดดวงดี จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 2, ร.2, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2365, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดวงดี เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าบุญทา |
วัดดวงดี ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2365 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1451?lang=th |
220 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1158 ภิกษุเทวินทร์และศิษย์ทุกคนรวมทั้งปู่ร้อยอ้ายและย่าใจ ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ในพุทธศาสนา โดยขอให้ได้ถึงแก่นิพพาน |
ชม. 94 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 2, 27 วัดช่างแต้ม, ชม. 94 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 2, 27 วัดช่างแต้ม, จุลศักราช 1158, พุทธศักราช 2339, จุลศักราช 1158, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, พ.ศ. 2339, จ.ศ. 1158, พ.ศ. 2339, ปีรวายสี, ปีมะโรง อัฏฐศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระยากาวิละ, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร. 1, ร. 1, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, จักรี, รัตนโกสินทร์, ล้านนา , ปู่ร้อยอ้าย, ย่าใจ, ธุเทวินทร์, ตุ๊เทวินทร์, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ปู่ร้อยอ้าย, บุคคล-ย่าใจ, บุคคล-เทวินทร์ภิกษุ |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1449?lang=th |
221 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 3 |
ธรรมล้านนา |
นางพิมพาสร้างพระพุทธรูปขึ้นในจุลศักราช 1168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 3, ชม. 102, 63 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 3, ชม. 102, 63 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1186, พุทธศักราช 2367, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1186, พุทธศักราช 2367, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1186, พ.ศ. 2367, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1186, พ.ศ. 2367, ปีกาบสัน, ปีวอก ฉศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, นางพิมพา, พระยาคำฝั้น, เจ้าหลวงเศรษฐี, เศรษฐีคำฝั้น, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, นางพิมพา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2367, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2367, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาคำฝั้น, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางพิมพา |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2367 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1602?lang=th |
222 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 2 |
ธรรมล้านนา |
ระบุนามผู้สร้างและปีที่สร้างพระพุทธรูป คือ หนานมโน สร้างใน จุลศักราช 1168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 2, ชม. 101, 62 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 2, ชม. 101, 62 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1168, จุลศักราช 1167, จุลศักราช 1167, พุทธศักราช 2367, พุทธศักราช 2367, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1168, จ.ศ. 1167, จ.ศ. 1167,พ.ศ. 2367, พ.ศ. 2367, ปีกาบสัน, ปีวอก ฉศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, หนานมโน, ล้านนา, สยาม, ไทย, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, พระยาคำฝั้น, เศรษฐีคำฝั้น, เจ้าหลวงเศรษฐีศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2367, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2367, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาคำฝั้น, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานมโน |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2367 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1501?lang=th |
223 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น |
ธรรมอีสาน |
เป็นพระบรมราชโองการพระมหากษัตริย์ล้านช้าง ได้ถวายข้าโอกาส เพื่อรักษาบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ และสาปแช่งผู้ที่มายึดเอาข้าโอกาสของพระพุทธรูป |
จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น, จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดพิพิธภัณฑสถานขอนแก่น, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ถ้ำ, ตำบลคำอาฮวน, จังหวัดมุกดาหาร, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, ข้อย, ข้าทาส, ข้าพระ, แผ่นโลหะ, พุทธศาสนา, วิหาร, การอุทิศข้าทาส, การอุทิศข้าพระ, พระราชอาญา, พระเจ้า, พระพุทธรูปทอง, วัสสา, โลภ, ตัณหา, อบาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกสมัยพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้านันทเสน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราช, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1958?lang=th |
224 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยวัดศรีบุญเรือง (น่าน-อำเภอภูเพียง) |
ฝักขาม |
เรื่องราวที่จารึก กล่าวถึงพระยาหลวงเจ้าเมืองน่าน ผู้ทรงนามว่า “อัตถวรวงศา” พร้อมด้วยขัติยราชวงศ์ เสนาอำมาตย์และราษฎร มีศรัทธารวมทองกันแล้วสร้างพระพุทธรูป โดยนายช่างผู้ทำการหล่อมาจากเมืองล้านช้าง อนึ่ง คำพระนามว่า “อัตถวรวงศา” นั้น บางแห่งออกพระนามว่า เจ้าหลวงอัตถวรปัญโญ หรือ สมเด็จเจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดศรีบุญเรือง, นน. 21, นน. 21ศักราช: พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155} สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดศรีบุญเรือง, ตำบลม่วงตึ๊ด, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระยาหลวงเจ้าเมืองน่าน, อัตถวรวงศา, ขัติยราชวงศ์, ขัตติยวรวงศ์, เสนาอามาตย์ราษฎร, อำมาตย์, ทอง, เมืองล้านช้าง, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูปปติมากรเจ้า, ปีสลู, ปีฉลู, สุกกร, เพ็ง, ขอมภิสัย, วัสสานฤดู, อาสาฬห, ปถมมาส, ระวิวาร, ไถง, ไทยภาษา, ปีกาเป้า, ปถมสาฆ, นรเทวคณา, พระวสา, พระวัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2336 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1548?lang=th |
225 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1177 (พ.ศ. 2358) หมื่นนาเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปร่วมกับภรรยานามว่านางภาและลูกทุกคน โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523, นน. 26, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523, นน. 26, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าสุมนเทวราช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หมื่นนา, นางภา, พุทธ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หมื่นนา, บุคคล-นางภา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2358 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1936?lang=th |
226 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1197 (พ.ศ. 2398) จินดาภิกขุได้จ้างครูท่านหนึ่งสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523, นน. 30, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523, นน. 30, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2398, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2398, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2398, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2398, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, จินดาภิกขุ, บา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2378, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2398, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-จินดาภิกขุ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2378 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1809?lang=th |
227 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 23/2524 |
ธรรมล้านนา |
พ่ออ้าย?ศรีเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ร่วมกับครอบครัวเมื่อจุลศักราช 1177 (พ.ศ. 2358) โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เลขทะเบียน 23/2524, นน. 40, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เลขทะเบียน 23/2524, นน. 40, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, จ.ศ.1177, พ.ศ. 2358, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าสุมนเทวราช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พ่ออ้ายศรี, เมืองน่าน,พุทธ, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่ออ้ายศรี, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2358 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1940?lang=th |
228 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 2 |
ธรรมล้านนา |
ท้าวพลเทพและนางเขบแก้ว รวมทั้งพ่อแม่พี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ได้ไปเกิดในสวรรค์ มีสติปัญญา และได้ไหว้พระเกศแก้วจุฬามณี เป็นต้น |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 2, นน. 58, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 2, นน. 58, จุลศักราช 1195, พุทธศักราช 2376, จุลศักราช 1195, พุทธศักราช 2376, จ.ศ. 1195, พ.ศ. 2376, จ.ศ. 1195, พ.ศ. 2376, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดสถารศ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ท้าวมหาเทพ, นางเขบแก้ว, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2376, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถารศ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ท้าวพลเทพ, บุคคล-นางเขบแก้ว, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์ |
วัดสถารศ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2376 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1869?lang=th |
229 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ 1 |
ฝักขาม |
เรื่องราวที่จารึก กล่าวถึงสุมนเทวราช ผู้ครองชัยนันทบุรี และพระสุวัณพิมพาราชเทวี พระศรีอนุกัญญา พระราชบุตร พระราชนัดดา พร้อมด้วยเสนาอำมาตย์ประชานาถรวมทองกันสร้างพระพุทธรูปไว้โชตกศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดสถารศ, นน. 27, นน. 27ศักราช: พ.ศ. 2366, พุทธศักราช 2366, พ.ศ. 2366, พุทธศักราช 2366, จ.ศ. 1185, จุลศักราช 1185, จ.ศ. 1185, จุลศักราช 1185, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดสถารศ, ตำบลในเวียง, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ไทย, สมเด็จบรมบพิตร, สุมนเทวราชเจ้า, ประธาน, สุวัณณพิมพาราชเทวี, ศรีอนุกัญญา, ราชบุตตาบุตตี, ราชบุตราบุตรี, นตานตี, เสนาอามาตย์ประชานาถ, อำมาตย์, ชยนันทบุรีวงศ์, ชัยนันทบุรีวงศ์, พุทธศาสนา, สร้างแปงพระพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, ปีกาเม็ด, ปถมมหามูลศรัทธา, ออก, พระวัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2366, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสถารศ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าสุมนเทวราช |
วัดสถารศ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2366 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1550?lang=th |
230 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3 |
ธรรมล้านนา |
พ่อเจ้าฟ้าหลวงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่กราบไหว้ของคนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3, นน. 35, ย. 3, นน. 35, ย. 3, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, พ่อเจ้าฟ้าหลวง, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเจ้าฟ้าหลวง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-พ่อเจ้าฟ้าหลวง, บุคคล-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1797?lang=th |
231 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1 |
ธรรมล้านนา |
แสนอินทวิไชยเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปนั่ง 1 องค์ ยืน 2 องค์ ร่วมกับภรรยาชื่อว่านางพรมและครอบครัวเมื่อจุลศักราช 1194 (พ.ศ. 2375) |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1, นน. 28, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1, นน. 28, พ.ศ. 2375, จุลศักราช 1194, พ.ศ. 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ.1194, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, แสนอินทวิไชย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอินทวิไชย, บุคคล-นางพรม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2386?lang=th |
232 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523 |
ธรรมล้านนา |
คัมภีร์? และนางขอดเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบท เมื่อจุลศักราช 1194 (พ.ศ. 2375) |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523, นน. 29, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523, นน. 29, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางขอด, แม่เฒ่า, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางขอด |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2375 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1859?lang=th |
233 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1172 (พ.ศ. 2353) พระสงฆ์นามว่าสุทธนามร่วมกับบิดามารดาและญาติพี่น้องทุกคน สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพานในสมัยของพระเมตตรัย อนาคตพุทธเจ้า |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 2, นน. 25, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 2, นน. 25, จุลศักราช 1172, พุทธศักราช 2353, จุลศักราช 1172, พุทธศักราช 2353, จ.ศ. 1172, พ.ศ. 2353, จ.ศ.1172, พ.ศ. 2353, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, วัดพญาวัด ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, ล้านนา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธ, สุทธนาม, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, เมตตรัย, เมไตรย, พระศรีอารย์, อนาคตพุทธเจ้า, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึก พ.ศ. 2353, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกวัดพญาวัด, จารึกในพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2353, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาวัด, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
วัดพญาวัด ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2353 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1805?lang=th |
234 |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 1 |
ธรรมล้านนา |
ระบุจุลศักราช 1169 (พ.ศ. 2350) และนางพญาเชียงของ |
จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 1, นน. 24, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพญาวัด 1, นน. 24, จุลศักราช 1169, พุทธศักราช 2350, จุลศักราช 1169, พุทธศักราช 2350, จ.ศ. 1169, พ.ศ. 2350, จ.ศ.1169, พ.ศ. 2350, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, วัดพญาวัด, ตำบลในเวียง, อำเภอเมือง, จังหวัดน่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, พญาเชียงของ, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2350, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ทีอยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาวัด, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางพญาเชียงของ |
วัดพญาวัด ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2350 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1807?lang=th |
235 |
จารึกฐานซุ้มพระแผงมุกวัดผ้าขาว |
ธรรมล้านนา |
เจ้าอาวาสวัดผ้าขาว สร้างพระแผงนี้ขึ้น? ในจุลศักราช 1183 |
จารึกฐานซุ้มพระแผงมุกวัดผ้าขาว, ชม. 99, 56 วัดผ้าขาว, 56 วัดผ้าขาว, ชม. 99, จุลศักราช 1181, พุทธศักราช 2364, จ.ศ. 1181, พ.ศ. 2364, จุลศักราช 1181, พุทธศักราช 2364, จ.ศ. 1181, พ.ศ. 2364, ไม้, ฐานซุ้มพระแผงมุก ปางมารวิชัย, ล้านนา, พุทธ, พระพิมพ์มุก, พระแผง, พระพิมพ์หมู่, ครูบาวัดผ้าขาว, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2364, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนฐานซุ้มพระแผง, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาธรรมลังกา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ครูบาวัดผ้าขาว |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่ปรากฏซุ้มพระแผงดังกล่าวที่วัดผ้าขาว |
พุทธศักราช 2364 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1619?lang=th |
236 |
จารึกขอบบานประตูวิหารหลวง (อุโบสถ) วัดบุญยืน |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลของเจ้าอัตถวรปัญโญและมหาอารามชัยภิกขุ รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนางและลูกศิษย์วัดทั้งหลายในจุลศักราช 1162 (พ.ศ. 2343) |
จารึกขอบบานประตูวิหารหลวง (อุโบสถ) วัดบุญยืน, นน. 60, นน. 60, จุลศักราช 1162, พุทธศักราช 2343, จุลศักราช 1162, พุทธศักราช 2343, จ.ศ. 1162, พ.ศ. 2343, จ.ศ. 1162, พ.ศ. 2343, ไม้, ขอบบานประตู, วัดบุญยืน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, มหาอารามชัยภิกขุ, เมืองน่าน, พุทธศาสนา, การบำเพ็ญกุศล, ขุนแสน, ขุนหมื่น, อายุ-จารึก พ.ศ. 2343, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนขอบบานประตู, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยูปัจจุบัน-จารึกวัดบุญยืน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดบุญยืน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านวัดบุญยืน ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2343 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1914?lang=th |
237 |
จารึกการสร้างฉัตร |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2375 มหาสวาธุเจ้าสังฆราชาประธานฝ่ายสงฆ์และพระสงฆ์ทุกวัด ร่วมกับพระองค์เจ้าสุวรรณหอคำเขลางค์ลัมพกบุรีประธานฝ่ายฆราวาส, เจ้าพระยามหาอุปราชา, เจ้าพระยาราชวงศ์,เจ้าพระยารัตนหัวเมืองแก้ว, เจ้าพระยาชัยสงคราม, เจ้าพระยาราชบุตรวรราชกนิษฐา และเจ้าพระยาศรีสุริยวงศา พร้อมใจกันสร้างฉัตรเพื่อบูชาพระธาตุ และได้แต่งทูตไปกราบทูลพระมหากษัตริย์เจ้ากรุงศรีอยุธยา พระมหากษัตริย์เจ้ามีพระหฤทัยยินดีจึ่งได้พระราชทานแก้วและทองคำเปลวแก่คณะผู้สร้างฉัตร |
จารึกการสร้างฉัตร, ลป. 3 จารึกการสร้างฉัตร พ.ศ. 2375, ลป. 3 จารึกการสร้างฉัตร พ.ศ. 2375, พ.ศ. 2375, พุทธศักราช 2375, พ.ศ. 2375, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, จุลศักราช 1194, จ.ศ. 1194, จุลศักราช 1194, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไทยเปลิกยี, ปีเต่าสี, อนาคตพุทธ, มหาสวาธุเจ้าสังฆราชา, พระอริยสังฆเจ้า, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างฉัตร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-พระองค์เจ้าสุวรรณหอคำเขลางค์ลัมพกบุรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, บุคคล-พระองค์เจ้าสุวรรณหอคำเขลางค์ลัมพกบุรี, บุคคล-เจ้าพระยามหาอุปราชา, บุคคล-เจ้าพระยาราชวงศ์, บุคคล-เจ้าพระยารัตนหัวเมืองแก้ว, บุคคล-เจ้าพระยาชัยสงคราม, บุคคล-เจ้าพระยาราชบุตรวรราชกนิษฐา, บุคคล-เจ้าพระยาศรีสุริยวงศา, บุคคล-พลวิชัยภิกขุ |
วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ต.ลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2375 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16147?lang=th |
238 |
จารึกการบูรณะวัดประเสริฐสุทธาวาส |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการบูรณะวัดโดยพระประเสริฐวานิช ซึ่งเสร็จสิ้นใน พ.ศ. 2381 |
จารึกการบูรณะวัดประเสริฐสุทธาวาส, พ.ศ. 2381, พ.ศ. 2381, พุทธศักราช 2381, พุทธศักราช 2381, หิน, แผ่นหินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ภายในอุโบสถวัดประเสริฐสุทธาวาส แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, จีน, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, พระเจ้าเซวียนจง, อ้ายชิงเจวี๋ยหลัว หมินนิง, จักรี, ชิง, รัตนโกสินทร์, พระประเสริฐวานิช, โป้, พุทธศาสนา, สระน้ำ, ส้วม, ถาน, ปฏิสังขรณ์, บูรณะ, การเปรียญ, การบุเรียน, กำแพงแก้ว, นิพพาน, พระศรีอารย์, ศรีอาริยเมตไตรย, เมไตรยะ, อนาคตพุทธเจ้า, แซ่แต้, แซ่เจิ้ง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2341, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดประเสริฐสุทธาวาส กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-พระประเสริฐวานิช |
ภายในอุโบสถวัดประเสริฐสุทธาวาส แขวงบางปะกอก เขตราษฏร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2381 |
ไทย,จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2411?lang=th |
239 |
จารึกกลางรอยพระพุทธบาท |
ขอมอยุธยา |
ข้อความที่จารึกนั้น เป็นการกล่าวสรรเสริญอานุภาพของพระศรีอาริยเมตไตรย ผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต |
จารึกกลางรอยพระพุทธบาท, นว. 8, นว. 8, หินชนวนสีเขียว, สี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปรอยพระพุทธบาท, วัดพระพุทธบาท, อำเภอไพศาลี, จังหวัดนครสวรรค์, ไทย, อยุธยา, พระเมตไตรยโพธิสัตว์, พระโพธิสัตว์, พระพุทธเจ้า, พระศรีอาริยเมตไตรย, มนุษย์, พุทธศาสนา, พระพุทธบาท, เทวดา, นวพรรณ ภัทรมูล, นิยะดา ทาสุคนธ์, ศิลปากร, จารึกอักษรขอมอยุธยา, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, จารึกภาษาบาลี, จารึกบนหินชนวน, จารึกที่รอยพระพุทธบาท, จารึกบนหินชนวน, จารึกในพระพุทธศาสนา, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระอนาคตพุทธ, จารึกวัดพระพุทธบาท, จารึกพบที่นครสวรรค์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23. อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24. ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระพุทธบาท นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย |
วัดพระพุทธบาท ตำบลสำโรงชัย อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ |
พุทธศตวรรษ 23-24 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/630?lang=th |