ชุดข้อมูลจารึกที่มีวงดวงชาตา พบในภาคเหนือ
การแบ่งตามภูมิภาคใช้หลักเกณฑ์การแบ่งภาคของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ โดยภาคเหนือ ประกอบด้วย 17 จังหวัด ดังนี้ กำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเจ้าเมืองเชริง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2079 เจ้าเมิงเชริง นางเมิง และมหาสามีเจ้า ได้อัญเชิญพระภิกษุสงฆ์และชักชวนชาวเมืองทั้งหลายให้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูป |
จารึกเจ้าเมืองเชริงฯ, พย. 15, พย. 15, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, จ.ศ. 898, จุลศักราช 898, จ.ศ. 898, จุลศักราช 898, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมาชำรุด, ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, ไทยล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระภิกษุ, ชาวเมิง, ชาวเมือง, เจ้าเมืองเชริง, เจ้าแสนคำ, นางเมิง, นางเมือง, มหาสามีเจ้า, นักบุญ, ชาวเจ้า, สังฆะ, เจ้าไท, เจ้าหมื่นอางหนุ่ม, หมื่นกวาว, พันนาหลังสรีมา, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์ล ราศีมีน, พระจันทร์, พระราหู, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ปีระวายสัน, ออก, เม็ง, วันอาทิตย์, วันเมิงไส้, ยามกลองงาย, พระพุทธรูป, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเมืองเชริง, บุคคล-นางเมิง, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2079 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1643?lang=th |
2 |
จารึกเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายสร้างพระพุทธรูป |
ฝักขาม |
ใน พ.ศ. 2027 พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายได้มาสร้างพระพุทธรูปในไว้ถ้ำนี้ ทั้งยังได้ชักชวนให้บรรดาข้าราชการทั้งหลายให้อุทิศข้าพระ ที่ดิน และเงิน ไว้เป็นของบูชาแด่พระพุทธรูป |
จารึกเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายสร้างพระพุทธรูป, ลพ. 21, ลพ./21, พช. 16, 331, ลพ. 21, ลพ./21, พช. 16, 331, ศิลาจารึก ลพ./21 อักษรไทย ภาษาไทย, ศิลาจารึก ลพ./21 อักษรไทย ภาษาไทย, หลักที่ 66 ศิลาจารึกดอยถ้ำพระ จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 846 (พ.ศ. 2027), หลักที่ 66 ศิลาจารึกดอยถ้ำพระ จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 846 (พ.ศ. 2027), พ.ศ. 2027, พุทธศักราช 2027, พ.ศ. 2027, พุทธศักราช 2027, จ.ศ. 846, จุลศักราช 846, จ.ศ. 846, จุลศักราช 846, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ถ้ำพระ, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมูยเชียงราย, พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงราย, พ่ออยู่หัวเจ้าเมืองท้าวมูยเชียงราย, พ่ออยู่หัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงราย, พระพุทธเจ้า, นักบุญ, เจ้าหมื่นขวาทอง, เจ้าหมื่นซ้าย, อ้ายพ่อหญัวเจ้า, อ้าพ่ออยู่หัวเจ้า, ข้าพระ, เจ้ายีทอง, นางอาม, ยีห่อ, ญาณสังกา, เชียงดาย, ท่านสา, ท่านกุน, ชาวเพ็ง, เจ้าขุน, พระเป็นเจ้า, เงิน, เบ้, เบี้ย, บ้านถ้ำ, นาเก่า, เกินหรืนปูน, พุทธศาสนา, อุทิศข้าพระ, ถวายข้าพระ, อุทิศที่นา, ถวายที่นา, อุทิศที่ดิน, ถวายที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระจันทร์, พระเกตุ, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีตุล, พระราหู, ราศีมีน, ปีกาบสี, เดือนเจียง, เพ็ง, เม็ง, วันพุธ, วันกัดไส้, ฤกษ์, โรหิณี, เรือน, ครัว, มอญ, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม และคงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2027, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-พ่อหญัวเจ้าเมือง, บุคคล-ท้าวมุยเชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2027 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2000?lang=th |
3 |
จารึกเจ้าอารามคันธะ |
ฝักขาม |
ด้านแรกเป็นยันต์รูปสี่เหลี่ยม ด้านที่ 2 กล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปโดยเจ้าอาวาสคันธา เมื่อปี พ.ศ. 2369 และได้มีการจัดงานฉลองพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น ในปี พ.ศ. 2370 เจ้าอาวาสคันธายะ รองเจ้าอาวาสชู สามเณรทั้ง 12 รูป ตลอดจนศรัทธาทั้งหลายได้ร่วมกันสร้างกำแพงและธรรมมาสน์ขึ้นในการนี้ด้วย |
ชม. 30 จารึกวัดศรีคำชมพู, ชม. 30 จารึกวัดศรีคำชมพู, ชม. 30 จารึกเจ้าอารามคันธะ พ.ศ. 2370, ชม. 30 จารึกเจ้าอารามคันธะ พ.ศ. 2370, ชม. 30, ชม. 30, วัดศรีคำชมภู ตำบลป่าบง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2370, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-เจ้าอาวาสคันธา, บุคคล-เจ้าอาวาสคันธายะ, รองเจ้าอาวาสชู |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2370 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14435?lang=th |
4 |
จารึกเจ้าอัตถวรราชสร้างวิหาร |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2341 เจ้าอัตถวรราช ได้เป็นประธานสร้างมหาวิหาร, มหาเจดีย์ และพระพุทธรูป |
จารึกเจ้าอัตถวรราชสร้างวิหาร, นน. 6, นน. 6, พ.ศ. 2341, พุทธศักราช 2341, พ.ศ. 2341, พุทธศักราช 2341, จ.ศ. 1160, จุลศักราช 1160, จ.ศ. 1160, จุลศักราช 1160, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมาชำรุด, วัดบุญยืน, ตำบลกลางเวียง, อำเภอเวียงสา, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ภิกขุ, ศิษยานุศิษย์, อริยสงฆ์รอง, อัตถวรราช, ราชบุตราบุตรี, บิดามารดา, มหายุวราชหอหน้า, มหายุพราชหอหน้า, ราชกุลวงศา, ราชขระกูล, ราชกัญญา, ไวยาวัจกร, ผู้ข้า, เมิงพ้อ, เมืองพ้อ, พุทธศาสนา, พระวิหารเจดีย์, วัด, สร้างแปลงมหาวิหาร, สร้างแปลงมหาเจดีย์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีมังกร, พระจันทร์, พระพุธ, พระราหู, ราศีมีน, พระอังคาร, พระพฤหัสบดี, พระเกตุ, ราศีพฤษภ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระเสาร์, มฤตยู, ราศีกรกฎ, จุลศักพัท, อัสสะ, สนำ, ฉนำ, กัมโพช, ขอมพิสัย, คิมหันตฤดู, กาฬปักษ์, จตุคุรุวาร, ไถง, ไทยภาษา, ปีเปิดซง้า, เม็ง, มอญ, ไทยกาบยี, ฤกษ์, ยามกลองงาย, บรมวรปฐมมูลสัทธาภายใน, ปฐมมูลสัทธาภายนอก, รัฏฐาธิบดีชัยนันทบุรี, พุทธพิมพ์รูปเจ้า, พระพุทธรูป, วจกรรม, เนรพาน, นิพพาน, เปรตวิสัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2341, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบุญยืน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ |
วัดบุญยืน ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2341 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1540?lang=th |
5 |
จารึกเจ้าอัตถวรปัญโญเสริมยอดพระธาตุแช่แห้ง |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1151 (พ.ศ. 2332) เจ้าอัตถวรปัญโญ ทำการเสริมยอดพระธาตุที่หักลง ร่วมกับพระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ชาวเมือง รวมถึงภิกษุสามเณรในเมืองน่าน ตอนท้ายแสดงความปรารถนาให้ถึงแก่นิพพาน |
จารึกเจ้าอัตถวรปัญโญเสริมยอดพระธาตุแช่แห้ง, พ.ศ. 2332, 2332, 1151, 1151, นน. 16, นน. ๑๖, หินชนวน, แผ่นหินรูปใบเสมา, ล้านนา, สยาม, ไทย, หลวงติ๋นมหาวงศ์, รัตนโกสินทร์, เจ้าอัตถวรปัญโญ, อัตถวรราช, น่าน, พระธาตุแช่แห้ง, พุทธศาสนา, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อุดม รุ่งเรืองศรี, พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง, กรรณิการ์ วิมลเกษม, ดำรงวิชาการ : รวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดี 2545,อายุ-จารึก พ.ศ. 2332, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2332 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1982?lang=th |
6 |
จารึกเจ้าหัวแสนญาณกัลยา |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2047 พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา เจ้าเมืองพะเยา ได้ให้ฝังศิลาจารึกไว้เพื่อประกาศห้ามไม่ให้ผู้ที่กระทำความผิด เข้าไปในวัด |
จารึกเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, พย. 29, พย. 29, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดร้าง, ตำบลแม่ต๋ำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, เจ้าเมืองพญาว, เจ้าเมืองพยาว, เจ้าเมืองพะเยา, เจ้าเมิงพญาว, เจ้าเมิงพยาว, เจ้าเมิงพะเยา, พ่ออยู่หัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, มหาสามีเจ้า, นายวัด, หมื่นนา, จ่าเมิง, จ่าเมือง, เจ้าผู้กินเมือง, เจ้าผู้กินเมิง, ผู้ครองเมือง, กำแพง, พุทธศาสนา, ฝังหินจารึก, ฝังศิลาจารึก, ปีกาบไจ้, เดินหก, เดือนหก, เดินสี่, เดือนสี่, วันศุกร์, วันเปิกสัน, ฤกษ์, อุตรผลคุนะ, คลองเมิง, คลองเมือง, ครรลองเมือง, เม็ง, อุตรผลคุณี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2047, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2047 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1726?lang=th |
7 |
จารึกเจ้าหมื่นลอมงคล |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2044 เจ้าหมื่นลอมงคลได้สร้างพระมหาเจดีย์ไว้เพื่อประดิษฐานพระสรีรธาตุ สร้างพระพุทธรูปจำนวนมาก และบริจาคข้าพระจำนวนหนึ่งไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระมหาเจดีย์และพระพุทธรูปดังกล่าว |
ศิลาจารึกเจ้าหมื่นลอมงคล, พย. 28, พย. 28, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, พ.ศ. 2044, พุทธศักราช 2044, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา ชำรุด, เมืองโบราณ (เมืองลอ), อำเภอจุน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ล้านนา, พระพุทธเจ้า, เจ้าหมื่นลอมงคล, มหาเถรมธุรสเจ้า, นวารามาธิบดี, ประธาน, ซาวน้อย, ช่างน้อย, เอ้ยทุน, เอื้อยทุน, อ้ายคา, ปู่เกิด, พันชายคำบุญ, ห้าสิบชุม, ซาวมงคล, ชาวมงคล, พ่อแพง, ยีขุน, เชียงจัน, แก้วเต็มขัน, เจ้าหมื่นเทพ, พันน้อย, เจ้ามหาสามี, เจ้าป่าน้อย, มหาสามีเจ้าศรีชุม, มหาสามีเจ้าขอบแจ้ง, มหาเถรเจ้าป่าหลวง, มหาเถรเจ้าศรีเกิด, เจ้าหมื่นเชียงภูศีลคงคา, เจ้าหมื่นชลางทุน, เถ้าเมืองโสม, เถ้าเมืองพ่อน้อย, แสนข้าวศีลา, แสนข้าวคงคารู้, พันหนังสือสูวัน, พันหนังสือสุวรรณ, พันหนังสือญาณรังสี, ขันหนังสือ, เบี้ย, พุทธศาสนา, มหาเจติยะ, มหาเจดีย์, สร้างมหาเจดีย์, สร้างเจดีย์, ประดิษฐานพระสรีรธาตุ, ประดิษฐานพระธาตุ, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, สร้างพระพุทธรูป, หรคุณ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีพิจิก, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีกรกฎ, ปีกดสัน, เดินแปด, เดือนแปด, เพ็ง, วันเสาร์, กาบไจ้, รืก, ฤกษ์, วิสาขะ, พระพุทธรูป, ครัว, ทาน, หนี้, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2044, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-อุทิศข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-เจ้าหมื่นลอมงคล, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2044 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1723?lang=th |
8 |
จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2019 เจ้าหมื่นคำเพชรขึ้นครองเมืองนคร ได้ยกพระธาตุเจ้าไว้ในลำพาง ก่อกำแพงแปลงวิหาร และสร้างพระพุทธรูป 1 องค์ จากนั้นได้จัดพิธีฉลองพระพุทธรุป ด้วยการอุทิศที่ดิน และข้าพระ โดยหวังจักได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในกาลภายหน้า |
จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร, จารึกในจังหวัดลำปาง, หลักที่ 65 ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง, หลักที่ 65 ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2019, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2019, ลป. 1 จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร พ.ศ. 2019, ลป. 1 จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร พ.ศ. 2019, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, จ.ศ. 838, จุลศักราช 838, จ.ศ. 838, จุลศักราช 838, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนสตรีวัฒนา, เขตวัฒนา, กรุงเทพมหานคร, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนสตรีวัฒนา, เขตวัฒนา, กรุงเทพมหานคร, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นคำเพชร, พระพุทธเจ้า, สัปบุรุษ, น้ำทอง, ข้าวหนึ้ง, ข้าวเหนียว, เมืองนคร, ลำพาง, น้ำบ่อ, พุทธศาสนา, พระธาตุเจ้า, พระเจดีย์ศรีรัตนธาตุ, กินเมือง, ปกครองเมือง, ก่อกำแพง, แปลงวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, ฉลองพระพุทธรูป, แปลงศาลา, สร้างศาลา, อุทิศข้าพระ, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีรวายสัน, ปีระวายสัน, เดือนยี่, วันพุธ, เปลิกสง้า, เปิกซง้า, ฤกษ์, ปุนัพสุ, ครัว, บุญนวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2019, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-เจ้าหมื่นคำเพชร, บุคคล-เจ้าหมื่นคำเพชร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551) |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศักราช 2019 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2035?lang=th |
9 |
จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาวฝังเสมาวัดลี |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2038 ครูพระเป็นเจ้าสี่หมื่นพยาวได้ให้เอาหินมาปักปันที่ดิน แล้วฝังหินพัทธสีมาให้เป็นโบสถ์ของวัดลี ข้อความตอนท้ายของด้านที่ 1 เป็นรายนามของพระสงฆ์ที่อยู่ประจำวัด ข้อความจารึกด้านที่ 2-4 เป็นรายนามผู้บริจาคเงินและสิ่งของแก่วัด |
จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาวฝังเสมาวัดลี, พย. 27, พย. 27, จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาว (วัดลี), พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดลี, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ครูพระเป็นเจ้าสี่หมื่นพยาว, ครูพระเป็นเจ้าสี่หมื่นพะเยา, พระมหาเถรเจ้าประหญาวังสเจ้า, พระมหาเถรเจ้าปัญญาวังสเจ้า, เถรเจ้าตนน้อง, เถรญาณทัดสีเจ้า, เถรสวรเทพเจ้า, เถรพุทธิมาเจ้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระสงฆ์, มหาสามีญาณเทพเจ้า, มหาสามีนนประหญา, มหาสามีนนปัญญา, มหาเถรสุวันเจ้า, มหาสามีนนวัดพระยาร่วง, เจ้าเถรญาณมงคล, เจ้าเถรญาณสุนทรวัดท่า, เจ้ากูพระสังฆะ, พระพุทธเจ้า, มหาสังฆราชาพุธาธินน, คนสินทาน, เจ้าหมื่นเจ็ดเชียงแสน, ล่ามแก้ว, นางเจ้าทิป, หล้าพระยา, หล้าบ้านหนาม, เชียงลอ, พันน้อยแก้ว, ปู่น้อย, สามมงคล, ล่ามอ้าย, เชียงยี, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, อาจารบารมี, อาจารย์บารมี, บาสกเจ้ากู, มหาราชเจ้าเจ้าแผ่นดิน, ช่างฟอง, หมื่นนาหลังสิบวัด, เถ้าเมืองขวัญ, เถ้าเมิงขวัญ, พันนน, ปากอารี, ปากญาเทพ, พันสิน, พันอิน, หนังสือเมิงปากน้ำหนอง, หนังสือเมืองปากน้ำหนอง, พระเจ้าเมืองเชียงราย, พระเจ้เมิงเชียงราย, ปากญง, คนพันนนต่างเมิง, คนพันนนต่างเมือง, อุบาสก,พระสงฆ์, ศรีพัด, สุวรรณ, เบ้, เบี้ย, แก้ว, เงิน, เกลือชื่อ, คามเขต, ปริมณฑล, ท่าผา, บ้านหนองสูงเหนือมงคล, นาบ้าน, บ้านดอน, บ้านอิน, สวนไม้, บ้านใหม่นารายณ์, บ้านหัวหนอง, บ้านใหม่นายอินทร์, พุทธศาสนา, อุโบสถ, วัดลี, อาราม, วัดมหาพล, วัดหลวง, ผูกพัทธสีมา, วัดป่า, วัดใหม่,นาหนองเทง, ปากเบงครำ, นาทัน, นาอู่น้ำ, ฝังหินพัทธสีมา, ฝังกดหมายที่ดิน, ปักปันที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีตุล, พระพุธ, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีสิงห์, ปีเถาะ, ปีดับเหม้า, เดินเชษฐะ, เดือนเชษฐะ, เดินเก้า, เดือนเก้า, ออก, วันกดยี, เม็ง, วันอาทิตย์, ริก, ฤกษ์, บุพผลคุนี, น้ำ, อธิบดี, อาธิกัมม์, อธิกรรม, วินัยสิกขาบท,9 ผลบุญ, บุรพผลคุนี, ข้าว, อุปัฏฐาก, ครัว, ร่, พรหมสวร, ทาน, จารึกบนใบเสมา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การรังวัดที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การรังวัดที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, ตำบลเวียง |
พิพิธภัณฑ์เวียงพยาว (วัดลี) ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2038 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1714?lang=th |
10 |
จารึกเจ้าศรีฯ |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุดมาก ข้อความที่เหลืออยู่กล่าวถึงบุคคลผู้หนึ่ง ชื่อ ศรี ได้มีใจศรัทธาบริจาคข้าพระไว้ปฏิบัติดูแลวัดและพระพุทธรูป |
จารึกเจ้าศรีฯ, พย. 16, พย. 16, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยมปลายมน, วัดศรีโคมคำ, ตำบลในเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้า, ราชา, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, ประหญา, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, ทิดพา, หมื่นอาคม, เลา, พุทธศาสนา, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, พระอาทิตย์, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีมีน, ปีระวายสี, ปีระวายไจ้, ปีรวายสี, ปีรวายไจ้, วันกาไส้, พระศรีรัตนตรัยเจ้า, พระรัตนตรัย, พระพุทธรูป, วันผัด, วันพฤหัสบดี, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-ศรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-26, ไฟล์; PY_1601_p และ PY_1602_p) |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1646?lang=th |
11 |
จารึกเจ้าพันมหาดฯ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2053 เจ้าพันมหาดรับคำสั่งจากเจ้าเมือง ให้มาฝังศิลาจารึกหลักนี้ เพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ได้รับมอบหมายให้ปฎิบัติดูแลวัดและพระพุทธรูป |
จารึกเจ้าพันมหาดฯ, พย. 49, พย. 49, พ.ศ. 2053, พุทธศักราช 2053, พ.ศ. 2053, พุทธศักราช 2053, จ.ศ. 872, จุลศักราช 872, จ.ศ. 872, จุลศักราช 872, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดประตูโขง, ตำบลวังทอง, จังหวัดพะเยา, ตำบลท่าวังทอง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพันมหาด, เชียง, พระเป็นเจ้า, ข้าพระ, จอม, จอน, สารอด, ซาว, ผาจอม, ยาจอน, ผัน, ยามี, เหม, อุ่น, อ่อน, สม, บ้าน, พุทธศาสนา, อาราม, ฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีกันย์, พระราหู, ราศีพิจิก, ปีมะเมีย, กดซง้า, เดินสิบเอ็ด, เดือนสิบเอ็ด, อาชญา, ครัว, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2053, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าพันมหาด, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2053 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1769?lang=th |
12 |
จารึกหริปุญชปุรี |
ฝักขาม |
ในด้านที่ 1 บรรทัดแรกใช้คำว่า “ศุภมัศตุ” เป็นคำขึ้นต้นเรื่อง กล่าวถึงสมเด็จบพิตรมหาราชเจ้าตนเป็นอธิบดีในศรีพิงคราษฎร์เชียงใหม่ ได้ฐาปนาเหิงธรรมกับพระกรรโลงรักอัครราชมาดา มีศรัทธาในพระศาสนามากนัก มักให้มั่นคงลงเป็นเค้าเป็นมูงใน “หริบุญชบุรี” อวยไอสวรรย์สมบัติพัศดุฯ ทั้งหลาย มีต้นว่า “สัปตรัตนะ” นำมาบูชาพระมหาธาตุเจดีย์อันเป็นเหง้าเป็นเค้าแก่พสุธา จากนั้นได้พรรณนาสืบไปว่า สมเด็จพระองค์มหาราชเจ้าทั้งสองให้สร้างพระธรรมมณเฑียร อันอาเกียรณ์ไปด้วยคำมาสฯ ให้สร้างพระธรรม 8 หมื่น 4 พันพระธรรมขันธ์ และคันถสัตตปกรณ์ สาตถกถา ฎีกา อนุฎีกา คณนาได้ 420 คัมภีร์ ให้สร้างสุพรรณพุทธรูปเจ้า แล้วให้นำมาถาปนาไว้ ณ พระธรรมมณเฑียร พ.ศ. 2043 นี้ยังอยู่ในรัชกาลพระเมืองแก้ว จารึกหลักนี้ควรประดิษฐานอยู่ที่วัดพระธาตุหริภุญไชยนี้เอง แสดงว่า พระเมืองแก้วกับพระราชมารดาของพระองค์ได้ร่วมกันบำเพ็ญพระราชกุศลอันยิ่งใหญ่ สถาปนาหอพระไตรปิฎก ซึ่งท่านเรียกของท่านในสมัยนั้นว่า “พระธรรมมณเฑียร” เป็นสถานที่เก็บรักษาคัมภีร์พระไตรปิฎก ครบทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์ อันพร้อมทั้ง อรรถกถา ฎีกา และอนุฎีกา รวมทั้งสิ้นเป็นคัมภีร์ 420 พระคัมภีร์ บรรดาพระคัมภีร์ทั้งนี้ต้องเป็นใบลานทั้งหมด นอกจากนั้นยังทรงสร้างพระพุทธรูปทองคำประดิษฐานประจำอยู่ที่ “พระธรรมมณเฑียร” จารึกหลักนี้ ถ้อยคำที่จารึกมีลักษณะเป็นร้อยกรองทำนองร่าย เป็นที่น่าสังเกตที่เรียกชื่อเมืองลำพูนโบราณว่า “หริบุญชบุรี” ซึ่งคงจะสืบมาแต่คำว่า “หริภุญชัย” โดยลำดับ |
จารึกหริปุญชปุรี, ลพ. 15, ลพ./15, พช. 21, 327, หลักที่ 71 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, ลพ. 15, ลพ./15, พช. 21, 327, หลักที่ 71 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์พรหมยมราช, จตุโลกบาล, สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้า, อธิบดี, พระกรรโลง, อัครราชมาดา, ลูกหลานเหลน, นายหอปิฎก, นายนนทหน, พุทธรักขิตโพธิ, แก้วเสนาพุด, ญี่หมื่นอินหน, นารอดอุดมมงคล, โกวิทามงคล, สอยสารอด, พุทธคำเพียรสาม, จินดาหนสาม, ช่างอุ่นสุวรรณแก้ว, คนครบ, สมเด็จมหาราชเจ้า, ท้าวพระยา, สมเด็จพระธรรมมิกราชเจ้า, พระอัครราชมาดาบพิตร, สมเด็จพระบิดา, มหาอัยกะอัยยิกา, กัลปพฤกษ์, เครื่องสักการ, เครื่องคำ, กลวนน้ำนาก, กลวนน้ำนาค, น้ำต้นเงิน, น้ำซ่วยมือเงิน, มาลาเงิน, เงี่ยงเงิน, เงินจำนำ, ข้าวใส่บาตร, ข้าวบูชาพระธรรม, หมากเมี่ยง, บาตรเงิน, สิ่งของ, ทองคำ, กรณฑ, คนโทเงิน, กระโถนเงินชื่อ, ศรีพิงคราษฎร์เชียงใหม่, หริปุณชบุรี, พุทธศาสนา, บูชาพระมหาธาตุเจดีย์เจ้า, สร้างพระธรรม, บูชาพระธรรมเจ้า, อุทิศนา, อุทิศคน, อุทิศที่ดิน, อุทิศข้าพระ, อุทิศพระราชกุศลผลโกฐาส, วงดวงชาตา, ดิถี, ฤกษ์, นาที, โยค, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีมังกร, พระจันทร์, พระศุกร์, พระเกตุ, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีกันย์, พระราหู, ราศีมีน, กรณรสพัศ, ปีกดสัน, มฤคศิรมาศ, ปุรณมี, ไทยภาษา, เดือนเจียง, เพ็ง, เม็ง, วันจันทร์, วันดับเม็ด, พระแขไข, ภรณีนักษัตร, ปัณณรส, ฝ่าตีน, ญาณยุดวิสุทธศรัทธา, เป็นเค้า, เป็นประธาน, เป็นมูล, ไอศวรสมบัติพัสดุ, สัปตรัตนะ, เหง้าเกล้าพสุธา, สมเด็จพระองค์มหาราชเจ้า, พุทธวาจา, ขันธ์, คันถันตรปกรณ์, สาตถกถา, ฎีกานุฏีกา, อนุฎีกา, คัมภีร์, พระพุทธรูป, สุพรรณพุทธรูปเจ้า, สังขยา, ดอก, ปุณมี, มอญ, ดาวแม่ไก่, ดาวก้อนเส้า, พระราชอาชญา, นา, คน, อุปการ, พระธรรมมนเทียร, พระธรรมมณเฑียร, อดุลยบุญญาภิสนท์, อัชฌัตติกพาหิร, พระราชกุศล, ปรัชญา, อมรนิการ, มหานิโรธโพธิญาณ, ปริโยสาน, ส่วนบุญ, เทพคณา, เทพดา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอพระไตรปิฎก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ลำพูน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-หริบุญชบุรี, บุคคล-สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2043 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2074?lang=th |
13 |
จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า ปี พ.ศ. 2124 หมื่นชลูนจ่าพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูป |
ชม. 27 จารึกเจ้าหมื่นชลูนจ่าฯ สร้างพระพุทธรูป, ชม. 27 จารึกเจ้าหมื่นชลูนจ่าฯ สร้างพระพุทธรูป, จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป, 1.2.1.1 วัดป้านปิง พ.ศ. 2124, 1.2.1.1 วัดป้านปิง พ.ศ. 2124, ชม. 27 จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป พ.ศ. 2124, ชม. 27 จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป พ.ศ. 2124, ชม. 27, ชม. 27, วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2124, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป้านปิง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นชลูนจ่า |
วัดป้านปิง (ด้านหน้าพระอุโบสถ) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15734?lang=th |
14 |
จารึกหน้าอุโบสถวัดพระสิงห์ |
ฝักขาม |
เมื่อวันพุธ เพ็ญเดือน 6 จุลศักราช 1173 พระมหาธรรมิกราชาธิราช เจ้าเมืองเชียงใหม่, พระมหาอุปราชานรินทา, เจ้าราชบุตร-ราชนัดดา, พระอัครมเหสี ตลอดจนเสนาอำมาตย์ ได้นิมนต์สมเด็จพระสังฆราชเพื่อร่วมสร้างพระอุโบสถหลังนี้ ซึ่งประดับด้วยลายทองสวยงามตามแบบโบราณ เช่นเดียวกับในสมัยของบูรพกษัตริย์ ได้แก่ พระเจ้าแสนเมืองมา และพระเมืองแก้ว มีการบริจาคเงินค่าวัสดุอุปกรณ์ในการประดับตกแต่งพระอุโบสถ |
ชม. 12 จารึกมหาอารามราชสัณฐานสิงห์หลวง, ชม. 12 จารึกมหาอารามราชสัณฐานสิงห์หลวง, ชม. 12 จารึกหน้าอุโบสถวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2354, ชม. 12 จารึกหน้าอุโบสถวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2354, ชม. 22, ชม. 22, วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาแสนเมืองมา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเมืองแก้ว, บุคคล-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-พญาแสนเมืองมา, บุคคล-พระเมืองแก้ว, ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551) |
วัดพระสิงห์ ถนนสามล้าน ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ (ข้อมูลเดิมอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14419?lang=th |
15 |
จารึกสุวรรณปราสาท |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกด้านที่ 1 กล่าวถึงพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, พระอัครราชเทวี และพระราชโอรส ว่าทรงมีความเลื่อมใสในพุทธศาสนา จึงมีบัญชาให้สร้างปราสาทตกแต่งด้วยทองคำ, สร้างพระพุทธรูป และนิมนต์พระพุทธธาตุเจ้ามาประดิษฐานไว้ ณ สุวรรณปราสาท ส่วนข้อความจารึกด้านที่สอง เป็นคำอธิษฐาน ภาษาบาลี |
ชม. 8 จารึกพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, ชม. 8 จารึกพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, จารึกบนแผ่นไม้สัก ในพุทธสถาน อักษรไทย (ฝักขาม) และไทยเหนือ ภาษาไทยและบาลี จ.ศ. 1166, จารึกบนแผ่นไม้สัก ในพุทธสถาน อักษรไทย (ฝักขาม) และไทยเหนือ ภาษาไทยและบาลี จ.ศ. 1166, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, ไม้สัก, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จเสฏฐาบรมบพิตรราชาราชเจ้า, พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, องค์สุรศักดิ์สมญามหาอุติตยราชชาติราไชยศาคต, เจ้าขันธเสมาพิงตราเชียงใหม่, ราชโอรสาบุตรอุตมสิเนหา, อัครราชเทวี, พระอรหัต, สุวรรณคำ, ผอบแก้ว, พระพุทธธาตุเจ้า, ทอง, อริยทรัพย์, อวโกธะ, โภคทรัพย์, แก้วมณี, พิงไชย, พุทธศาสนา, สุวรรณปราสาท, พระตำนงค์, ทำทาน, สร้างปราสาท, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, พระพุธ, พระราหู, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีเมษ, ดิถี, นาที, ฤกษ์, ปีกาบไจ้, มาฆมาส, ปุรณมี, ไทยภาษา, เพ็ง, เม็ง, กดไจ้, เทวดา, เตโช, ราศีมีน, ราชธรรม, จิตรกรรม, ลายดอก, สังสารวัฏ, มงคลสามสิบแปด, บุญ, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2347, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การสร้างปราสาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 (มีนาคม 2515) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2347 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2156?lang=th |
16 |
จารึกส่วนยอดของใบเสมา |
ฝักขาม |
เป็นวงดวงชาตาระบุฤกษ์, วันเดือนปีที่จารึก |
จารึกส่วนยอดของใบเสมา, พย. 72, พย. 72, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035,หินทรายสีน้ำตาล, ใบเสมาชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, วัด, เจดีย์, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีกรกฎ, พระจันทร์, ราศีมีน, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีมังกร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2021-2035 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1881?lang=th |
17 |
จารึกสร้างมหามณฑป (เมืองพยาว) |
ฝักขาม |
เป็นการจารึกบันทึกเรื่องการสร้างมหามณฑปที่เมืองพะเยา |
จารึกสร้างมหามณฑป (เมืองพยาว), ลป. 12 จารึกการสร้างพระมหามณฑป (พะเยา) พ.ศ. 2078, ลป. 12 จารึกการสร้างพระมหามณฑป (พะเยา) พ.ศ. 2078, จารึกการสร้างมหามณฑป, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ลพ. 12, ลพ./12, พช. 15, 325, ลพ. 12, ลพ./12, พช. 15, 325, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าอยู่หัว, ชาวยอดขระหนานดาบเรือนจัน, เจ้าขุนเมืองพยาว, เชียงคง, ชาวดาบเรือน, สุวัน, ข้าพระ, ไพร่, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, วัด, ปลูกมหามณฑป, สร้างมหามณฑป, สร้างมณฑป, ปีดับเม็ด, ปีมะแม, เดือนภัทรมาส, ออก, ไทรวงเม็ด, ไทร้วงเม็ด, ติดถี, ดิถี, นาที, ฤกษ์, ยามตูดเช้า, พระราชโองการ, เรือน, พระอาชญา, มอญ, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2078, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างมณฑป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2078 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1993?lang=th |
18 |
จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพสร้างพิหารวัดกลาง |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2033 พระสงฆ์ทั้งหลาย ได้แก่ สมเด็จมหาสามีญาณเทพ เจ้าวัดมหาพน มหาสังฆราชาประหญา ได้เชิญชวนชาวเมืองร่วมบริจาคเงินเพื่อสร้างวิหารวัดกลาง |
จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพสร้างพิหารวัดกลาง, จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพสร้างวิหารวัดกลาง, พย. 57, พย. 57, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดร้าง, วัดกลาง, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระสงฆ์, สมเด็จมหาสามีญาณเทพ, เจ้าวัดมหาพน, มหาสังฆราชาประหญา, มหาสังฆราชาปัญญา, ศีลวิสุทธิเจ้า, เจ้าพันฉางอารี, ชาวทา, ล่ามแก้ว, แม่มงคล, อุตตมปัญญา, ปริจาริกะ, บริจาริกา, เม, เมีย, ข้าครัว, ข้าพระพุทธเจ้า, ผู้ใหม่, วัว, โค, เงิน, ตะคัน, เครื่องบูชาพระพุทธเจ้า, ขันหมากเบงทอง, เครื่องพร้อม, ประทีปทอง, ประทีปเงิน, ผางธูปทอง, กโทงฉาง, แดนพญาว, แดนพะเยา, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, พุทธศาสนา, วัดกลาง, สร้างพิหาร, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัวบดี, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีมีน, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีธนู, ศรีสุทธวงศบวรพงศ์, พระพุทธะ, พระธัมมะ, พระธรรม, สังฆะ, ปูชนียานุเสฏโฐ, ศรีรัตนตรัย, วิวิธสุหิตนาโถ, บุญญัง, ปีกดเส็ด, มาสเกณฑ์, สังขาร, สมบัติ, นิพพาน, บุญ, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุคคล-สมเด็จมหาสามีญาณเทพ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2033 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1817?lang=th |
19 |
จารึกวิหารวัดศรีบุญเรือง (แพร่) |
ฝักขาม |
เจ้าเมืองแพร่, แม่, ลูก ร่วมหล่อพระพุทธรูปด้วยทองคำ วันต่อๆ มามีการสร้างวิหาร สร้างปราสาท และเจดีย์ เจ้าเมืองแพร่ได้นำเกศาธาตุ … (ข้อความชำรุด ไม่ต่อเนื่องกัน) … ไปบรรจุในพระเจดีย์ |
พร. 6 จารึกวิหารวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2040, พร. 6 จารึกวิหารวัดศรีบุญเรือง พ.ศ. 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จังหวัดแพร่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมิงแพร่, เจ้าเมืองแพร่, เจ้าแผ่นดิน, พระสังฆะ, พระสงฆ์, แม่ลูก, ท้าวกิลนา, ข้าพระ, เจ้าวัดเชียงหมั้นธาตุพระเจ้า, เจ้าวัดเชียงมั่นธาตุพระเจ้า, ประชา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, นักบุญ, อรหันต์, ทองชื่อ, พุทธศาสนา, วิหาร, เจดีย์, ปราสาท, เจติย, หอพระแก้วสามองค์, หล่อพระพุทธรูป, สร้างพิหาร, สร้างวิหารศรีบุญเริง, สร้างวิหารศรีบุญเรือง, สร้างเจดีย์, สร้างปราสาท, สร้างเจติย, ออกบวช, บรรจุพระธาตุ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีกรกฎ, ลัคนา, ราศีกุมภ์, ปีเมิงไส้, เชษฐมาสะ, วันพุธ, ริกบริสุทธิ์, ฤกษ์บริสุทธิ์, เกศาธาตุ, บุญ, ศีลธรรม, เทวดา, เดือนวิสาข, เดินแปด, เดือนแปด, ออก, วันเต่าสี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่ศาลหลักเมือง แพร่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพร่ |
ศาลหลักเมืองแพร่ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562) |
พุทธศักราช 2040 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1946?lang=th |
20 |
จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ |
ธรรมล้านนา |
เมื่อ พ.ศ. 2390 สวาธุเจ้าหลวงโพธิ วัดป่าชี้ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ร่วมกับขุนนางและชาวบ้านช่วยกันสร้างพระอุโบสถหลังนี้ไว้ค้ำชูศาสนา |
ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ 1, ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ 1, ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ พ.ศ. 2390, ชม. 38 จารึกวัดโบสถ์ บ้านบ่อ พ.ศ. 2390, ชม. 38, ชม. 38, พ.ศ. 2390, พ.ศ. 2390, พุทธศักราช 2390, พุทธศักราช 2390, จ.ศ. 1209, จ.ศ. 1209, จุลศักราช 1209, จุลศักราช 1209, วัดอุโบสถ บ้านบ่อ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง เชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, บุคคล-สวาธุเจ้าหลวงโพธิ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2390 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15938?lang=th |
21 |
จารึกวัดแก้วหลาด |
ฝักขาม |
ปี พ.ศ. 2040 พระมหาราชเทวีเป็นเจ้า ได้แต่งตั้งข้าพระไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระพุทธรูป ณ วัดแก้วหลาด |
ชม. 4 จารึกวัดแก้วหลาด, ชม. 4 จารึกวัดแก้วหลาด, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามภาษาไทย จ.ศ. 859, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามภาษาไทย จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, พุทธศักราช 859, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, พันรักสา, เจ้าพวกต้องแต้มญานคงคำ, พระมหาราชเทวีเป็นเจ้า, ช่างดาบเรือน, ชาวหนอย, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าขุน, พระเป็นเจ้า, คำพลอย, ควาญช้าง, ข้าหมื่นดง, เฒ่า, ปากรัตนาเรือน, เจ้าวัดแก้วหลาด, มหาเถรเจ้าญาณรังสี, แสเขาพัน, ห้าสิบนารอด, ข้าพระ, พุทธศาสนา, วัดแก้วหลาด, ฝังจารึก, ขัตตฤกษ์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีพิจิก, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีมะเส็ง, วันเมิงไส้, วันเปลิกสง้า, วันเปิกสง้า, ครัว, พระพุทธรูป, อาชญา, บุญ, ปีระวายสี, ออก, วันไทยเมิงไก๊, เม็ง, มอญ, วันเปิกซง้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2040 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1430?lang=th |
22 |
จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นใหม่) |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2226 พระมหาเกสารปัญโญเจ้าทรงเป็นประธานพร้อมด้วยศิษยานุศิษย์ทั้งหลายได้นิมนต์พระสงฆ์มาร่วมพิธีสร้างแปลงวัดเสลารัตนปัพพตาราม |
จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นใหม่), ลป. 23 (แผ่นใหม่) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23 (แผ่นใหม่) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23, ลป. 23, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, วัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, พระสงฆ์, นักบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2226, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเจพูตราย, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเสลารัตนปัพพตาราม ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-พระมหาเกสารปัญโญเจ้า |
ขื่อวิหารวัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2226 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16030?lang=th |
23 |
จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นเก่า) |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2226 พระมหาเกสารปัญโญเจ้าทรงเป็นประธานพร้อมด้วยศิษยานุศิษย์ทั้งหลายได้นิมนต์พระสงฆ์มาร่วมพิธีสร้างแปลงวัดเสลารัตนปัพพตาราม |
จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นเก่า), ลป. 23 (แผ่นเก่า) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23 (แผ่นเก่า) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23, ลป. 23, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, วัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, พระสงฆ์, นักบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2226, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเจพูตราย, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเสลารัตนปัพพตาราม ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-พระมหาเกสารปัญโญเจ้า |
ขื่อวิหารวัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 26 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2226 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16023?lang=th |
24 |
จารึกวัดเวฬุวันอาราม |
ฝักขาม |
เป็นการเล่าเรื่องการสร้างวัดเวฬุวัน ของพันยี่ ได้อาราธนาชาวเจ้าสงฆ์ทั้งหลาย เช่น พระครูเจ้าจุฬาภัยเถรเจ้า ให้มาในอาราม (เวฬุวัน) กล่าวถึง มหาราช มหาเทวี ผู้เป็นเจ้าแผ่นดิน ถวายกุศลในการสร้างวัดแด่มหาเทวี ณ ข่วงพระมหาธาตุฯ ต่อหน้าชาวเจ้าสงฆ์ทั้งหลายมีพระมหาสามีญาณโพธิ แห่งป่าแดงหลวง และพระมหาเถรสวรศรี วัดมหาโพธิ์ พระมหาเถรสุริยะ วัดเชียงโฉม พระญาณมงคลพุกาม วัดสีเสียด และพระมหาเถรโมลี (เมาฬี) พุกาม มีการให้ฝังจารึกไว้กับอารามนี้ (วัดเวฬุวัน) แล้วห้ามมิให้ผู้ใดมาทำการเบียดเบียน เพื่อจะให้อารามนี้มั่นต่อศาสนา 5,000 ปี กล่าวถึงผู้ที่ดำเนินการฝังจารึก คือ เจ้าล่าม หมื่นสุวรรณ เจ้าหมื่นน้อยคำได้กล่าวถึง สมเด็จบพิตรพระสวัสดิศรีธรรมจักรวรรดิ์มหาราช กับ พระราชมาตามหาเทวีแม่ลูกทั้งสอง หลักฐานที่ได้จากจารึกหลักนี้ ยืนยันถึงสถานที่เดิมซึ่งศิลาจารึกหลักนี้ปักอยู่คือ วัดเวฬุวัน ปัจจุบันนี้ได้แก่ วัดกู่เต้า ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่นั่นเอง และบรรดาวัดอื่นๆ ที่อ้างถึง พร้อมด้วยพระภิกษุทั้งหลายนั้น น่าจะเป็นเรื่องที่อยู่ในเขตของจังหวัดเชียงใหม่อีกด้วย สำหรับพระนามของกษัตริย์และพระราชมาตามหาเทวีนั้น ควรเป็น พระเมืองแก้วกับพระราชมารดาของพระองค์ |
จารึกวัดเวฬุวันอาราม, ลพ. 18, ลพ./18, พช. 30, 352, ลพ. 18, ลพ./18, พช. 30, 352, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, หินทรายสีน้ำตาลออกเหลือง, รูปใบเสมา, วัดสันมะค่า, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พันญีเชากลุน, ชาวเจ้า, สงฆ์, พระครูเจ้า, จุฬาไพยเถรเจ้า, มหาเทวีเจ้า, มหาสามีญาณโพธิ, มหาเถรสวรศรี, มหาเถรสุริยะ, มหาญาณมงคลพุกาม, มหาราชเมาลีพุกาม, เถรานุเถร, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าขุน, เจ้าล่ามหมื่นสุวรรณ, เจ้าหมื่นน้อยคำ, พระภิกษุ, พระพุทธเป็นเจ้า, สมเด็จบพิตรพระสวัสดิศรีธรรมจักวัตตินมหาราชเจ้า, ราชมาตามหาเทวี, มหามัตตะผู้ใหญ่, มหาอำมาตย์ผู้ใหญ่, เจ้าหมื่นหนังสือติกผญา, ป่าแดง, พุทธศาสนา, เวฬุวันอาราม, พระมหาธาตุเจ้า, วัดมหาโพธิ, วัดเชียงโฉม, สร้างอาราม, อารามสีเสียด, ปีเปลิกสัน, เดือนเจียง, ออก, รวงเม็ด, เม็ง, วันพุธ, บุญ, จาริด, จารีต, ครัว, ปีเปิกสัน, ปีเถาะ, ปีเมิงเม้า, ปีเมิงเหม้า, เดือนห้า, เปลิกสี, เปิกสี, พฤหัสบดี, สัสถาวิสล พรไตรรัตนเจ้า, อาณา, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2050, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย, บุคคล-พันยี่, บุคคล-พระครูเจ้าจุฬาภัยเถรเจ้า, พระมหาเถรโมฬี พุกาม, บุคคล-เจ้าล่าม, บุคคล-หมื่นสุวรรณ, บุคคล-เจ้าหมื่นน้อยคำ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2050 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2061?lang=th |
25 |
จารึกวัดเมืองพง (วัดพระเกิด) |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2043 พระมหาราชเทวีผู้เป็นพระราชมารดา ได้มีพระราชดำรัสให้เจ้าพนักงานทำการฝังพระสีมา ณ วัดพระเกิด ทั้งนี้มีการถวายนาและข้าพระแด่วัดด้วย |
จารึกวัดเมืองพง (วัดพระเกิด), นน. 2, นน. 2, หลักที่ 72 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ จังหวัดน่าน, หลักที่ 72 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ จังหวัดน่าน, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินชนวน, รูปใบเสมา, วัดเมืองพระ, วัดพงษ์, อำเภอสันติสุข, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาราชเทวีเจ้า, เจ้าหน่วย, เจ้าพวกข้าคน, เจ้าพวกมงคล, หมื่นซ้ายเถา, ผ้าขาวเพิง, อ้ายคำ, หมื่นซ้ายยอด, แม่มิ่ง, หมื่นซ้ายเพก, แม่สิมวาง, กัลยา, พ่อเพ็ง, พ่อไข, นางพิม, มงคล, มหาสามีญานะสูธระเจ้า, ซ้ายสุวัน, นางบูน, ชาวกลอง, เจ้าแคว้น, ข้าวพระ, จามร, หนบางนา, นาพระ, นาจังหัน, พุทธศาสนา, ฝังสีมา, ฝังเสมา, ถวายที่ดิน, ถวายนา, ถวายข้าพระ, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกรกฏ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีมีน, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีเมถุน, ปีกดสัน, พุทธศาสน์, เพ็ง, เพ็ญ, วันพุธ, วันเมิงเหม้า, วันเมิงเม้า, ครัว, ทาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฝังสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-ท้าวบุญแฝง, บุคคล-ท้าวบุญแฝง, บุคคล-พระมหาราชเทวี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2043 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1534?lang=th |
26 |
จารึกวัดเชียงสา |
ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2096 สมเด็จพระบรมบพิตรองค์เสวยราชย์ทั้ง 2 แผ่นดินล้านช้าง-ล้านนา ได้ถวายที่ดินและข้าวัดแด่วัดเชียงสา ที่ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขง |
ชม. 7 จารึกกษัตริย์ล้านช้างล้านนา, ชม. 7 จารึกกษัตริย์ล้านช้างล้านนา, ชม. 7 จารึกวัดเชียงสา พ.ศ. 2096, ชม. 7 จารึกวัดเชียงสา พ.ศ. 2096, 1.4.1.1 วัดเชียงสา พ.ศ. 2097, 1.4.1.1 วัดเชียงสา พ.ศ. 2097, พุทธสถานเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2096, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-มหาสามีญาณคัมภีระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2096 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13074?lang=th |
27 |
จารึกวัดเชียงราย |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2039 สมเด็จพระศรีธรรมมหาบรมจักรวรรดิ์ ธรรมมิกราชาธิราช ได้อุทิศที่นา และข้าพระจำนวนมากแก่วัดบ้านด่าน ทั้งได้มีบัญชาให้บรรดาขุนนางนำจารึกมาฝังไว้เพื่อประกาศห้ามและสาปแช่งผู้ที่มาเบียดบังทรัพย์สินของวัด ข้อความจารึกด้านที่ 2 เป็นรายนามข้าทาสที่อุทิศแก่วัด |
ลป. 6 จารึกวัดบ้านด่าน พ.ศ. 2039, ลป. 6 จารึกวัดบ้านด่าน พ.ศ. 2039, จารึกวัดเชียงราย, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามและภาษาไทย, ลป. 6, ลป. 6, ลป/พิเศษ 1, ลป/พิเศษ 1, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, พุทธศักราช 858, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดลำปาง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จพระเป็นเจ้า, ศรีธรรมหาบรมจักรวรรดิ์, ธรรมมิกราชาธิราชบวรนเรนทรมนุญสกลโลกวิชัยตรีภูวนาวตังควรวงศ์, วิสุทธิมกตมณิภูตาธิบดี, พันนาเชียงดี, เจ้าแสนกัลยาณ, เจ้าหมื่นลานนา, โหราธิบดี, เจ้าพันหนังสือ, พระพุทธเจ้า, ฑิตนน, ทิตนน, ฑิตพุด, ทิดพุด, หน่อ, โมก, นางกอง, แก้ว, ทำรัด, คนเงิน, ชาวจัน, อ้ายชี, ญีละ, สิบขับ, อ้ายหาย, หล้าแดน, หง, ปูหล้า, ฑิตสัก, ทิดสัก, ปู่เหม, แก้ว, อ้ายหงวน, สินน้อย, ปู่เจด, อ้ายเหริง, สิบพาย, หน่อพิน, ญีน้อย, ลามส้อย, นางเพียง, นางก้อน, นางหลอย, สามวอก, ไสเหลือ, ฑิดเงิน, ทิดเงิน, เมืองศรีมังคล, เมืองศรีมงคล, เมืองศรีมังคล, พุทธศาสนา, วัดบ้านด่าน, อุทิศที่นา, อุทิศข้าพระ, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, ปีระวายสี, ออก, วันศุกร์, วันเปลิกยี, วันเปลิกยี่, พระศรีรัตนไตรเจ้า, พระศรีรัตนตรัยเจ้า, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีสิงห์, อบายทั้งสี่, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงราย ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-สมเด็จพระศรีธรรมมหาบรมจักรวรรดิ์ ธรรมมิกราชาธิราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดเชียงราย ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1960?lang=th |
28 |
จารึกวัดเชียงมั่น 2 |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า ปี พ.ศ. 2354 ซึ่งครบรอบ 15 ปีที่ตั้งเมืองมา ได้มีการสร้างพระพุทธรูปเสตังคมณีเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง |
ชม. 29 จารึกดวงเมือง, ชม. 29 จารึกดวงเมือง, จารึกวัดเชียงมั่น 2, ชม. 29 จารึกวัดเชียงมั่น 2 พ.ศ. 2354, ชม. 29 จารึกวัดเชียงมั่น 2 พ.ศ. 2345, ชม. 29, ชม. 29, วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2354, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การสร้างเมือง |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2354 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15766?lang=th |
29 |
จารึกวัดเชียงมั่น |
ฝักขาม |
กล่าวถึงประวัติการก่อสร้างวัดเชียงมั่น ตั้งแต่ พ.ศ. 1839 จนถึง พ.ศ. 2124 กล่าวคือ เมื่อ พ.ศ. 1839 พญามังรายเจ้า พญางำเมือง และพญาร่วงร่วมกันตั้งหอนอน ณ ราชมณเทียร ขุดคู ก่อกำแพงสามชั้น ทั้ง 4 ด้านและก่อพระเจดีย์ที่บ้านเชียงมั่น แล้วสร้างเป็นวัด ให้ชื่อว่าวัดเชียงมั่น ครั้นปี พ.ศ. 2014 พระดิลกราชเจ้า (พระเจ้าติโลกราช)ได้ทรงก่อพระเจดีย์ด้วยหินแลง, พ.ศ. 2101 สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้าทรงพระราชทานอ่างอาบเงิน และ พ.ศ. 2114 ได้ก่อเจดีย์คร่อมเจดีย์เดิมอีกครั้งหนึ่งมีการสร้างแปลงก่อเจดีย์วิหารอุโบสถ สร้างธรรมเสนาสนะ กำแพง ประตูจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2124 ได้มีการรวบรวมเงิน ที่ดิน และข้าพระจำนวนมากอุทิศแก่อารามแห่งนี้ |
จารึกวัดเชียงมั่น, ชม. 1, ชม. 1, หลักที่ 76 ศิลาจารึก วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่, หลักที่ 76 ศิลาจารึก วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่, ชม. 1 จารึกวัดเชียงมั่น พ.ศ. 2124, ชม. 1 จารึกวัดเชียงมั่น พ.ศ. 2124, พ.ศ. 1839, พุทธศักราช 1839, จ.ศ. 658, จุลศักราช 658, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, จ.ศ. 833, จุลศักราช 833, พ.ศ. 2101, พุทธศักราช 2101, จ.ศ. 920, จุลศักราช 920, พ.ศ. 2108, พุทธศักราช 2108, จ.ศ. 927, จุลศักราช 927, พ.ศ. 2114, พุทธศักราช 2114, จ.ศ. 933, จุลศักราช 933, พ.ศ. 2124, พุทธศักราช 2124, จ.ศ. 943, จุลศักราช 943, วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พญามังราย, พญางำเมือง, พญาร่วง, พระดิลกราชเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้า, พญาหลวง, พญาแสนหลวง, ตาคำ, ตาเงิน, พระวรโอรสาธิราชเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, มหามหินทาทิจจวังสมหาสมเด็จ, อธิบดี, ประธาน, ห้อง, เขต, หมื่นวัด, ขนานโทน, หนานโทน, พันโบสถธรรมบาล, ล่ามวัด, บุญวัง, คำพา, สาคร, บัวตรา, ญามงคล, หญิงช้อยช่างไหม, คำม้าว, อีช่างสน, นางเดียว, อีทุม, อีปอก, นางหมื่นน้อย, นางพันหรอกน้อย, หญิงหมู่เสน่ห์, สุตตา, อ้ายสัวย, อ้ายป้อม, ญีกอง, รัตมงคล, คำพ่อ, จอมผาง, หน่อคำ, เพกประหญา, บักเอา, หญิงอุ่น, ต่างครก, บุญมี, แมว, ทอน, อิน, เชียง, กวานแกว่ง, อุ่น, ลุน, เรือกลาง, ช่างเหล็กบุญ, ช่างพรมงคลยศ, ยอดครง, เพิบ, อ้ายนางเทียม, นางสังกา, บุญเกื้อ, บุญชนะ, จันทรา, เมียหน้าไม้, นางพวกหมอยาบาด, นางหมื่นวัดเก่า, ยอดคำ, วงปูกาง, อีคำ, ปาน, บะเหล็ก, อีฝ้าย, บะขวัน, บะเล็ม, บะคำ, อีนางพี, ตะญางมานข่ม, เฒ่าเมืองน้อย, เฒ่าเมืองแก้ว, นายหนังสือคลประหญา, พันน้อยหน่อคำ, พันน้อยหนา, ล่ามพันอุ่น, นายชาวคำมุน, นายชาวทน, นายชาวเรือง, นายชาวรัด, หมื่นหัวเสือ, พญาหลวงเจ้าหยาดน้ำ, ข้าคน, ลูกขุนชาวนา, หมื่นหัวเสือ, อุ่นเรือน, คะแก้วน้อย, พ่อสุด, ปู่งัว, แม่ฉาง, พ่อโตว, ชูมล่ามหมื่นแก้ว, ชูมพันขวาท้าวน้อย, ชูมญาวิเชียรแม่สา, ชูมแก้วน้อยหนองชอม, ลาวนาหอเลียบ, ชูมจ่า, ชูมต่างใจบ้านบ่อ, ชูมพันแสน, ชูมพวกนา, ชูมความเหมียง, ชูมยีผาน้อย, ชูมหมื่นต่างญางอ้อย, ชูมนางข่มมา, นางหมื่นฟ้อนเชียงดาว, นางหมื่นล่ามพราน, ข้าพระคำ, นางหมื่นอวน, อีคำพี่, อีคำน้อง, อายหลวง, ลุนเรือน, พ่อคำเรือน, พระเจ้ามนดกไหม่จัน, แก้ว, หินแลง, อ่างอาบเงิน, จังโก, จังโก๋, หอนอน, บ้านเชียงมั่น, ชัยภูมิราชมณเทียร, เมืองเชียงใหม่, ขัณฑสีมา, บ้านสวนหมากหน้าวัด, บ้านแสนสอง, พันนาอีมอ, เมืองพิงเชียงใหม่, วิหารเชียงมั่น, คือ, คู, กำแพงสามชั้น, พุทธศาสนา, เจดีย์, วิหาร, อุโบสถ, ปีฎกฆระ, ธรรมเสนาสนะ, กำแพง, ประตูขรง, อาราม, เรือนปิฎก, หอไตร, ให้ทาน, ก่อกำแพง, ก่อตรีบูร, ก่อพระเจดีย์, สร้างวัด, สร้างแปลง, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2124, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญามังราย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา-พ่อขุนงำเมือง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-พญามังราย, บุคคล-พ่อขุนงำเมือง, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1424?lang=th |
30 |
จารึกวัดเกตการาม |
ฝักขาม |
กล่าวถึงพิธีฉลองพระเกสธาตุเจดีย์ (หรือ พระเกศธาตุเจดีย์) ตามด้วยรายนามข้าพระและครอบครัว ที่ถวายแก่อาราม |
ชม. 15 จารึกวัดเกตการาม พ.ศ. 2124, ชม. 15 จารึกวัดเกตการาม พ.ศ. 2124, จารึกวัดเกตการาม, ชม. 15, ชม. 15, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2121, พุทธศักราช 2121, พ.ศ. 2121, พุทธศักราช 2121, จ.ศ. 940, จุลศักราช 940, จ.ศ. 940, จุลศักราช 940, พ.ศ. 2124, พุทธศักราช 2124, พ.ศ. 2124, พุทธศักราช 2124, จ.ศ. 943, จุลศักราช 943, จ.ศ. 943, จุลศักราช 943, หินทรายสีแดง, วัดเกตการาม, ตำบลวัดเกต, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระราชครู, มหาธรรมิกราชเจ้าฟ้า, เจ้าฟ้าเมือง, หมื่นกาง, หมื่นวัดพระดาน, ยีคำน้อย, นางหมื่นใน, ตางาม, แก้วภา, พรอยพิหาร, รักษา, นายร้อยคำสุก, บุญมาโบสถ, ขหนาน, หญ้า, ชาลิหัวหนอง, ล่ามหมื่น, ยี่คำ, แก้วชายหนอง, ล่ามวัดพัน, ล่ามวัดแก้ว, เมืองต่าง, เมืองลูก, อ้ายเจา, อ้ายชิบ, อ้ายทอง, อ้ายเชียง, อ้ายบุญ, แม่ปอง, เจ้าละ, อ้ายเหล็ก, พ่อหมอคำ, พ่อคุ้ง, ชาวต่างใจ, สิบคูน, อาจารย์, อ้ายเหินคำ, อ้ายจันทร์, พ่อเฒ่า, กองบนวัง, อ้ายแก้ว, พูถวาย, อ้ายหล้า, กวานร้า, อ้ายเค้า, ประกาน, พ่อบุญ, ล่ามลำมัก, เจ้าลูก, นางหมื่นคร่าว, นางกวานนาวังครัว, แม่ท้าวครัว, แม่ล้ม, พันน้อย, อ้ายชวด, นางลองพัว, กวานคำช้อย, อ้ายกุน, อ้ายสุม, นางกวานรูด, แม่ติวล อ้ายกัณหา, อ้ายจันทร์, อ้ายเนียม, นางคำ, นางหุน, นางพัน, อ้ายหล้า, พ่อหมู่, น้าเชิน, แก้วหา, พ่อเหียง, พ่อหงำ, อ้ายเรือน, ชุมขวาไฟ, อ้ายเชียง, พ่อสุก, นางถวิล, นางปิว, นางบุญ, ชุมบาน, แสนเขา, พันน้อยเวียก, นางจันทร์, นางเอิย, แม่ยวง, ตาบน, สิดรอง, ลำช่างไม้, แม่คำมี, ปู่นำจักเข้, เชริงยา, หมื่นพี, พี่บุญ, เจ้าบุญ, พ่อแจ่มพ่อน้อย, องค์หมึก, ลวงแปร, ห้องชาวนา, ชุมอยู่ฝ่ายกะบี, นาหลังเก่า, ชุมบ้านชาวเครื่อง, ชุมร้องพวกสา, ชุมบ้านคุ้มพ่อดำชุมบ้านอาดแพนสดแม่, พุทธศาสนา, พระเกสธาตุเจดีย์, พระเกศธาตุเจดีย์, พระธาตุ, พระเจดีย์, อาราม, ฉลองพระเจดีย์, ฉลองเจดีย์, ปีเปลิกยี, ปีรวงไส, ไทยกาเร้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2124, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเกตการาม เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระธาตุ |
หน้ามุขข้างวิหาร วัดเกตการาม ตำบลวัดเกต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1455?lang=th |
31 |
จารึกวัดอุทุมพรอาราม |
ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2045 สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีเจ้าได้ให้น้องพระเป็นเจ้า เจ้าพวกญานะคงคาต้องแต้ม และเจ้าพันเชาพุดร่วมกันประดิษฐานศิลาจารึกเพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ถวายวัดอุทุมพร ห้ามมิให้ผู้ใดนำไปใช้ในงานอื่น |
ชม. 175 จารึกวัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, ชม. 175 จารึกวัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, ชม. 175, ชม. 175, 1.4.1.1 วัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, 1.4.1.1 วัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พุทธศักราช 2045, จุลศักราช 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จ.ศ. 864, ปูนหล่อ, เศษชิ้นส่วน, สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, เจ้าพวกญาณะคงคาต้องแต้ม, เจ้าพันเชาพุด, นายไส, เจ้าสิบคำดาบเริน, เจ้าพันนาหลังญาณะวิสารอด, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนปูนหล่อ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2045 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15675?lang=th |
32 |
จารึกวัดอารามป่าญะ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2038 ณ วัดอารามป่าญะ อันเจ้าเหนือหัวปู่หม่อนพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองแม่ใน (หมายถึง พระเจ้าสามฝั่งแกน) ให้สร้างไว้ สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองพิงจึงใด้ให้คนนำพระราชโองการมามอบแก่พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพยาว ให้พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพยาวพิจารณามอบหมายข้าพระจำนวนมากไว้ดูแลวัดและพระสงฆ์ โดยประกาศรายชื่อข้าพระเหล่านั้นไว้ในศิลาจารึก |
จารึกวัดอารามป่าญะ, พย. 7, พย. 7, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, หลักที่ 103 ศิลาจารึกวัดศรีโคมคำ, หลักที่ 103 ศิลาจารึกวัดศรีโคมคำ, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, ม.ศ. 857, มหาศักราช 857, ม.ศ. 857, มหาศักราช 857, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดป่าญะ, อารามป่าญะ, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์, พรหม, ท้าวจตุโลกบาล, เจ้าเหนือหัวปู่หม่อนพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองแม่ใน, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้าเจ้าเมืองพิง, นางเถ้าแก่หน้าโรง, พระราชครู, พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพยาว, พระเป็นเจ้าเจ้าสี่หมื่นพะเยา, ครูพระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือนนต่างเมือง, เจ้าล่ามดาบน้อยพระเป็นเจ้า, ข้าพระ, โมคคลีบุตร, ญาค่า, ป้าเอื้อย, พี่เอื้อย, สินปี, ใสหล้า, สีวัง, ปู่เงิน, ปู่ปี, พระพุทะเจ้า, มหาสังฆราชาเจ้าวัดหลวง, อ้ายขอ, พระเจ้าสามฝั่งแกน, มหาเถรเจ้าสีหลไถยตุลปัญโญ, มหาเจ้าธรรมเสนา, เจ้าไท, นางข่ายหน้าโรงหนึ่งหมื่นนาหลังเทพ, นายร้อยมงคล, ลูกโระหนึ่ง, พันหนังสือสีทาด, พันหนังสือเมือง, หมอทิดน้อยยาแก้, พันเขาหริแหนน, พันเขาหริแน่น, นานคำหล้าแขก, นายคำหลาแขก, เจ้าขุน, ปู่แก้ว, คำหมอ, ปู่รัด, พระเป็นเจ้าเจ้าเมืองพิง, เจ้าล่ามยี่ดาบน้อย, นางหน้าโรง, อธิบดี, สมณพราหมณ์, พระภิกษุ, หมาก, จารึกหิน, เบ้, เบี้ย, สวนหงส์, บ้านพลาว, บ้านพลาง, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, หูรา, วันศุกร์, วันรวงเหม้า, ดิถี, เชษฐะ, เชษถะ, เชษฎา, วัดอารามป่าญะ, อาราม, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีสิงห์, พระจันทร์, ราศีพิจิก, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีมังกร, ปีดับเหม้า, พระราชโองการ, อาณาบุญ, ครัว, กดหมาย, นิยาม, อุปัฏฐาก, พุทธรังสีทหูราชา, เม็ง, มอญ, โกฐาสบุญ, ชาติ, นฤพาน, นิพพาน, เนียรพาน, เทพดา, อนันจักรวาล, ส่วนบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ระชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาสามฝั่งแกน, บุคคล-พญาสามฝั่งแกน, บุคคล-เจ้าเมืองพิง, บุคคล-เจ้าสี่หมื่นพยาว, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2038 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1571?lang=th |
33 |
จารึกวัดหลวง (เชียงราย) |
ฝักขาม |
ใน พ.ศ. 2065 มีการถวายข้าพระ เงิน และสิ่งของจำนวนมากแก่วัดหลวง |
พย. 14 จารึกวัดหลวง พ.ศ. 2065, พย. 14 จารึกวัดหลวง พ.ศ. 2065, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมาหักชำรุด, วัดต้นหนุน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาสามีญาณโพธิ, เจ้าหมื่นเขม, อารามิก, พระพุทธเจ้า, มหาสังฆราชาพระศรีวรสังฆราชาพระเกิดเชียงราย, เจ้าขุน, สงฆ์, มหาแก้วพอตา, พระพุทธเจ้าวัดหลวง, พระเจ้าสวามีเจติยะหลวงเจ้า, ร้อยเปงญา, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้ารอดเชียงราย, ข้าพระ, ล่ามดาบ, เจ้าพัน, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, หล้า, หงสาคำฟอง, เอ้ยน้อย, เอื้อยน้อย, อี่น้อย, ไสเหิรา, ญาสี, น้ำมัน, ข้าวชื่อ, แคว้นดงเชียงราย, พุทธศาสนา, วัดมหาเจดีย์หลวง, วัดหลวงแสนข้าว, วัดหลวงบ้านเขม, ถวายข้าพระ, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, พระราหู, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีตุล, ลัคนา, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ปีมะแม, เต่าสง้า, เต่าซง้า, เดือนผลคุน, เดือนผาลคุนะ, วันปหัสปติ, วันพฤหัสบดี, วันกดยี, จันทร์กินฤกษ์, จันทร์เสวยฤกษ์, จิตระ, จิตรา, วันลงขนาน, หนเวียง, ครัว, อุปัฏฐาก, ทางในเมือง, ฝ่ายคามวาสี, บุญ, ศีลาทาน, พระทองสมริด, พระทองสำริด, พระทองสัมฤทธิ์, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2065 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1640?lang=th |
34 |
จารึกวัดหมื่นลอ |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกเป็นบัญชีรายชื่อที่นาที่เป็นของวัดหมื่นลอ |
จารึกวัดหมื่นลอ, พย. 59, พย. 59, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, หินทรายสีแดง, หลักสี่เหลี่ยมชำรุด, วัดหมื่นลอ, ตำบลท่าร้อง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนาชื่อ, นาวัดหมื่นลอ, นาพรอง, นาลมแลง, นาขี้กา, ไร่หลวง, นาผีตาย, นาปูรู, นาปู่รู, นาบู, นาอู, นาปลก, ผาง, ตะคัน, นาเรอกาว, นาแกดอ, นาเขือบ้า, นาถอน, นาทอง, นาแทงาลุ่ม, นารางหมู, นาหลักขาง, นาหลักช้าง, นามาดาย, นาดอนกลาง, นาดอนใต้, นาสี่พันเบ้, นาสี่พันเบี้ย, นาห้วยดอนทับ, นาบ้านออง, นาดอนไร่, นาจังหัน, นาท่อ, ริมหนอง, นาป่า, นาปง, พุทธศาสนา, วัดนาหองผาก, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศีมีน, พระอังคาร, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปรเมิงไส้, ข้าว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2040 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1837?lang=th |
35 |
จารึกวัดหนองหนาม |
ฝักขาม |
ก. กล่าวถึงพระราชเทวี ให้ทองสักโกอันเกลือกด้วยทองคำ เป็นจำนวน 100 บาท เฟื้องคำ เพื่อใส่ยอดพระธาตุเจดีย์เจ้าที่วัดข่วงชุมแก้ว เมืองควก พร้อมกับไว้คนอุปฐากพระเจ้า 10 ครัว |
จารึกวัดหนองหนาม, ลพ. 23, ลพ./23, พช. 37, 349, หลักที่ 68 ศิลาจารึกวัดหนองหนาม, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, จ.ศ. 851, จุลศักราช 851, จ.ศ. 851, จุลศักราช 851, หินแปรสีดำ, รูปใบเสมา, วัดหนองหนาม, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาราชเทวี, พระพุทธเจ้า, ศีลบาล, นายสอย, อีนางลูกเงินผง, อกลุน, ญีบุญ, ช่างดาบน้อย, สังฆรักษา, เมียคำช้อย, บุญเชียงจัน, สามปัน, พันจัน, อ้ายเทา, ศีลวา, เมียเถรชิบ, แม่มหาเถรมงคลพุทธิมาเจ้า, คโยม, อ้ายพญี, อ้ายกำ, มลานน้อย, ทองดำ, พระพุทธเจ้า, พระมหาพุกามเจ้า, มหาสามีศรีสุนันทกัลยาณราชบัณฑิต, พันนาหลังเชียงน้อย, แสนเขาสอย, ร้อยนาหลังล่ามหมื่น, ลำพันคำคอม, มหาญาณมงคลเจ้า, เจ้าภิกษุ, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, ทองคำ, ทองสักโก, ทองจังโก๋, ราชบัณฑิต, เมืองควก, พุทธศาสนา, พระเจติยเจ้า, วัดขวงชุมแก้ว, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, สร้างอาราม, ฝังจาริต, ฝังจารึก, ฝังจารีต, ผูกพัทธสีมา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพฤหัสบดี, พระเสาร์, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระพุธ, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีพิจิก, ปีกัดเรา, ปีกัดเร้า, เดือนมฤคศิร, เพ็ง, กัดไส้, ฤกษ์, บุญ, บาท, เฟื้อง, อุปัฏฐาก, ครัว, เพ็ง, วันเพ็ญ, ราศีกรกฎ, ราศีมังกร, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2032, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, วัตถุ-จารึกบนหินแปรสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระราชเทวี, บุคคล-พระเถรมงคลพุทธิมา, บุคคล-แม่ของพระเถรมงคลพุทธิมา, บุคคล-เจ้าแม่ไณ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2032 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2006?lang=th |
36 |
จารึกวัดหนองกวาง |
ฝักขาม |
เมื่อปี พ.ศ. 2009 เจ้าหมื่นมหาได้สร้างวัดหนองกวาง ทั้งยังได้ถวายที่ดิน และเงินแก่วัด ครั้นปี พ.ศ. 2056 เจ้าหมื่นคำฉางมาปกครองเมืองอ้อยนี้ ก็ได้ถวายที่ดินและเงินแก่วัดตามที่เจ้าหมื่นมหาได้เคยทำไว้ |
จารึกวัดหนองกวาง, พย. 1, พย. 1, หลักที่ 99 ศิลาจารึกวัดหนองกวาง, หลักที่ 99 ศิลาจารึกวัดหนองกวาง, คำอ่านศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, พ.ศ. 875, พุทธศักราช 875, พ.ศ. 2009, พุทธศักราช 2009, พ.ศ. 2009, พุทธศักราช 2009, จ.ศ. 824, จุลศักราช 824, พ.ศ. 824, พุทธศักราช 824, หินชนวนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดหนองกวาง (วัดร้าง), จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นมหา, เจ้าหมื่นสาม, เจ้าหมื่นคำฉาง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระเป็นเจ้า, มหาเถรเจ้าญาณโพธิ, ประธาน, เจ้าไท, สังฆราชเจ้าวัดหลวง, สังฆราชาเจ้าวัดอ้อย, มหาเถรเทพเจ้าศรีชูมมหาสามมีเจ้าหนองนัน, พันนาหลังเทพ, พันหนังสือพุด, เถ้าเมิงขวัญ, หมาก, เบ้, เบี้ยชื่อ, บ้าน, บ้านอ้อย, เมิงอ้อย, เมืองอ้อย, บ้านส้อม, บ้านญาเทพ, ทางหลวง, พุทธศาสนา, วัดหนองกวาง, สว้างวัด, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, ปกครองเมือง, หยาดน้ำ, กรวด น้ำ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีมีน, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระเกตุ, ราศีธนู, ลัคนา, ราศีมังกร, ปีระวายเส็ด, ปีรวายเส็ด, ออก, วันกดซง้า, วันกดสะง้า, เม็ง, นา, ปีกาเร้า, ปีกาเล้า, เดินยี่, เดือนยี่, ออก, วันเปิกยี, แผ่นดิน, บุญญะ, ทาน, ราศีพิจิก, ราศีเมถุน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2056, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดและศาสนสถาน, บุคคล-เจ้าหมื่ืนมหา, บุคคล-เจ้าหมื่นคำฉาง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), 2) ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2056 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1552?lang=th |
37 |
จารึกวัดสุวัณณาราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2060 บุคคลผู้หนึ่ง (จารึกชำรุด ไม่ทราบว่าเป็นใคร) ได้มีจิตศรัทธาทำบุญ ณ วัดสุวัณณาราม และวัดอื่นๆ ด้วยเงิน และทองคำจำนวนมาก |
จารึกวัดสุวัณณาราม, พย. 51, พย. 51, จารึกการบำเพ็ญบุญในวัดสุวรรณาราม, 1.5.1.1 วัดสุวรรณาราม พ.ศ. 2060 / ค.ศ. 1518, 1.5.1.1 วัดสุวรรณาราม พ.ศ. 2060 / ค.ศ. 1518, พ.ศ. 2060, พุทธศักราช 2060, พ.ศ. 2060, พุทธศักราช 2060, หินสีเทา, แผ่นจารึก, วัดร้าง, วัดลี, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เงิน, ทองคำชื่อ, บ้านป่าพร้าว, เมิง, เมือง, พระพุทธเจ้า, วัดสุวัณณาราม, กะทำบุญ, วงดวงชาตา, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีพิจิก, ปีฉลู, ปีเมิงเป้า, เดินผลคุน, เดือนผลคุน, เม็ง, มอญ, วันกาไก๊, นักขัตฤกษ์, หัสตะ, นักขัตฤกษ์, หรคุณ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2060, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2060 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1779?lang=th |
38 |
จารึกวัดศรีเกิด |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2032 มหาสามีสัทธรรมราชรัตนาเจ้าได้สร้างมหาเจดีย์และมหาวิหารในอารามวัดศรีเกิด แล้วอุทิศบุญกุศลแด่กษัตริย์แลพระมารดา พร้อมผูกสีมา สถาปนาศิลาจารึกเพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่อุทิศแก่พระอาราม |
มส. 1 จารึกเมืองปาย, มส. 1 จารึกวัดศรีเกิด พ.ศ. 2033, 1.1.1.1 อารามศรีเกิด พ.ศ. 2033, มส. 1 จารึกเมืองปาย, มส. 1 จารึกวัดศรีเกิด พ.ศ. 2033, 1.1.1.1 อารามศรีเกิด พ.ศ. 2033, มส. 1, ศิลาจารึกวัดศรีเกิด อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2032-2033, มส. 1 ศิลาจารึกวัดศรีเกิด อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2032-2033, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2032, พุทธศักราช 2032, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, วัดหนองบัว, อำเภอปาย, จังหวัดแม่ฮ่องสอน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีสัตธัมมราชรัตนเจ้า, มหาสามีสัตธรรมราชรัตนเจ้า, พระแม่ลูก, มหาเทวีเจ้า, ชาวอาราม, มหาสามีเจ้า, พระเมือง, คนทาน, เจ้าพันน้อย, ปู่เหม, บุดสังเทบ, บุดสังเทพ, พ่อน้อย, ธรรมจินดา, ขุน, พระพุทธเจ้า, เชียงบุน, อิน, นายคำดง, เจ้าเถรเทบ, เจ้าเถรเทพ, พันนาดง, พันนาหลัง, เฒ่าเมือง, เถ้าเมือง, พระเมืองเจ้าแผ่นดิน, พระสงฆ์, พุทธศาสนา, อารามศรีเกิด, พระมหาเจดีย์, สร้างมหาเจดีย์, สร้างมหาวิหาร, สร้างวิหาร, หล่อองค์พระ, ผูกอุโบสถ, ผูกสีมา, ผูกเสมา, ปีกดเสด, ปีกดเส็ด, อุปัฎฐาก, พระพุทธรูป, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ปีกัดเร้า, บุญ, อาชญา, ครัว, นิรย, นรก, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 11, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, บนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีเกิด แม่ฮ่องสอน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหารเรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-มหาสามีสัทธรรมราชรัตนาเจ้า |
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 ม.4 ตำบลแม่นาเติง อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน |
พุทธศักราช 2033 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12846?lang=th |
39 |
จารึกวัดศรีสุทธาวาส |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2045 เจ้าพันนาหลังญานะสารอดได้สร้างมหาวิหาร พร้อมทั้งได้ถวายข้าพระและสิ่งของจำนวนมาก |
ชร. 5 จารึกวัดศรีสุทธาวาส พ.ศ. 2045, ชร. 5 จารึกวัดศรีสุทธาวาส พ.ศ. 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, วัดศรีสุทธาวาส, อำเภอเวียงป่าเป้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา,เจ้าพันนาหลังญานะสารอด, ข้าพระ, แม่เจ้า, เจ้าเอ้ยกัลยา, เจ้าเอื้อยกัลยา, พ่อลอย, เพก, ล่ามลุน, บาไส, อ้ายหลวง, บาเงิน, คำกิง, นักบุญ, เจ้าจุมคำ, บุนแงน, ปู่แก้ว, นางหล้า, พันข้าว, อ้ายน้อยคางลาย, ล่ามแก้ว, ทิดน้อย, พระพุทธเจ้า, ล่ามยอง, พี่เอ้ย, พี่เอื้อย, มหาสามีเจ้า, ล่ามนน, พ่อหญัวเจ้า, เจ้าหมื่นพรานคำ, มหาเทวีเจ้า, ลานจิว, พระเป็นเจ้า, พันหลวง, แสนข้าวญานะกิตติ, แสนข้าวสินน้อย, แสนข้าวขุน, เจ้าพันแก้วพวกเรือ, เจ้าหัว, แสนข้าวคำ, แสนข้าวหูน, แสนข้าวสามี, แสนข้าวอิน, แสนข้าวศรีขัน, แสนข้าวกิง, วัว, โค, เกวียน, เงิน, ไม้สัก, พุทธศาสนา, มหาวิหาร, วัดคำเริง, วัดป่าแดง, วัดเชตวัน, วัดหลวง, สร้างมหาวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างวัด, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระราหู, ราศีเมษ, ปีเต่าเส็ด, พุทธศาสน์, วันอาทิตย์, วันเต่าไจ้, ผลคุน, ผลคุณ, ครัว, พระพุทธรูป, บ้าน, วันพุธ, เม็ง, มอญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จา่รึกบนหินสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีสุทธาวาส เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, บุคคล-เจ้าพันนาหลังญานะสารอด, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีสุทธาวาส ตำบลสันสลี อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2045 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1438?lang=th |
40 |
จารึกวัดศรีบุญเรือง (เชียงใหม่) |
ฝักขาม |
กล่าวถึงการทำบุญ ณ วัดศรีบุญเรือง โดยการประดิษฐานพระพุทธรูป ถวายนา และถวายข้าพระ |
ชม. 16 จารึกวัดศรีบุญเรือง, ชม. 16 จารึกวัดศรีบุญเรือง, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย จ.ศ. 858, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย จ.ศ. 858, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, พ.ศ. 2003, พุทธศักราช 2003, พ.ศ. 2003, พุทธศักราช 2003, จ.ศ. 822, จุลศักราช 822, จ.ศ. 822, จุลศักราช 822, หินทรายสีเทา, วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร, ตำบลบ้านหลวง, อำเภอจอมทอง, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีญาณวิลาศ, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้าสังฆ, พระภิกษุ, สืบญาณวัน, เฒ่าจง, คนหลวง, นางบุญ, ชายอกเทียน, อีทอง, ญาณเกวียน, หมื่นญาณเทวา, นักบุญ, พันน้อยปัญญา, ไขสาน, ข้าขนาด, ข้าราชทาน, เอ็ดทา, อ้ายสิน, พระมหาสามีเจ้า, ไอ้ขวา, ข้าสามหมื่น, เอินน้อย, อารามิก, พวกญาณคำแหงล หมื่นวัวห้าเกวียน, หมื่นขวา, หมื่นซ้าย, แสนเข้าแจ่ม, หมื่นเข้าส้อย, หมื่อนเข้าเหม, หมื่นเข้าสวน, ปัญญาเข้าฝูง, ทอง, ข้าวบูชาพระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, วัดศรีบุญเรือง, ถวายพระพุทธรูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, ถวายนา, ถวายที่นา, ถวายข้าพระ, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีสิงห์, ปีระวายสี, ออก, วันระวายไจ้, เม็ง, มอญ, วันอาทิตย์, ปุษยนักษัตร, พระพุทธรูป, ครัว, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป |
ด้านซ้ายของประตูพระวิหาร วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1493?lang=th |
41 |
จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก) |
ฝักขาม |
จารึกหลักนี้ได้กล่าวถึงเรื่อง |
จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก), ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดวิสุทธาราม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จมหาสวามีศรีวิมลโพธิญาณเจ้า, อธิบดี, มหาเถรชยบาลรัตนปัญญา, มหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระเป็นเจ้า, มหาสวามีเจ้า, พวกญารัดดาบเรือน, แสนญาณ, ญาติมหาเถรสินประหยาเจ้า, ญาติมหาเถรสินปัญญาเจ้า, เจ้าแสน, เจ้าพันต่างเมิงมงคล, เจ้าพันต่างเมืองมงคล, ปากสิงขุนหมื่นเมิง, พันหนังสือทา, เจ้าแสนหน้า, ชาวทิตน้อย, ชาวทิดน้อย, พวกญาดาบเรือน, มหาเถรเจ้า, ลูกศิษย์, มหาเถรชมหนาน, หมื่นนาหลังแทนคำ, ปากเทพ, ขบคราว, กลอง, พันเชิงสมณะ, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันหนังสือสาคอน, นางหลาเม้, นางแพง, สุวรรณ, สู, นางคำพัน, นางแก้ว, บุญมาสูแก้ว, ขุนครัว, นางเพิงเม้, เอื้อยบุญ, อีแม่, อีคำบุญ, สีกุน, สีลา, ญาอี, นางแพง, หมอ, น้อย, ยี, เอีย, บุนหนำ, หลอย, เกิง, เม้กอง, ปู่เสียง, นางผิง, เม้นางลัวะ, นางโหะ, หลานจูลา, สูโหะคำพา, ออน, นางเอียเม้, นางอีแม่, นางอุ่น, พี่อ่อน, อีน้อง, ญาพาน, ไอ้, อุ่น, ประหญา, ประหยา, สามพอม, นางพอม, นางอามเม้, นางบุญสม, นางคำสุก, อีหลา, แก้วมหา, ทิดญา, นางเพิง, บุญ, สินแพง, นางบุญมี, นางอุ่น, ทอง, นางช้อยเม้ขวัญ, อ้อย, ช้อย, นางกาน, นางนิรัตนะ, นางอ่ำ, นางม้อย, เม้เอื้อย, กอน, นางไอ, นางอัว, นางสิน, ญาเทพชา, นางพริ้ง, วอน, ญอด, ซอ, เอื้อยชาย, แก้วเตา, บาเกา, เถรสินประหญา, มหาเถรเจ้า, เงิน, ป่าแดงหลวง, พุทธศาสนา, วัดวิสุทธาราม, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, กินเมิง, กินเมือง, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ลัคนา, พระราหู, ราศีมังกร, ปีขาล, ปีรวายญี่, ปีระวายยี, เดินเจียง, เดือนเจียง, วันรวงเปล้า, วันรวงเป้า, เม็ง, วันอาทิตย์, ฤกษ์, สมณะพราหมณ์, ปิฎก, ครัว, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พุทธรักษา, มอญ, สมณฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2049, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระมหาสวามีศรีมงคลโพธิญาณเจ้า, บุคคล-มหาเถรชัยบาลรัตนปัญญา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2049 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2003?lang=th |
42 |
จารึกวัดวิสุทธาราม |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2035 ลุงพระเป็นเจ้าเมิงเชียงราย (ลุงของพระเจ้ายอดเชียงราย) กับเจ้าพันเค้าเมิงพ่อน้อย ได้ให้คนมาฝังศิลาจารึกไว้ที่วัดวิสุทธอาราม |
จารึกวัดวิสุทธาราม, จารึกวัดวิสุทธอาราม, พย. 4, พย.4, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, จ.ศ. 854, จุลศักราช 854, จ.ศ. 854, จุลศักราช 854, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ชำรุด, วัดร้าง, โรงเรียนวัดห้วยปง, ตำบลแม่ปืน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ลุงพระเป็นเจ้าเมิงเชียงราย, ลุงพระเป็นเจ้าเมืองเชียงราย, เจ้าพันเค้าเมิงพ่อน้อย, เจ้าพันเค้าเมืองพ่อน้อย, ลุงของพระเจ้ายอดเชียงราย, เจ้าหมื่นนาหลังศรีพัด, เถ้าเมิงตอม, เฒ่าเมิงตอม, เถ้าเมืองตอม, เฒ่าเมืองตอม, นายคราว, ล่ามปากนาเรินเหนือ, ชาวเจ้าสังฆเถร, พระภิกษุ, สังฆราชาเจ้า, เจ้าวัด, มหาสามีบ้านสิก, มหาสามีเทพตน, เจ้ากูสังฆะ, พระสงฆ์, ลุงพระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือ, คนสิกใหม่, คนสึกใหม่, ลำหอก, ทหารหอก, เจ้าแคว้นชื่อ, ข่อยสุม, ดงข่อย, พุทธศาสนา, วัด, ฝังศิลาจารึก, ฝังจารึก, ฝังหินจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระจันทร์, ราศีพิจิก, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีกรกฎ, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, นิพพาน, ปีเต่าไจ้, เดินยี่, เดือนยี่, วันกาบไจ้, เม็ง, วันศุกร์, มอญ, ตะวันเที่ยง, ปุษยฤกษ์, กดหมาย, วันกาบไจ้, ดาวปุยฝ้าย, ราศีเมษ, ราศีมีน, ราศีกุมภ์, ราศีพฤษภ, ราศีพิจิก, อาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2035, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าพันเค้าเมิงพ่อน้อย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2035 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1560?lang=th |
43 |
จารึกวัดยางหนุ่ม |
ฝักขาม |
จารึกกล่าวถึงการทำบุญด้วยการถวายที่นาและข้าพระของเจ้าแม่ไณ ตลอดจนการถวายเงินของมหาเทวีเจ้าองค์ย่า เมื่อ พ.ศ. 2065 ตอนท้ายมีการสาปแช่งใครก็ตามที่มาเบียดเบียนไม่ว่าจะเป็นที่นาหรือข้าพระให้ตกนรกอเวจี |
ชม. 26 จารึกวัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2065, ชม. 26 จารึกวัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2065, ชม. 26, ชม. 26, 1.2.1.1 วัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2066, 1.2.1.1 วัดยางหนุ่ม พ.ศ. 2066, พุทธศักราช 2065, พุทธศักราช 2065, จุลศักราช 884, จุลศักราช 884, จ.ศ. 884, จ.ศ. 884, รูปใบเสมา, พระเป็นเจ้าเจ้าแม่ไณ, พระมหาเทวีเจ้าตนย่า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าแม่ไณ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ, ไม่มีที่อยู่ปัจจุบัน |
ไม่พบ (ข้อมูลเดิม อยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2065 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15704?lang=th |
44 |
จารึกวัดมหาโพธิ |
ฝักขาม |
จารึกหลักนี้กล่าวถึงพระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว ให้ฝังจารึกไว้ ณ วัดมหาโพธิ ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงสิ่งของและข้าพระ พ.ศ. 2043 นี้ เป็นรัชกาลของพระเมืองแก้วแล้ว เพราะพระบิดาของพระองค์ คือ พระเจ้ายอดเชียงราย ทรงสละราชสมบัติให้โอรสครอง แต่ปี พ.ศ. 2039 ดังนั้น พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัวในที่นี้ ก็คือ พระราชมารดาของพระเมืองแก้วนั่นเอง แต่วัดมหาโพธินั้นมีปัญหาอยู่เหตุที่ศิลาจารึกนี้พบที่จังหวัดเชียงราย หากพบที่จังหวัดเชียงใหม่แล้ว วัดมหาโพธิ ก็น่าจะได้แก่วัดเจดีย์ 7 ยอด อันเป็นสถานที่ทำสังคาย ครั้งที่ 8 ในแผ่นดินพระเจ้าติโลกราชนั่นเอง เพราะเจ้าอาวาสผู้ครองวัดนี้ยังมีนามว่า พระโพธิรังษี ผู้แต่งจามเทวีวงศ์และสิหิงคนิทานเป็นภาษาบาลี |
จารึกวัดมหาโพธิ, ลพ. 26, ลพ./26, พช. 5, 334, ลพ. 26, ลพ./26, พช. 5, 334, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, ชาวนา, ชางญาง, ชยญาณโรจิ, ปัญญา, ขุน, หน่อแก้ว, เอื้อยบุญ, หมื่นน้อยคำ, ทิดยอด, อ้ายขุน, โคด, อั้ว, อ้ายพง, อ้ายน้อย, ไสลุน, ญา, รังสี, กำเพียน, อ้ายมูน, สร้อยคำ, สามแสง, นารอด, ไสหลา, ไสมุย, มหาบาน, ยี่สุ่น, อ้ายใจ, อ้ายมาย, ยีเทด, อินเกา, ทิดยศ, ญารังสี, พ่อกอน, ขีนษุด, อ้ายแก้ว, บาง, เม้ย, ทิดบุญ, เชียงงัว, ไอ้เม้นาหลัง, นางสา, สิก, กลพัด, อ้ายกิง, ไสเลง, ยีกง, ขุนข้อย, แก่เขา เจ้าหมื่นแก้วดาบเรือน, พวกญาณะคงคาต้องแต้ม, สวรสีต้องแต้ม, พระเจ้า, หมื่นน้อยคำ, พระเป็นเจ้า, มงคลดาบเรือน, เจ้าเมืองเชียงรายคำลาน, หมื่นขวาญาณะคงคาเชียงรุ้ง, หมื่นน้ำหัวสุก, หมื่นนาหลัง, จุลา, เฒ่าเมืองคำเรือง, เฒ่าเมิง, เถ้าเมือง, เผิ้ง, ผึ้ง, น้ำมัน, นารัง, พุทธศาสนา, ฝังจารึก, ปีกดสัน, ฤกษ์, จิตระ, วันเปลิกสง้า, เม็ง, วันศุกร์, ครัว, การเมือง, เง่า, เหง้า, ประธาน, หัวหน้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 18 ฉบับที่ 4 (พฤศจิกายน 2517) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2043 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2043?lang=th |
45 |
จารึกวัดมหาวัน (พะเยา) |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489 นายแกเด็กญอยได้กราบทูลถวายวัดมหาวัน ณ เมืองอ้อยแด่มหาเทวี มหาเทวีรับสั่งให้ถวายนาและคนแด่วัดมหาวัน นอกจากนั้น เจ้าหมื่นทอง ณ เมืองอ้อย ยังได้ถวายบ้านและป่าแด่วัดมหาวันด้วย |
ชม. 67 วัดมหาวัน (พะเยา) พ.ศ. 2031, ชม. 67 วัดมหาวัน (พะเยา) พ.ศ. 2031, ชม. 67 วัดมหาวัน, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489, ชม. 67 วัดมหาวัน, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489, จารึกวัดมหาวัน (พะเยา), ชม. 67, ชม. 67, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 1489, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2031/ค.ศ. 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, แผ่นหิน, สีเทา, รูปใบเสมา, วัดสันโป่ง, ตำบลแม่เย็น, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เทวดา, อินทร์, พรหม, นายแกเด็กญอย, มหาเถรบุญญะ, เจ้าหมื่นน้อย, ดาบลีไกร, พันต่างเมือง, พ่อน้อย, มหาเถรเจ้า, มหาเถรบุญญะ, ชาย, แม่หม้าย, ช่างโสม, ช่างทอง, ทิดหลาน, ญาณมงคล, แม่ปอน, ย่าอัง, เจ้าหมื่นน้อยใน, มหาเทวีเจ้า, เจ้าพันหลวงสุวรรณรังการ, พันหนังสือศีลปัญญา, พันขอจอม, เจ้าหมื่นอ้อย, พระเป็นเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, เสนาอามาตย์, พระยอดเชียงราย, เจ้าหมื่นทอง, หมื่นน้อยหาญ, ปากหนังสือเมืองแก้ว, แสนข้าวพ่อลาน, ท้าวลาน, เจ้าพันหลวงเงิน, หากหุ้มรอม, เจ้าหมื่นทอง, เจ้าไทย, เจ้านาย, พะเยา, บ้านอ้อย, บ้านเกลือ, ป่าลาว, เมืองอ้อย, พุทธศาสนา, วัดมหาเทวีเจ้า, อุทิศข้าพระ, ถวายข้าพระ, ไว้คน, ฝังจารึก, ไว้นา, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, กินเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, พระพฤหัสบดี, และพระศุกร์, ราศีมีน, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีธนู, ปีเปลิกสัน, ปีเปิกสัน, เม็ง, มอญ, ปีวอก, เพ็ญ, เมืองเม้า, เมืองเหม้า, เมิงเม้า, เมิงเหม้า, ฤกษ์, โรหิณี, นายแกเด็กญอย, บุญ, ครัว, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายวัด, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายบ้าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายป่า, บุคคล-นายแกเด็กญอย, บุคคล-มหาเทวี, บุคคล-เจ้าหมื่นทอง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจาก หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, พฤศจิกายน 2566) |
พุทธศักราช 2031 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2122?lang=th |
46 |
จารึกวัดพูปอ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2051 นายพรานสินศรัทธาในพุทธศาสนา ได้บริจาคที่ดินเพื่อสร้างวัดพูปอ |
จารึกวัดพูปอ, พย. 11, พย. 11, ศิลาจารึกวัดพูปอ, พ.ศ. 2051, พุทธศักราช 2051, พ.ศ. 2051, พุทธศักราช 2051, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, จ.ศ. 870, จุลศักราช 870, จ.ศ. 870, จุลศักราช 870, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, จ.ศ. 871, จุลศักราช 871, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดพูปอ, วัดวิเวการาม, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นายพรานสินศรัทธา, พระพุทธเจ้า, สังฆะ, มหาเถรเจ้าเรวัตตะ, ผะธาน, ประธาน, มหาสามี, มหาสวามี, ทิดเหม็น, พ่อน้อยล่ามแสง, พูปอนายวัด, พรานสิน, อาจารย์สังคิเสมา, ศรีธรรมา, ชาวเจ้า, พระภิกษุชื่อ, ป่ามัน, ห้วยหัวดอยพูปอ, พุทธศาสนา, วัดพูปอ, วิเวการาม, ตรากดหมาย, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระจันทร์, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระราหู, ราศีธนู, ลัคนา, ราศีพิจิก, ปีมะโรง, ปีเปิกสี, ปีเปลิกสี, อธิกมาส, มูล, ดาวช้างน้อย, กดหมาย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2051,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-นายพรานสิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2051 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1593?lang=th |
47 |
จารึกวัดพระธาตุเขาน้อย |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระธาตุเจดีย์ ใน พ.ศ. 2449 และการสร้างพระวิหารโดยพระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดช เจ้าเมืองน่าน ซึ่งใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ร่วมกับเจ้านางยอดคำหล้าผู้เป็นอัครชายา ราชบุตรและขุนนาง โดยแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2454 และฉลองทานเมื่อ พ.ศ. 2456 |
จารึกวัดพระธาตุเขาน้อย, นน. 20, พ.ศ. 2449, 2454, 2456, จุลศักราช 1268, 1273, 1275, ร.ศ. 132, พ.ศ. 2449, 2454, 2456, จุลศักราช 1268, 1273, 1275, ร.ศ. 132, หินชนวน, แผ่นหินรูปใบเสมา, ล้านนา, สยาม, ไทย, หลวงติ๋นมหาวงศ์, รัตนโกสินทร์, เจ้าอัตถวรปัญโญ, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, เจ้านางยอดหล้า, เจ้าชัยสงคราม, หม่องยิง, แสนหลวงสมภาร, แสนหลวงกุศล, น่าน, วัดพระธาตุเขาน้อย, หอคำ, วิหาร, ธาตุเจดีย์, พุทธศาสนา, การบูรณะ, การปฏิสังขรณ์, การซ่อมแซม, การสร้างวิหาร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2456, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนหินชนวน, จารึกบนใบเสมา, จารึกวัดพระธาตุเขาน้อย, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระวิหาร, การบริจาคและการทำบุญ, การบูรณะปฎิสังขรณ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุเขาน้อย ตำบลดู่ใต้ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2456 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1985?lang=th |
48 |
จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง 1 |
ฝักขาม |
ใน พ.ศ. 2099 สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้าอยู่หัวและพระอัครราชมาดา ได้อัญเชิญพระมหาธาตุเจ้าจอมทองไปประดิษฐานไว้ ณ หอบาตรในพระราชวัง แล้วบัญชาให้พระยาแสนหลวงพิงชัยไกรเอกเสนาธิบดีศรีสุทโธธิราชาเจ้า และ พระยาสามล้านชันสิทธิราชสงครามเจ้า รวบรวมรายชื่อข้าพระจากครัวเรือนต่างๆ แล้วมอบหมายให้ปฏิบัติดูแลรักษาพระมหาธาตุจอมทอง |
ชม. 17 จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง, ชม. 17 จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง, จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง 1, จารึกไว้ข้าพระมหาธาตุจอมทอง 1, ชม. 17, ชม. 17, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 104 ศิลาจารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง, หลักที่ 104 ศิลาจารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง, พ.ศ. 2099, พุทธศักราช 2099, พ.ศ. 2099, พุทธศักราช 2099, จ.ศ. 918, จุลศักราช 918, พ.ศ. 918, จุลศักราช 918, หินทราย, วัดพระธาตุศรีจอมทอง, ตำบลบ้านหลวง, อำเภอจอมทอง, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้าอยู่หัว, พระอัครราชมาดาพระมหาเทวีเจ้า, ท้าวพระยา, ขุนบ้าน, ขุนเมือง, ขุนแสน, ขุนหมื่น, เจ้าปก, เจ้าแคว้น, นายบ้าน, นายเมือง, จ่าบ้าน, ลูกข้า, ตนเจ้า, ตนไทย, ชาววัดวา, พันวัดโกวิธา, ธรรมมะ, หมื่นน้อยตกาน, ยัง, คนรับใช้, ล่ามบุญทาย, ล่ามนา, ชาวหัวเคียน, ล่ามรัดปัญญา, ชาวพวกน้ำ, พระมหาเทวี, เถรสิน, ปัญญาวิเศษ, หรอก, ทหารหอก, เค้าสิบดาบคำหัวเคียน, พรานแก้ว, ดอกหล้า, เค้าข้าพันหนองลึก, ยาวิลาส, มุกดา, ข้าราชทาน, มหาเถรสิน, เค้าข้าบุญจำปา, บุญรังสี, เค้าพรานคราวท่าผาคูรบ, พ่อค้าเรือไหม, เค้าข้ามงคลหรอก, พระราชโมลี, เค้าชาวน่านชาวหน้าคำ, เม้ป่วยเมือง, หมอ, พระยืน, เค้าข้าอยู่หมุนตกาน, สามส้อย, ช่อ, เค้าข้าพระหนองดู่, เค้าข้าหมื่นตึนแก้ว, ข้าพระบาทป่ารวก, สีธรรมมา, เค้าข้าสังฆราชาจอมทอง, สงสการ, บุญเค้าตาน, อ้ายโคด, รัดปัญญา, ข้าพระวังหัวควาย, เม้เค้าโรงสามล้าน, เค้าข้าสามีม่วงหมู่, เค้าข้าหมื่นนายเมืองยอดขนาน, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, พี่สังฆราชาเจ้า, ค่าขา, สุวรรณ, พ่อเค้าหมอโกลงหาดนากเจ้าแสนปู่เจ้าเมืองสามล้านส้อย, หนาน, ช้าง, ม้า, หญ้า, หัวควาย, เงิน, บาตรคำ, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, แก่นจันทร์, ราชวัง, เวียง, บ้านเรือน, ข่วง, หนองลักกินปลา, ห้องศิลบาลนายสาม, พุทธศาสนา, หอบาตร, พระมหาธาตุเจ้า, พิหารวัดมหาเจดีย์หลวง, เค้าข้าคำขอดรัง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, พระเสาร์, ราศีมีน, พระอังคาร, ราศีตุล, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, ลัคนา, พระราหู, ราศีพฤษภ, ปีมะโรง, หนขอมพิสัย, ปีระวายสี, เดือนผลคุณ, วันจันทร์, ไทยเมิงไส้, นักษัตรฤกษ์, บวรพภาทรบท, ดิถี, นาที, พระมหาธาตุเจ้าจอมทอง, พระมหาธาตุเจ้าจอมทอง, เสิก, ศึก, ส่วยไร, คราวบก, คราวน้ำ, คราวบ้าน, คราวที่, ครัว, คาดบ้าน, คาดเมือง, พระแก้ว, พระสิงห์, การเมือง, พระพุทธรูป, หนี้, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2099, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-พระยาแสนหลวงพิงชัยไกรเอก, บุคคล-ศรีสุทโธธิราชาเจ้า, บุคคล-พระยาสามล้านชันสิทธิราชสงครามเจ้า |
พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 30 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2099 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1507?lang=th |
49 |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ในปี พ.ศ. 2339 สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้าผู้เป็นอธิบดีในศรีพิงตราอันสถิต ณ เชียงใหม่ กับทั้งพระกรรโลงครรภ์อัครราชมาดาและพระราชกนิษฐา ร่วมกันบูชาพระมหาชินธาตุโดยบริจาคพระราชทรัพย์จำนวนมากเป็นประจำ และสร้างเสาเขื่อนเหล็กไว้เป็นการถาวร |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 3, จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 3, ศิลาจารึกที่วิหารพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 78 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 78 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, ลป. 5 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, ลป. 5 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, พ.ศ. 2339, พุทธศักราช 2339, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, จ.ศ. 1158, จุลศักราช 1158, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จบพิตรมหาราชเจ้า, อธิบดี, นริศร, พระกรรโลงครรภ์อัครราชมาดา, พระราชกนิษฐา, ราชภคินี, สมเด็จมหาราชเจ้า, นักปราชญ์บัณฑิต, ท้าวพระยา, ครูบาอาจารย์, ปู่, ย่า, พ่อเฒ่า, พ่อ, แม่, ช้าง, ม้า, วัว, ควาย, โค, กระบือ, พัตร, ผ้า, เงิน, ศรีพิงคราษฎร์, เชียงใหม่, เมืองนครเขลาง, พระวรชินธาตุเจ้าลัมพะกะบุรี, ประเทศ, บ้านเมือง, พุทธศาสนา, สร้างลำต้ายเหล็ก, สร้างเสาเขื่อนเหล็ก, สร้างแปลงพระมหาชินธาตุสถูปวิหาร, สร้างพระมหาชินธาตุสถูปวิหาร, วงดวงชาตา, ดิถี, ฤกษ์, นาที, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีพิจิก, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, พระพฤหัสบดี, ราศีมังกร, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีรวายสี, ปีระวายสี, เดือนยี่, เพ็ง, เม็ง, วันจันทร์, เมิงไก๊, เคล้า, เค้า, ไอศวรสมบัติพัสตร์, ไญยธรรม, พระหฤทัย, สมภาร, โยคาวจร, ราศีสิงห์, ราศีพฤษภ, โกฐาส, บุญราศี, กตาธิการ, ปกตูปนิสัย, ประไจ, ปัจจัย, เนรพาน, นิพพาน, วรบุญกิริยา, เทพยดา, อินท์พรหม, อินทร์พรหม, ตระกูลวงศาญาติ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2339, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2381, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเสาเขื่อนเหล็ก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2339 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2040?lang=th |
50 |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 1 |
ฝักขาม |
ในปี พ.ศ. 2046 เจ้าเมืองนครสีทัตถมหาสุรมนตรีได้ขึ้นครองเมืองนครนี้มาแล้ว 6 เดือน ทรงร่วมกับพระสงฆ์ ข้าราชการ และอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย ก่อสร้างวิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง ข้อความในจารึกกล่าวถึงรายละเอียดเรื่องวัสดุ และค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโดยละเอียด |
จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 1, จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง 1, ศิลาจารึกที่วิหารพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 70 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, หลักที่ 70 ศิลาจารึกที่วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, ลป. 2 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, ลป. 2 จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมืองนครสีทัตถมหาสุรมนตรี, ชาวเจ้า, สงฆ์, เจ้าหมื่น, เจ้าพัน, นักบุญ, เจ้าเมืองอ้าย, เจ้าเมืองสีทัตถะ, ช่างหล่อ, สัปปุริสะ, สัปบุรุษ, ดิน, ปูน, เงิน, ชิน, เกลือก, ไล้, ทองคำ, เมืองนคร, เมืองฟ้า, สำนักพระอาริยเมตไตรยเจ้า, สำนักพระศรีอาริยเมตไตรยเจ้า, พุทธศาสนา, วิหาร, พระมหาธาตุเจ้า, กินเมือง, ปกครองเมือง, หล่อพระพุทธรูป, หล่อพระเจ้าล้านทอง, พอกคำ, ปิดทอง, ตีคำ, ไถ่คน, ไว้นา, อุทิศที่นา, อุทิศที่ดิน, ปลูกวิหาร, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีมีน, พระอังคาร, พระเสาร์, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีเมษ, พระศุกร์, ลัคนา, ราศีมังกร, ราศีพฤษภ, ราศีพิจิก, ราศีกุมภ์, ราศีสิงห์, ราศีกรกฎ, ปีรวายสี, ปีระวายสี, ออก, รวงไส้, ฤกษ์, อัทรา, ยามตูดซ้าย, ปีเปลิกสง้า, ปีเปิกซง้า, วันพุธ, รวงเม้า, รวงเหม้า, ยามพาดรุ่ง, ปีกัดเม็ด, วันพฤหัสบดี, เปลิกสัน, เปิกสัน, วาอก, ปีกาไก๊, พระเจ้าล้านทอง, ยามกันรุ่ง, ครัว, เต่าสง้า, เต่าซง้า, ยามตูดเช้า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-สีทัตถะมหาสุรมนตรี, บุคคล-สีทัตถะมหาสุรมนตรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2046 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2037?lang=th |
51 |
จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พระเจ้าแก้วเนืองมากับพระนางศรีบุญยวง อัครชายา มีความเลี่อมใสศรัทธา จึงได้บัญชาให้ครูบาศามณีเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วยทุหลวงนันทา ทุหลวงโพธา ทุหลวงเทพ อันมีแสนศิริเป็นประธานฝ่ายฆราวาส สร้างฉัตรเงินเพื่อประดิษฐานไว้คุ้มเศียรพระพุทธรูป ทั้งยังสร้างวิหารอีก 2 หลังสำหรับเป็นที่จัดเก็บและดูแลรักษาพระพุทธรูป |
ชม. 177 จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง (พ.ศ. 2391), ชม. 177 จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง (พ.ศ. 2391), ชม. 177, ชม. 177, วัดพระธาตุช่างเคิ่ง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2391, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ามโหตรประเทศ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช่างเคิ่ง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างฉัตร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุคคล-พระเจ้าแก้วเนืองมา, บุคคล-พระนางศรีบุญยวง, บุคคล-ครูบาศามณี, บุคคล-ทุหลวงนันทา, บุคคล-ทุหลวงเทพ, บุคคล-พระเจ้าแก้วเนืองมา, บุคคล-แสนศิริ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดพระธาตุช่างเคิ่ง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2391 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15507?lang=th |
52 |
จารึกวัดพระญาร่วง |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2041 มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดี วัดพระญาร่วง ได้ชักชวนให้ร่วมกันบูชาพระพุทธรูปด้วยทองคำ น้ำ ที่ดิน และสิ่งของอื่นๆ |
จารึกวัดพระญาร่วง, พย. 9, พย. 9, จารึกวัดพญาร่วง, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมาชำรุด, วัดป่าแดงบุญนาค บ้านป่าแดง ตำบลท่าวังทอง, วัดบุนนาค, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดีวัดพระญาร่วง, มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดีวัดพญาร่วง, ต้นตาน, ต้นตาล, ทองคำ, น้ำ, แก้ว, พุทธศาสนา, หล่อน้ำทอง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, พระจันทร์, พระอังคาร, พระราหู, ราศีตุล, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายน้ำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระพุทธรูป, บุคคล-มหาเถรติกขะประหญาอารามาธิบดี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2041 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1577?lang=th |
53 |
จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2159 พญาหลวงเมืองเชียงแสน และนางพญาหลวง พร้อมด้วยพระสงฆ์ 3 คณะ ร่วมกันสร้างวิหาร และสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ แล้วนิมนต์สมเด็จราชโมลีจิตตสารมังคละ มาเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. 2160 สร้างเจดีย์ บรรจุพระธาตุพระพุทธเจ้า จำนวน 358 องค์ และธาตุ และธาตุพระสาวกจำนวน 400,000 องค์ พร้อมทั้งถวายคน 52 คน และสวนหมากแด่วัดด้วย |
ชร. 7 จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) พ.ศ. 2158-2159, ชร. 7 จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) พ.ศ. 2158 2159, 1.4.1.1 วัดผ้าขาวป้าน พ.ศ. 2160 (Wat Pah Khao Pan A.D. 1617), 1.4.1.1 วัดผ้าขาวป้าน พ.ศ. 2160 (Wat Pah Khao Pan A.D. 1617)ศักราช: พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2159, พุทธศักราช 2159, พ.ศ. 2159 พุทธศักราช 2159, จ.ศ. 977, จุลศักราช 977, พ.ศ. 977, พุทธศักราช 977วัตถุจารึก: หินชนวนสีดำลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: วัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม), ตำบลเวียง, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงรายอาณาจักร: ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: นางพญาหลวงเจ้า, นางพระญาหลวงเจ้า, พระราชครู, พระสงฆ์, สมเด็จเจ้า, มหาสังฆราชาสวามีพราสังฆเจ้า, สมเด็จราชโมลีเจ้า, จิตสารมังคล, เจ้าอาวาส, อรหันตาเจ้า, ท้าวพระญาเจ้าสถานที่: เมืองเชียงแสนเจ้า, สวนหมาก, บ้านชุมแสงศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: พระวิหาร, พระหาร, อุดมโกศล, เจติยะ, เจดีย์, วัดจุนทาพิธีกรรม: ปกพระหาร, สร้างพระวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, สร้างเจดีย์อื่นๆ: วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, ลัคนา, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ปีดับเหม้า, เพ็ง, ไทยดับเร้า, ติดถี, ดิถี, นาที, ฤกษ์, พาดลั่น, ปราณ, พิชนาที, เพ็ชรนาที, อักษร, นวางค์, วรโคตมย, พระโคตมี, พระไตรรัตนแก้ว, ไทยเปิกสัน, กลองงาย, พระพุทธเจ้าองค์หลวง, พระพุทธรูป, ปีระวายสี, วันอาทิตย์, ไทยกดสี, ตูดเช้า, พระธาตุ, ครัว, เรือน, หมื่นไมตรีไหมคำ, หมื่นยางแก้วมาลุน, นางเสน่ห์, กินบ้านกินเมือง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158, อายุ-จารึก พ.ศ. 2159, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158-2159, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเมืองน่าน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พญาหลวงเมืองเชียงแสน, บุคคล-นางพญาหลวง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-สมเด็จราชโมลีจิตตสารมังคละ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2158-2159 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1443?lang=th |
54 |
จารึกวัดป่าใหม่ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2040 เจ้าหมื่นลอเทพศรีจุฬา มีใจศรัทธาในพระศรีรัตนตรัยจึงให้ไปราธนามหาเถรมธุรสเจ้าแห่งสำนักมหาสามีสวรสีหเจ้า มาสร้างวัดป่าใหม่ จากนั้นเป็นรายนามผู้บริจาคเงินและข้าพระ |
จารึกวัดป่าใหม่, พย. 8, พย. 8, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 101 ศิลาจารึกวัดป่าใหม่, หลักที่ 101 ศิลาจารึกวัดป่าใหม่, จารึกหมื่นลอเทพสร้างวัดป่าใหม่, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นลอเทพศรีจุฬา, มหาเถรมธุรสเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระมหาเทวีเจ้า, เจ้าหมื่นล่ามนาโหราธิบดี, เจ้าหมื่นสามนาโหราธิบดี, เจ้าพันศรีมงคลหนังสือต่างเมือง, เจ้าพันศรีมงคลหนังสือต่างเมิง, เจ้าพันเพกพวกนำ, เจ้าพันโคตรพวกขัน, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, พระสงฆ์, พระภิกษุ, มหาสามีเจ้าป่าน้อย, มหาเถรเจ้าป่าหลวง, มหาเถรเจ้าศรีเกิด, เจ้ากูสังฆระ, เจ้ากูสังฆะปากยงหนังสือ, หมื่นเปลา, เถ้าเมืองโสม, เฒ่าเมืองโสม, เถ้าเมิงโสม, เฒ่าเมิงโสม, แสนเจ้าศิลา, แสนเจ้ารัด, พันหนังสือสุวรรณ, พันสมพุดลำพัน, เจ้าไท, นักบุญ, ยารังสี, นายสารบุตร, พันยา, ล่ามบุญ, ศรีไว, อ้ายคำ, สิบม่วง, คำหระ, พ่อแสง, คำขอด, อ้ายรอ, มุยถาน, อ้ายโล, ใส, เถ้าครา, เฒ่าครา, อีน้อย, สาคร, อุด, อ้ายสอย, ทิดน้อย, งัวอุย, พ่ออ่อน, อีมี, งัวชาย, พ่อเอ้ย, พ่อเอื้อย, สามแพง, อ้ายแก้ว, ไสหล้า, พ่ออั้ว, ทิดน้อย, หมื่นยอดกินเมืองลอ, หมื่นยอดกินเมิงลอ, อ้ายเหาคำหลิง, พันนาเริน, พ่อน้อยหยาดน้ำ, ข้าพระ, หมื่นใสกินเมืองลอ, หมื่นใสกินเมิงลอ, ปีกัดเร้า, วันกัดเม็ด, พี่ชายสวย, เงิน, เบ้, เบี้ย, จังหันชื่อ, คีเวียง, คือเวียง, คูเมือง, แดน, เมืองลอ, เมิงลอ, พุทธศาสนา, สำนักมหาสามีสวรสีหเจ้า, วัดป่าใหม่, อาราม, วิหาร, อุโบสถ, หอปิฎก, สร้างวัด, เทศนา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีกันย์, พระจันทร์, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพุธ, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีเมิงไส้, ออก, วันพุธ, วันกัดเหม้า, พระศรีรัตนตรัยเจ้า, บุญ, นา, อุปัฎฐาก, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าหมื่นลอเทพศรีจุฬา, บุคคล-มหาเถรมธุรสเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2040 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1574?lang=th |
55 |
จารึกวัดป่าเหียง |
ฝักขาม |
ข้อความชำรุดในบางส่วน จับความได้ว่ากล่าวถึงการมอบหมายให้ข้าพระดูแลพระสงฆ์และวัด ด้านที่ 2 กล่าวถึงการฝังจารึกด้วย |
จารึกวัดป่าเหียง, พย. 5, พย. 5, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ ชร./16 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ ชร./16 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2026, พุทธศักราช 2026, พ.ศ. 2026, พุทธศักราช 2026, จ.ศ. 845, จุลศักราช 845, จ.ศ. 845, จุลศักราช 845, ศิลา, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดป่าเหียง, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, วัดสันป่าเหียง ตำบลดงเจน กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพุทธเจ้า, เจ้าไทย, ชาวเจ้าสังฆ, พระภิกษุ, นายสังสา, ชาวไคร, ซาวไคร, ญาณโพธิ, เชียงไต, อ่อน, อุ่น, ทิดขีด, สิบน้อย, สอง, เหม, ญาอั้วแม่ไอชื่อ, ญาอัวแม่ไอ้ชี, มหาเถรเจ้าศรีเถียร, อ้ายมะลาน, อ้านแดง, แก้ว, ญามูน, ไอ้พรอย, เจ้าหมื่นทุนดอนแปลน, หมื่นน้อยนาเรือน, ล่ามหมื่นอาจารย์, เฒ่าเมืองสน, เถ้าเมืองสน, ล่ามหมอปากนา, ล่ามกำเพียรปากนาอ่าง, ประหญาหนังสือ, พลประหญาหนังสือ, พระเป็นเจ้าแผ่นดิน, ข้าพระ, อาราม, การฝังฤกษ์, การฝังจารึก, การฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พรศุกร์, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระพุธ, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ปีกาเม้า, เดือนเจียง, เพ็ง, วันเพ็ญ, วันเมิงเป้า, เม็งวันอาทิตย์, อุตราษาฒ, หนังสือต่างเมือง, พระพุทธรูป, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2026, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสีเหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2026 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1563?lang=th |
56 |
จารึกวัดบุพพาราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2072 เจ้าเมืองแพร่อุนกับเจ้านางเมืองได้ร่วมกันสร้างวัดบุพพาราม เพื่ออุทิศส่วนบุญแด่พระเจ้าแผ่นดินผู้บวชเป็นพระสงฆ์อยู่ในโรงดิน พระเจ้าแผ่นดินได้มีพระบรมราชโองการให้เจ้าเมืองแพร่อุทิศข้าพระจำนวน 5 ครัว และที่นา จำนวน 1,000 แปลง แก่พระพุทธรูปวัดบุพพารามนี้ตราบถึง 5,000 ปี ข้อความต่อจากนี้เป็นรายนามผู้บริจาคเงินและที่นา |
จารึกวัดบุพพาราม, พร. 9, พร. 9, 1.8.1.1 วัดบุพาราม พ.ศ. 2072 / ค.ศ. 1529, 1.8.1.1 วัดบุพาราม พ.ศ. 2072 / ค.ศ. 1529, พ.ศ. 2072, พุทธศักราช, พ.ศ. 2072, พุทธศักราช 2072, จ.ศ. 891, จุลศักราช 891, จ.ศ. 891, จุลศักราช 891, หิน, รูปใบเสมา, วัดร้าง, กำแพงเมืองแพร่ด้านเหนือ, จังหวัดแพร่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเมืองแพร่อุน, เจ้านางเมือง, หมื่นนาหลังจอมสวรรค์, เจ้าหมื่นญิง, พระเป็นเจ้า, พระสงฆ์, พระภิกษุ, เจ้าเมือง, เจ้าพวกต้องแต้มญาณสุนทร, ญาณติสสราชบัณฑิต, เจ้าเมืงแพร่, พันเชิงผญาวิเศษคำตัน, ญารัด, สวนผญา, ญี่ท้ำ, พันดาบเรือนเทบ, อ้ายน้อยขา, สุวรรณ, ทิดเพียน, พันแก้วพวกวีขวาพวกวีขวา, เจ้าเมืองไถ่, พระแสนทอง, อ้ายขอ, เค้า, ข้าพระ, หมื่นสองมหิน, หมื่นทงหลวงใส, หมื่นทงน้อยพุด, หมื่นเลียบพรม, หมื่นนา, หลังสวนขิน, พันเถ้าเมืองสวนหง, ปากหมื่นเมืองญาณสทอน, หนังสืออ้ายพอ, เงิน, พุทธศานา, วัดบุพพาราม, โรงดิน, วัดพันเชิงเพียน, การสร้างวัด, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีเมถุน, พระจันทร์, พระราหู, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีกรกฎ, ปีฉลู, ปีกัดเป้า, เดือนอาษาฒ, โหรา, เพ็ง, กัดเร้า, ดิถี, นาที, ฤกษ์, บุญโกฐาส, โกฐาสบุญ, ส่วนบุญ, รัตนตรัย, พระราชโองการ, ครัว, นาพันข้าว, พระพุทธเจ้า, พระพุทธรูป, วัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2072, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ (วัดหลวง) แพร่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพร่, บุคคล-เจ้าเมืองแพร่อุน |
พิพิธภัณฑ์วัดหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562) |
พุทธศักราช 2072 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1948?lang=th |
57 |
จารึกวัดบ้านยางหมากม่วง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2022 เจ้าหมื่นน้อยใส ผู้ครองเมืองอ้อย ถวายนา และต้นหมาก แด่วัดบ้านยางหมากม่วง |
จารึกวัดบ้านยางหมากม่วง, ชร. 33, ชร. 33, ศิลาจารึกจากวัดบ้านยางหมากม่วง (พ.ศ. 2022), ศิลาจารึกจากวัดบ้านยางหมากม่วง (พ.ศ. 2022), 1.4.1.1 วัดบ้านยางหมากม่วง พ.ศ. 2022, 1.4.1.1 วัดบ้านยางหมากม่วง พ.ศ. 2022, Wat Ban Yang Mak Muang A.D. 1479, Wat Ban Yang Mak Muang A.D. 1479, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, จ.ศ. 841, จุลศักราช 841, จ.ศ. 841, พุทธศักราช 841,หินทราย, รูปใบเสมา, วัดร้าง, ตำบลแม่เย็น, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาว, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, เถ้าเมิง, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, เจ้าพันหลวง, ปากอิน, พันหนังสือ, ข้าว, บ้านอ้อย, เมิงอ้อย, เมืองอ้อย, พุทธศาสนา, อาราม, วัดบ้านยางหมากม่วง, การทำบุญ, กินเมือง, กินเมิง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, พระราหู, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ปีกุน, ปีกัดไก๊, เดินเจียง, เดือนอ้าย, ออก, วันกดสัน, เม็ง, มอญ, บุรพาษาฒ, บูรพาษาฒ, เจ้าหมื่นน้อยไส, ลูกหมื่นฝางเถ้า, เถ้า, นา, จังหัน, บุญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2022, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-เจ้าหมื่นน้อยใส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2022 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1409?lang=th |
58 |
จารึกวัดบ้านปาน |
ฝักขาม |
ปี พ.ศ. 2039 มหาสามีศีลวิสุทธเจ้าได้สร้างวัด, อุโบสถ และปิฎก แล้วอุทิศส่วนบุญแก่มหาเทวีและพระอัยยิกาแห่งพระมหากษัตริย์ (น่าจะหมายถึงพระเมืองแก้ว ซึ่งครองราชย์อยู่ในช่วง พ.ศ. 2038-2068) ทั้งสองพระองค์ได้อุทิศพระพุทธรูปทองสำริดองค์หนึ่งและข้าพระจำนวน 10 ครัว แก่วัดบ้านปาน |
จารึกวัดบ้านปาน, พย. 89, พย. 89, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858วัตถุ, หินทราย, รูปใบเสมา, บ้านของเอกชน, ตำบลท่าวังทอง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีวิสุทธเจ้า, มหาเทวีเจ้า, ยายพระเจ้า, พระอัยยิกา, ล่ามศรียศดาบน้อย, เจ้าพันรัดดาบน้อย, นายเมิง, นายเมือง, พันหนังสือแชหลวง, จัน, เจ้าพวกผะหญา, เจ้าพวกปัญญา, เจ้าพันหนังสือต่างเมิง, พันหนังสือต่างเมือง, เจ้าพวกเสนา, เจ้าแสน, เจ้าสุด, เจ้าหมื่นสามลาน, ข้าคน, พันนาแซตา, พระเป็นเจ้า, อ้ายเลาเริน, เจ้าไท, เจ้านาย, ทิดสาระ, แม่มหาเถรเจ้าธรรมกูล, เมิงพะญาว, บ้านปอม, พุทธศาสนา, วัดบ้านปาน, อุโบสถ, การสร้างวัด, การสร้างอุโบสถ, การสร้างปิฎก, การอุทิศข้าพระ, การอุทิศพระพุทธรูปทองสำริด, การอุทิศพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์, ฝังหินจารึก, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีเมถุน, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีสิงห์, เม็ง, วันเต่าสี, รืก, ริก, ฤกษ์, โกฐาสบุญ, ส่วนบุญ, เชษฐ, มอญ, วันศุกร์, ปีฏก, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกสำนักปฏิบัติธรรมวังทองวังธรรม พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป, บุคคล-มหาสามีศิลวิสุทธเจ้า |
สำนักปฏิบัติธรรมพุทธประธาน ตำบลท่าวังทอง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1917?lang=th |
59 |
จารึกวัดนิรัครคัทธาอาราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2108 เจ้าหัวแสนแห่งเมืองเชียงขวง พร้อมด้วยนักบุญทั้งหลาย ร่วมกันสร้างอาราม ชื่อว่า นิรัครคัทธาอาราม |
จารึกวัดนิรัครคัทธาอาราม, นน. 4, นน. 4, หลักที่ 75 ศิลาจารึกได้มาจากวัดร้างใกล้น้ำมาง บ้านบ่อหลวง ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอปัว จังหวัดน่าน, หลักที่ 75 ศิลาจารึกได้มาจากวัดร้างใกล้น้ำมาง บ้านบ่อหลวง ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน, พ.ศ. 2108, พุทธศักราช 2108, พ.ศ. 2108, พุทธศักราช 2108, จ.ศ. 927, จุลศักราช 927, จ.ศ. 927, จุลศักราช 927, หินทราย, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหัวแสน, นักบุญ, พระพุทธเจ้า, เจ้ากูสังฆะ, เจ้าไท, หมื่นขุนโขง, พระสงฆ์, เมืองหมื่นเชียงขวง, เมืองโสการัง, พุทธศาสนา, นิรัครคัทธาอาราม, นิรัครคัทธะอาราม, สุทธอาราม, สร้างอาราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, พระจันทร์, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระราหู, ราศีพิจิก, ปีดับเป้า, ปีดับเปล้า, วันกาบไจ้, เม็ง, มอญ, มูลศาสนา, ผลบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2108, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระนางวิสุทธเทวี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดร้างใกล้น้ำมาง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-พระเจ้าหัวแสนแห่งเชียงขวง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2108 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1536?lang=th |
60 |
จารึกวัดนางหมื่น |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2036 เจ้าเมืองเชียงราย เจ้าหมื่นจุลาพยาว และเจ้าพันพ่อน้อยได้ให้คนมาฝังจารึกไว้ที่วัดนางหมื่น เพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลพระสงฆ์และวัด |
จารึกวัดนางหมื่น, พย. 6, พย. 6, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, จารึกพระเป็นเจ้าเมืองเชียงราย, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, พ.ศ. 2036, พุทธศักราช 2036, ม.ศ. 855, มหาศักราช 855, ม.ศ. 855, พุทธศักราช 855, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยมปลายมน, วัดร้าง, ตำบลแม่นาเรือ, อำเภอเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าเจ้าเมืองเชียงราย, พระเป็นเจ้าเจ้าเมิงเชียงราย, เจ้าหมื่นจุลาพยาว, เจ้าหมื่นจูลาพะเยา, เจ้าหมื่นจูลาพญาว, เจ้าพันพ่อน้อย, หนังสือ, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, เจ้าพันรัตเป็นเจ้า, เจ้าไทย, พระเจ้าวัดพันเลา, นายเกิง, ทิดธรรม, จูลา, จุลา, สินข้อย, อ้ายหญาม, เชียงแจ, ชยงแจ, เชียงแข, ชยงแข, ข้ามหาสามีเจ้าธรรมไตรดลก, ทิดสิน, ปู่นน, ปู่พรม, ยี่น้อย, ญี่น้อย, หมื่นนาหลังสีพัด, คนหนังสือ, พันขวา, พันวันคนเจ้าพันต่างเมือง, ทิดน้อย, เจ้าเมืองจุลาพยาว, เจ้าเมืองจูลาพะเยา, เจ้าเมิงจูลาพญาว, เจ้าเมิงจุลาพยาว, เจ้าเมิงจูลาพะเยา, เจ้าเมิงจูลาพญาว, คนหมื่นนาหลังลำพันศรีทัด, คนพันคืนหนังสือ, ลำพันตีนเวียง, คนพันหอ, คนพันตีนหนังสือ, ลำพันสินหนังสือ, เฒ่าเมืองซอด, เฒ่าเมืองชอด, เฒ่าเมืองสีกอง, เถ้าเมืองซอด, เถ้าเมืองชอด, เถ้าเมืองสีกอง, แสนข้าว, ญารังสี, ล่ามนาปีกหมอขวัญ, ยาแก, ร้อยเชียง, พระเจ้าเจ้าแผ่นดิน,น้ำมัน, จาริด, พุทธศาสนา,วัดนางหมื่น, การฝังจารึก, การฝังศิลาจารึก, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระจันทร์, พระราหู, ราศีตุล, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระพฤหัสบดี, ราศีสิงห์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ปีกาเปล้า, ออก, วันดับเปล้า, เม็ง, มอญ, วันศุกร์, จิตราฤกษ์, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2036 ,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าเมืองเชียงราย, บุคคล-เจ้าหมื่ินจุลาพยาว, บุคคล-เจ้าพันพ่อน้อย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2036 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1566?lang=th |
61 |
จารึกวัดตโปทาราม |
ฝักขาม |
เมื่อปี พ.ศ. 2035 พระยาอรรคราชภูมิบาลได้ขึ้นครองเมืองพิงเชียงใหม่ ทรงมีอัครมเหสีชื่อ อะตะปาเทวี ครั้งนั้น พระนางอะตะปาเทวีได้ขอพระราชทานอนุญาตจากพระสวามีในอันที่จะสร้างวัดตะโปทาราม พระนางได้อาราธนาพระสงฆ์ประมาณร้อยรูปมาชุมนุม พร้อมด้วยเสนาอำมาตย์ข้าราชการเพื่อประดิษฐานแก้วสามประการไว้ ณ วัดแห่งนี้ ในพิธีมีการอุทิศที่ดิน เงิน ทองคำ และข้าพระจำนวนมาก |
ชม. 13 จารึกอะตะปาเทวี, ชม. 13 จารึกอะตะปาเทวี, จารึกอะตะปาเทวี, คำอ่านศิลาจารึก อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ชม. 13, ชม. 13, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, พ.ศ. 2035, พุทธศักราช 2035, จ.ศ. 854, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดลำเปิง, วัดตะโปทาราม, ตำบลศรีภูมิ, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, นักบุญ, พระพุทธศรีสากยมุนีโคดมเป็นเจ้า, พระยาเจ้า, อรรคราชภูมิบาล, หลาน, พระศรีสัทธรรมมหาบรมจักรพรรดิ์ธรรมราชบพิตร, เจ้าเมิงพิงเชียงใหม่, เจ้าเมืองพิงเชียงใหม่, อรรคมเหสีเจ้า, อัครมเหสีเจ้า, อะตะปาเทวี, มหาสามีญาณโพธิเจ้าป่าแดง, มหาเถรสุรศรีมหาโพธิเจ้าป่าแดง, มหาเถรสุรศรีมหาโพธิเจ้า, มหาเถรธรรมเสนาบดีเจ้า, มหาเถรสัทธรรมฐิรปราสาทเจ้า, มหาเถรญาณสาครอารามิสระเจ้า, ราชมนตรี, เจ้าเมืองเชียงราย, เจ้าเมืองยี่, ราชมาตุล, เจ้าหมื่นตินเชียง, อติวิสุทธิ์, เจ้าหมื่นด้ามพร้ากลาง, เจ้าหมื่นจ่า, ธรรมเสนาบดี, เจ้าหมื่นหนังสือ, วิมลกิรติสิงหลราชมนตรี, พระภิกษุ, พระเจ้าลุง, เจ้าพันเชิงคดี, รัตนะปัญโญ, เจ้าหมื่นกัลญาณดาบเรือน, เจ้าหมื่นโสม, ราชภัณฑาคาริก, สมเด็จพระศรีสัทธรรมมหาบรมจักรวรรดิ์ธรรมราชาธิราชบพิตร, ผู้นาย, ข้าเก่า, ญาติ, เจ้าเมืองเชียงใหม่, เบ้, เบี้ย, จังหัน, เงินบุญ, จังหัน, ข้าว, ทองคำ, ราชเขต, เมิงพิง, เมืองพิง, เมืองปิง, พุทธศาสนา, ตะโปทาราม, อาราม, พระเจดีย์, วิหาร, อุโบสถ, สร้างหนังสือ, ทำบุญ, ประดิษฐานศาสนา, อาราธนาสงฆ์, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, อุทิศข้าพระ, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระจันทร์, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระพุธ, ราศีมีน, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีมังกร, พระราหู, ราศีพิจิก, ปรมัตถโมกขมหานครนฤพาน, ปีเต่าไจ้, เดือนวิสาข, เดือนเจ็ด, ออก, วันศุกร์, วันก่าเล้า, วันกาเร้า, โยค, อายุสมะ, ยามกลองงาย, สองลูกนาที, แก้วสามประการ, หัตถกรรม, นิพพาน, กฎหมาย, กดหมาย, คน, เทวดา, สัตว์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2035, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-เมืองพิงเชียงใหม่, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-เมืองพิงเชียงใหม่-พระยาอรรคราชภูมิบาล, บุคคล-พระยาอรรคราชภูมิบาล, บุคคล-อะตะปาเทวี, ภาพสำเนาจารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 13 ฉบับที่ 6 (มีนาคม 2513) |
ด้านหลังพระวิหารวัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2035 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2116?lang=th |
62 |
จารึกวัดดุสิตาอาราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2039-2041 มหาเถรมงคลผะหญาเจ้าได้สร้างอารามชื่อ ดุสิตาอาราม และถวายแก่เจ้าแสนกัลยาณ และเจ้าแสนกัลยาณได้ประทานพระพุทธรูปหนึ่งองค์ เงินและทองจำนวนหนึ่ง พร้อมทั้งแต่งตั้งข้าพระให้อยู่ดูแลอารามแห่งนี้ |
จารึกวัดดุสิตาอาราม, ชร. 63, ชร. 63, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, จ.ศ. 860, จุลศักราช 860, หินทรายสีเทา,รูปใบเสมา, วัดดุสิตาอาราม, อำเภอจุน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, นักบุญ, มหาเถรมงคลผะหญาเจ้า, เจ้าแสนกัลยาณ, เจ้าหัวแสน, พระเจ้า, เจ้าหมื่นลอมงคลเถ้า, เฒ่า, ปากญง, หนังสือพัน, ผะหยา, หนังสือพุด, พันนาหลังเพก, ลำพันซวมรู้, พ่อบัวผะหญา, ไสมอย, ขุนจอ, อ้ายตอน, ขุนเก้า, สามลาก, ไสทอง, เถ้ามวง, เฒ่ามวง, ปู่ลาย, คำลอ, ถราหล้า, ทิดรัด, ทิดเชริง, แม่เก้า, แม่จัน, แม่ทาน, แม่เพก, แม่โหล, ทอง, เงิน, เมืองโสม, พุทธศาสนา, สร้างอาราม, ฝังจารึก, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีเมถุน, ราศีพฤษภ, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกันย์, ปีระวายสี, เดือนเจ็ด, วันพุธ, พระพุทธรูป, ครัว, เม็ง, มอญ, วันเสาร์, กลองงาย, ปีเปิกซง้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039-2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในศูนย์ศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูเชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาเถรมงคลผะหญาเจ้า, บุคคล-เจ้าแสนกัลยาณ |
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2039-2041 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1421?lang=th |
63 |
จารึกวัดดอนคราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2031 พระมหาราชเทวีเจ้าให้คนนำตราสารทองคำมามอบแก่นางเมืองพะเยา นางเมืองพะเยาให้คนนำตราสารทองคำนั้นมาไว้ที่วัดดอนคราม พร้อมทั้งถวายข้าพระให้อยู่ดูแลพระพุทธรูปและพระภิกษุสงฆ์ |
จารึกวัดดอนคราม, พย. 2, พย. 2, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, หลักที่ 100 ศิลาจารึกวัดดอนคราม, หลักที่ 100 ศิลาจารึกวัดดอนคราม, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดสันพระเจ้าดำ (วัดร้าง), ตำบลศรีถ้อย, อำเภอแม่ใจ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาราชเทวีเจ้าแผ่นดิน, ล่ามบุญ, พันคำ, แม่คีง, แม่คิง, เจ้าหมื่นจ่าบ้าน, นางเมืองพะเยา, นางเมืองพญาว, นางเมิงพญาว, พันนาหลัง, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันเขิงคดีแคว้น, พันเชิงคดีแคว้น, พันเขิงคดีหลวง, พันเชิงคดีหลวง, พันพอน, พันฟอน, นายหนังสือแคว้น, คนพันหนังสือพื้นเมืองพิง, พระพุทธเป็นเจ้า, พระมหาเถรเจ้า, พระพุทธเจ้า, ข้าพระ, ตราหลาบคำ, ตราสารทองคำ, บ้านทิดสึกใหม่, พุทธศาสนา, วัดดอนคราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฟหัสบดี, ราศีกุมภ์, ลัคนา, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีมังกร, ปีวอก, ปีเปิกสัน, วันกดเส็ด, เม็ง, วันอาทิตย์, สมณฤกษ์, ครัว, พระพุทธรูป, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2548, จาก : 1) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-ราชวงศ์มังราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระมหาราชเทวี, บุคคล-นางเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2031 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1555?lang=th |
64 |
จารึกวัดช้างค้ำ 1 |
ธรรมล้านนา |
พระยาพลเทพฦาชัยได้บูรณะพระวิหารอันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปในวัดหลวงกลางเวียงในจุลศักราช 910 โดยขอให้ได้มีปัญญาแตกฉาน ตอนท้ายระบุถึงจำนวนเงินที่ใช้ในการบูรณะและคำอุทิศส่วนกุศลแด่เทวดา, ครอบครัว, ญาติพี่น้อง, บรรพบุรุษ และสรรพสัตว์ทั้งปวง |
หลักที่ 74 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ, จารึกวัดช้างค้ำ, นน. 3 จารึกพระยาพลเทพฤาชัย, นน. 3 จารึกพระยาพลเทพฤาชัย, ศิลาจารึกอักษรไทยฝ่ายเหนือ : จ.ศ. 910 (พ.ศ. 2091) ได้มาจากวัดช้างค้ำ ต. เวียง อ. เมือง จ. น่าน, ศิลาจารึกอักษรไทยฝ่ายเหนือ : จ.ศ. 910 (พ.ศ. 2091) ได้มาจากวัดช้างค้ำ ต. เวียง อ. เมือง จ. น่าน, จารึกวัดช้างค้ำ, จ.ศ. 910, พ.ศ. 2091, จ.ศ. 910, พ.ศ. 2091, จุลศักราช 910, พุทธศักราช 2091, จุลศักราช 910, พุทธศักราช 2091, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดช้างค้ำ วัดพระธาตุช้างค้ำ ตำบลในเวียง จังหวัดน่าน, ล้านนา, พระยาพลเทพฦาชัย, วัดหลวงกลางเวียง, มหาพิหาร, มหาวิหาร, พุทธเหตุการณ์สำคัญ : ปฏิสังขรณ์, บูรณะอื่นๆ : กุศล, พระพุทธรูป, จตุโลกบาล, รุกขเทวดา, ปัพพตเทวดา, ภูมิเทวดา, อากาศเทวดา, คนธรรพ์, นาค, ภุชงค์, อีศวร, สารีริกธาตุ, ภวัคคพรหม, หิ้วหีด, อินทร์, พรหม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2091, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2091 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1693?lang=th |
65 |
จารึกวัดควาง |
ฝักขาม |
กล่าวถึงการอุทิศข้าพระให้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์ |
จารึกวัดควาง, พย. 48, พย. 48, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดดงแล, บ้านเหยียน, ตำบลใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไสหรวย, เม, เมีย, ลูก, ญิง, หญิง, มหาเถรเจ้า, ข้าพระพุทธเจ้า, พี่ญา, เจ้าพญา, ลูกมหาเถรสารีบุตร, พันหลวงกอว, พันหลวงกอง, ข้าพระ, หมื่น, ขุน, ผู้สินออกกิน, ทุมเทด, หมื่นแจ่ม, หมื่นท้าว, พระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือต่างเมิง, เจ้าพันหนังสือต่างเมือง, ทุมเทดหมื่นเขา, เค้า, พันสุวันหนังสือ, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, ปากรัด, ปากพันหนังสือ, เจ้าหมื่นหนังสือ, เจ้าไท, เจ้าพันต่างเมิง, ปากท้าว, เงิน, เลาบ้านพันวา, แช่พราน, เมิงพญาว, เมืองพญาว, เมืองพะเยา, พสิม, พุทธศาสนา, วัดควาง, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, แต่งเมิง, แต่งเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีมังกร, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีธนู, ปีรวงไส้, บุญ, ที่ดิน, ที่นา, พระพุทธรูป, เรือน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1761?lang=th |
66 |
จารึกมหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์ฯ วัดสิบสองห้อง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2058 มหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์ฯ แห่งวัดสิบสองห้อง และมหาเถรเจ้าญาณกิตติ ได้ชักชวนอุบาสกอุบาสิกาให้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยการบริจาคทองคำ และข้าพระจำนวนหนึ่งไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกมหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์ฯ วัดสิบสองห้อง, พย. 13, พย. 13, จารึกวัดสิบสองห้อง, พ.ศ. 2058, พุทธศักราช 2058, พ.ศ. 2058, พุทธศักราช 2058, จ.ศ. 877, จุลศักราช 877, จ.ศ. 877, จุลศักราช 877, หินทรายสีแดง, หลักสี่เหลี่ยมชำรุด, วัดศรีจอมเรือง, ที่ว่าการอำเภอเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์สรปัญ, มหาเถรสัทธรรมถิรคัมภีร์สรปัญโญ, มหาเถรเจ้าญาณกิตติ, เจ้าตนน้อง, สังฆเถร, อุบาสก, อุบาสิกา, นักบุญ, สังฆเถร, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระเป็นเจ้า, หมื่นนาหลังยอด, หมื่นแปน, พันเถ้าเมิงสิน, พันเถ้าเมืองสิน, พันเฒ่าเมิงสิน, พันเฒ่าเมืองสิน, เค้า, ประธาน, เจ้าเมิงสอยพญาว, เจ้าเมิงสอยพยาว, เจ้าเมิงสอยพะยาว, เจ้าเมิงสอยพะเยา, เจ้าเมืองสอยพญาว, เจ้าเมืองสอยพยาว, เจ้าเมืองสอยพะยาว, เจ้าเมืองสอยพะเยา, มหาเถรเจ้า, ออกสาขา, ล่ามบุตรา, เจ้าวัดเกิดหลวง, เจ้าสุนนอาราม, เถรเจ้าป่าสงัด, นักบุญชาวกลาดร่วง, เถรเจ้าวัดแปน, นักบุญสินบาน, นักบุญในเวียงเชียงแสน, พันนาวังเหนือ, พันนาวังใต้, พราน, นางล่ามแขก, ฟอนสุวรรณ, เจ้าไท, เจ้านาย, ทอง, เงิน, พยาว, พะยาว, พะเยา, งาง, เมิงบ่อ, เมืองบ่อ, เมิงลอ, เมืองลอ, อ้อย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, บริจาคสิ่งของ, บริจาคข้าพระ, หล่อพระพุทธรูป, อภิเษก, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, พระเสาร์, ราศีพิจิก, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, พระราหู, ราศีกรกฏ, ปีกุน, ปีดับไก๊, เดือนมาฆ, วันกัดไส้, เม็ง, ติดถี, ติดถิ, ดีถี, อัศเลษ, สมณฤกษ์, สังขยา, ครัว, อุปัฏฐาก, หอมหญับ, ปีกาเร้า, ปีดับไก๊, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาเถรสัทธรรมพีรคัมภีร์, บุคคล-มหาเถรเจ้าญาณกิตติ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2058 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1623?lang=th |
67 |
จารึกมหาเถรธรรมทิน |
ฝักขาม |
อ่านจับใจความได้เล็กน้อย เกี่ยวกับการอุทิศข้าพระแก่วัด แต่ในจารึกนี้ ปรากฏชื่อพระเถระองค์หนึ่งที่มีความสำคัญมากของล้านนาในสมัยพระเจ้าติโลกราช คือ พระมหาเถรเจ้าธรรมทิน แต่ในจารึกนี้เขียนตามตัวว่า “มหาเถนธำมะทิน” หากไม่มีพระเถระองค์อื่นที่ใช้นามนี้สืบต่อมาดุจ “สมณศักดิ์” หรือ “ฉายา” แล้ว พระมหาเถรเจ้าธรรมทินในศิลาจารึกนี้ ก็คงจะเป็นองค์เดียวกันกับ “ท่านพระธรรมทินนะ” ผู้เป็นองค์ประธานในการกระทำสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 8 ที่เรียกว่า “อัฏฐมสังคายนา” ในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช เมื่อปีพุทธศักราช 2020 ก็ได้ อนึ่งท่านพระมหาเถระผู้นี้ เป็นชาวเมืองเชียงราย จากหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ฉบับชำระใหม่ ของกรมศิลปากร ซึ่งท่านผู้ชำระ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับพระมหาเถระองค์นี้ไว้ว่า เมื่อพระศาสดาปรินิพพานได้ 1977 ปี ปลายปีฉลู จุลศักราช 705 พระเถระเหล่านั้นไปเมืองเชียงแสน แคว้นโยน (โยนก) ได้อุปสมบทกุลบุตรเป็นอันมากที่เกาะดอนแท่น ขอให้ทราบว่า พระมหาเถระอุปสมบทในคราวนั้น มีพระธรรมเสนาปติกุลวงศ์เป็นต้น ในปีจุลศักราชนั้นเอง พระมหาเถระทั้งหลาย ท่านได้สร้างมหาวิหารป่าแดงหลวง (วัดป่าแดง) ในวันเพ็ญ เดือน 3 ที่เชิงดอยจอมกิตติ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือนครเชียงแสน พระมหาเถรเหล่านั้น ภายหลังได้ทำการอุปสมบทกรรมในปีนั้นเอง ที่สุวรรณปาสาณกะ (แปลว่า แผ่นหินทองคำ เข้าใจว่า เป็นชื่อบ้านวังคำ ด้านตะวันออกเฉียงเหนือดอยตองเชียงรายในปัจจุบันนี้) ในเมืองเชียงราย ขอให้ทราบว่า พระมหาเถระที่ได้อุปสมบทในคราวนั้น คือ “พระธรรมทินนะ” เป็นต้น ท่านพระธรรมทินนะดังที่กล่าวมานี้ ท่านได้อุปสมบทในปี พ.ศ. 1977 ในรัชกาลของพระเจ้าสามฝั่งแกน พระราชบิดาของพระเจ้าติโลกราช |
จารึกมหาเถรธรรมทิน, ลพ. 11 จารึกสังฆราชาธรรมทิน พุทธศตวรรษที่ 21, ลพ. 11 จารึกสังฆราชาธรรมทิน พุทธศตวรรษที่ 21, ลพ. 11, ลพ./11, พช. 7, 339, ลพ. 11, ลพ./11, พช. 7, 339, จารึกพระมหาเถรเจ้าธรรมทิน, หินทรายสีเทา, แท่งสี่เหลี่ยมทรงสูง, ปลายแหลม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญีน้อย, สมพันน้อย, พันสรีทาด, พันนินร้อย, สังฆราชา, มหาเถรเจ้าธรรมทินเจ้า, ข้าพระ, นายไส, ขาเรน, สรีจูลา, จอม, นางบัว, คำต่อม, เถ้าสาม, เฒ่าสาม, ส้อยบุน, มงคน, ญากน, ออเงินพระ, ยาริ, คำปุด, โหะ, ล่ามน้อย, คำร้อย, คำกอง, แม่บัวขวัญ, เมิงสรีพัด, เมืองศรีพัด, พุทธศาสนา, รํ, ร่, ครัว, เริน, เรือน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-การอุทิศข้าพระ, บุคคล-พระธรรมทิน, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระธรรมทินนะ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1980?lang=th |
68 |
จารึกมหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า) |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกด้านที่ 1 ชำรุด จับใจความไม่ได้ ด้านที่ 2 เป็นรายชื่อชาวบ้านที่อุทิศที่ดินแก่วัด |
จารึกมหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า), ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, วัดร้าง, วัดแม่สุกพระธาตุ, ตำบลแม่สุก, อำเภอแม่สุก จังหวัดพะเยา, มหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า), ชาวเจ้า, พระภิกษุ, มอน, ขาวจุลา, พ่อมา, ปู่ชาย, แม่กำเพียน, แก้วกางหาวชื่อ, เมิงพะยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, อุทิศที่ดิน, เม็ง, มอญ, เต่าเส็ด, วงดวงชาตา, พระพุธ, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, ราศีกรกฏ, เขต, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแม่สุกพระธาตุ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน |
วัดแม่สุกธาตุ บ้านแม่สุก ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1924?lang=th |
69 |
จารึกมหาสามีเจ้าญาณเทพคุณวัดบ้านดอน |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2046 มหาสามีเจ้าญาณเทพคุณ วัดบ้านดอน ได้บริจาคข้าพระให้แก่วัดบ้านหนอง เป็นจำนวน 7 ครัว ข้อความต่อจากนั้นเป็นรายนามข้าพระ เงิน และสิ่งของที่บริจาค |
จารึกมหาสามีเจ้าญาณเทพคุณวัดบ้านดอน, พย. 10, พย. 10, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 105 ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ, หลักที่ 105 ศิลาจารึกวัดศรีอุโมงคำ, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, พ.ศ. 2046, พุทธศักราช 2046, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, จ.ศ. 865, จุลศักราช 865, หินทรายสีดำ, รูปใบเสมา, ที่ว่าการอำเภอเมือง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีเจ้าญาณเทพคุณ วัดบ้านดอน, เทพน้อย, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, โถงลอด, นังเอ้ย, นังเอื้อย, อ้ายมลาน, เทพพระคุณ, อีกอน, เก็บน้อย, พันเถ้าเมืองศรีพัด, พันเฒ่าเมืองศรีพัด, มหาอับไพรญะติกขะประหญา, ราชาวัดพระญาร่วง, ราชาวัดพญาร่วง, พันวันหนังสือเมือง, ล่ามพ่อเชิงคดีแคว้น, ลำพันพ่อน้อยเชียงดี, ลำพันจิตเชียงดี, ห้าสิบพุดเชียงดี, ญารังสีทนคนยาง, ญารังสีบ้านคนยาง, คนสังฆราชาพญาร่วง, คนสังฆราชาพระญาร่วง, ล่ามสวน, ล่ามนาพูซาง, เจ้าเถรหลานรักษา, เงินชื่อ, ปราสาทพระเจ้า, หอปิฎก, พุทธศาสนา, วัดบ้านหนอง, บริจาคข้าพระ, ถวายข้าพระ, วงดวงชาตา, ปีกาไก๊, วันเต่าสี, เม็ง, วันอังคาร, กฤติกา, ทาน, ครัว, ร่, พระพุทธรูป, ค่าคีง, ค่าคิง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, บุคคล-มหาสามีเจ้าญาณเทพคุณ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2046 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1588?lang=th |
70 |
จารึกมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2056 พระภิกษุฝ่ายสวนดอกไม้ จากวัด 19 วัด จำนวน 80 รูป มีมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิดเป็นประธาน ร่วมกับเจ้าเมืองพะเยา ได้มีบัญชาให้บรรดาข้าราชการช่วยกันพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับการชำระนครสีมา |
จารึกมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด, พย. 12, พย. 12, ศิลาจารึกวัดพระเกิด, ศิลาจารึกวัดพระเกิด ชร. 6 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 875, ศิลาจารึกวัดพระเกิด ชร. 6 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 875, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดร้างบริเวณโรงเรียนพะเยาพิทยาคม, วัดร้างบริเวณโรงเรียนพะเยาวิทยาคม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระสงฆ์ฝ่ายสวนดอกไม้, มหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด, ประธาน, มหาสามีพระ, พ่อหญอเจ้า, พ่อหญัวเจ้า, เจ้าเมืองพยาว, เจ้าเมิงพยาว, เจ้าเมืองพะเยา, เจ้าเมิงพะเยา, จิต, เจ้าหมื่นนาหลังยอด, เจ้าหมื่นซ้ายมงคลประหญา, เจ้าพันเถ้าเมืองศรีนน, เจ้าพันเถ้าเมิงศรีนน, เจ้าหมื่นดอนแกว่น, เจ้าราชบัณฑิตตนชื่อมงคลประหญา, วิสุทธาดิเรก, อเนกปัญญา, นครสีมา, พุทธศาสนา, วัดมหาโพธิ์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีมังกร, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีตุล, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีสิงห์, ปีระกา, ปีกาเร้า, เดือนจิตระ, โหสตระ, บุรพาษาฒ, บูรพาสาฒ, บุพพาสาฒ, เม็ง, วันอังคาร, วันเต่าเส็ด, สุทธศรัทธา, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2056, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2056 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1614?lang=th |
71 |
จารึกมหาสามีญาณคัมภีระ |
ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2046 มหาสามีญาณคัมภีร์ได้ชักชวนพระสงฆ์และฆราวาสสร้างอุโบสถหลังนี้ ปรารถนาให้ผลบุญบังเกิดแก่พระราชาและส่งผลให้ผู้ร่วมสร้างทุกคนได้ถึงซึ่งนิพพาน |
ชม. 6 จารึกการสร้างอุโบสถ, ชม. 6 จารึกการสร้างอุโบสถ, ชม. 6 จารึกมหาสามีญาณคัมภีระ พ.ศ. 2146, ชม. 6 จารึกมหาสามีญาณคัมภีระ พ.ศ. 2146, 1.4.1.1 อุโบสถ บ้านพระเนตร พ.ศ. 2046, 1.4.1.1 อุโบสถ บ้านพระเนตร พ.ศ. 2046, พุทธสถานเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2046, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-มหาสามีญาณคัมภีระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
ไม่พบที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2046 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13071?lang=th |
72 |
จารึกมหาวงศ์ฯ ซ่อมพระธาตุแช่แห้ง |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการบูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุแช่แห้ง ในปี พ.ศ. 2389 โดยครั้งนี้ได้มีการซ่อมสร้างทั้งพระมหาชินธาตุเจ้า, จตุจุลพระเจดีย์, พระวิหาร และศาลานางอย้อง โดยมีคณะสงฆ์ พร้อมด้วยสมเด็จเสฐบรมบพิตรองค์ทรงพระนามว่า มหาวงศวรราชานราธิบดี, พระบรมวงศานุวงศ์, ราชเสนาอำมาตย์ และราษฎร แห่งชัยนันทบุรี ร่วมสร้าง |
นน. 12 จารึกมหาวงศ์ฯ ซ่อมพระธาตุแช่แห้ง พ.ศ. 2389, นน. 12 จารึกมหาวงศ์ฯ ซ่อมพระธาตุแช่แห้ง พ.ศ. 2389, พ.ศ. 2389, จ.ศ. 1208, พุทธศักราช 2389, จุลศักราช 1208, พ.ศ. 2389, จ.ศ. 1208, พุทธศักราช 2389, จุลศักราช 1208, หินชนวน, รูปใบเสมายอดแหลม, ล้านนา, เจ้าอารามาธิบดี, มหสังฆคณาอารามาธิบดีเจ้า, ราชขัตติยราชวงศา, พระยาเสนาอำมาตย์รัฐประชานราช, สมเด็จเสฐบรมบพิตร, มหาวงศวรราชานราธิบดี, วรชัยนันทเทพบุรีนครราชธานี, พระหารหลวง, พระพิหารหลวง, ศาลาบาตร, มหาขัตติยราชวงศานุวงศ์, อัครมหาเสนาอำมาตย์, แสนหมื่นท้าวหาญคามโภชก, อัครราชเทวีศรีกัญญาขัตติยราชวงศา, เสนาอำมาตย์, ช่างก่อธาตุ, ช่างเหล็ก ช่างช่างเคิง ช่างเงิน ช่างคำ ช่างไม้, คณะสงฆ์เจ้า, คามโภชกะ, คามโภชกา, สัตร, ฉัตร, แกนเหล็ก, เครื่องผูก, เกิ้ง, ดอกบัวเงินบัวคำ, เด็ง, ระฆัง, อุโบสถ, จตุจุลพระเจดีย์, พระวิหาร, ศาลานางอย้อง, ยอดพระมหาชินธาตุเจ้าหลังหลวง, พระแช่แห้งน้อย, ศาลานางอย้อง, ประตูขง, ตำหนักทรงช้างยี, ศาลาบาตร, ประตูขงศาลานางอย้อง, ชัยนันทบุรี, ชัยนันทรัฐบุรี, พุทธศาสนา, รัฐนันทบุรี, ปฏิสังขรณ์, แผ่พระราชกุศล, พุทธาภิเษกหยาดน้ำ, กรวดน้ำ, วันกดสี, พระรัตนมหาชินธาตุ, สังขยา, สมเด็จบรมบพิตรภิเชษฐ์มหาวรราชวงศ์ฉัฏฐีพิสัยในชัยนันทบุรี, พระวรองค์, ลูกหมาก, มานข้าว, เสาตอหม้อ, ลำต้าย, เชฏฐ, เชษฐะ, สนำ, ระวายสง้า, ไถง, มิคสีร, มฤคศิระ, อาโป, ระวายสี, พระวัสสา, พิสัย, พระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2389, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนหินอ่อน, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง, จารึกพระพุทธศาสนา, จารึกบนใบเสมา, พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา, การบูรณะปฏิสังขรณ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2389 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3939?lang=th |
73 |
จารึกพุทธรักษา |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด จารึกด้านที่ 2 ระบุรายชื่อข้าพระ |
จารึกพุทธรักษา, พย. 20, พย. 20, จารึกพระรัตนตรัย, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ทิดเทพ, อุรา, แก้วหลง, สินโต, พุทธศาสนา, ครัว, วงดวงชาตา, พระจันทร์, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, พระเสาร์, พระราหู, ราศีพฤษภ, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1664?lang=th |
74 |
จารึกพอกคำพระเจ้าตนหลวง |
ฝักขาม |
ข้อความกล่าวถึงการถวายและหุ้มทองพระพุทธรูป พร้อมทั้งแต่งตั้งข้าพระไว้ประจำวัดเพื่อปฏิบัติดูแลในส่วนต่างๆ |
ชร. 2 จารึกพอกคำพระเจ้าตนหลวง พ.ศ. 2039, ชร. 2 จารึกพอกคำพระเจ้าตนหลวง พ.ศ. 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, จ.ศ. 857, จุลศักราช 857, หิน, รูปใบเสมา, วัดศรีสุทธาวาส, อำเภอเวียงป่าเป้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ข้าพระ, มหาสัง, ธัมมะกำเพียร, พระมหาเทวีเจ้า, นายอำแดง, นายคำช้อย, เทพมงคล, เอ้ยป้อม, จิตตะมงคล, ผ้าขาวอ้าย, สามขัง, ทิดรัด, ห้องเชิงคดี, ผะหญา, พุทธศาสนา, ถวายพระพุทธรูป, หุ้มทองพระพุทธรูป, ขอบบัวเสมา, วันจันทร์, ไทยรวงเร้า, ปีระวายสี, ไทยเต่าเส็ด, วงดวงชาตา, ปีดับเหม้า, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระจันทร์, ราศรีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีตุล, พระศุกร์, ราศีมีน, ราศีสิงห์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีกรกฎ, ราศีพิจิก, ปีดับเหม้า, พระเจ้าตนหลวง, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีสุทธาวาส เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทองพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีสุทธาวาส ตำบลสันสลี อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 29 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1413?lang=th |
75 |
จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว |
ฝักขาม |
ในด้านที่ 1 ขึ้นต้นจารึกเป็นคำนมัสการแด่พระพุทธเจ้าด้วยภาษาบาลี ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงศาสนาแห่งพระโคตมเจ้าล่วงพ้นไปแล้ว 2067 ปี ในด้านที่ 2 จารึกได้บ่งบอกถึงพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เรื่องที่ได้จากศิลาจารึกนี้ ที่น่าสังเกตก็คือ การใช้จุลศักราชและพุทธศักราชนั้นเป็นหลักฐานที่ตรงกับหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ดังที่ท่านผู้ชำระชี้แจงไว้ ส่วนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในจารึกนี้ควรจะได้แก่พระเจ้าตนหลวง ที่วัดศรีโคมคำ จังหวัดพะเยา นั่นเอง เพราะทางภาคเหนือแล้วก็มีพระพุทธรูปที่ใหญ่ที่สุดเพียงองค์เดียวเท่านั้น ประกอบกับหลักฐานที่พบศิลาจารึกหลักนี้ก็รับรองอยู่แล้วว่า พบที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยาก็เคยเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงรายมาก่อน หากความเข้าใจดังนี้ไม่ผิด จารึกหลักนี้แต่เดิมก็ควรจะปักอยู่ที่วัดศรีโคมคำ หรือวัดพระเจ้าตนหลวง ซึ่งเป็นประวัติการก่อสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพระเมืองแก้ว ปีพุทธศักราช 2067 |
จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, จารึกพระเจ้าตนหลวง (เมืองพยาว), พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, ศิลา, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระโคตม, พระโคดม, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ลัคนา, ราศีเมถุน, นิพพาน, หว่างคิ้ว, ศอก, ตา, วา, เค้าหน้า, หู, อก, คืบ, บ่า, คาง, หัวนม, แหล, สะดือ, แขน, เมาลีพระเจ้า, เมาลีพระพุทธรูป, หัวกลมหลวง, พระเศียรกลมใหญ่, ผม, เม็ดพระศก, เค้าพระพักตร์, วงพระพักตร์, พระขนง, พระเนตร, พระนาสิก, จมูก, พระโอษฐ์, ปาก, ดัง, พระกรรณ, พระอุระ, คอ, พระศอ, บ่า, พระอังสา, ดูกด่ำมีด, ดูกด้ามมีด, พระรากขวัญ, กระดูกไหปลาร้า, พระหนุ, เต้าพระถัน, พระกัจฉะ, รักแร้, สะดือ, พระนาภี, แขน, พระพาหา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2067 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2014?lang=th |
76 |
จารึกพระราชาอโศกราชฟังธรรมเทศนา |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2021 สมเด็จพระราชาอโศกราชผู้เป็นเจ้าได้ฟังธรรมเทศนา และอนุโมทนาด้วยความศรัทธา |
จารึกพระราชาอโศกราชฟังธรรมเทศนา, พย. 45, พย. 45, 1.5.1.1 บ้านสันต้นม่วง, 1.5.1.1 บ้านสันต้นม่วง, จ.ศ. 840, จุลศักราช 840, จ.ศ. 840, จุลศักราช 840, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, พ.ศ. 2021, พุทธศักราช 2021, หินทราย, รูปใบเสมา, ชำรุด, วัดร้าง, ตำบลใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพันหลวงสองขา, สมเด็จพระราช, สังฆราช, เจ้าเมิงพิง, เจ้าเมืองพิง, มหาสังฆราชาวัดหลวง, มหาสังฆราชาวัดคำ, มหาเถรธรรมจินดา, สมเด็จพระราชาอโศกราชผู้เป็นเจ้า, เจ้าหมื่นน้อยคอนแก้ว, เจ้าพันอินหนังสือเมิง, เจ้าพันอินหนังสือเมือง, เจ้าพันฟ้อน, เจ้าพันเถ้าเมิงแก้ว, เจ้าพันเฒ่าเมืองแก้ว, ปากธรรมรัด, นายญางูพูน, พุทธศาสนา, ฟังธรรมเทศนา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพุธ, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีกรกฎ, พระราหู, ปีเปิกเส็ด, เม็ง, วันอังคาร, วันกาเหม้า, ริกสหัสตะ, ฤกษ์หัสตะ, เดินผลคุณ, เดือนผลคุน, เดือนผาลคุน, วันพฤหัสบดี, วันกาไส้, ริกสสวัดสตี, ฤกษ์สวัสดี, อายุ-จารึก พ.ศ. 2021, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-สมเด็จพระราชาอโศกราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2021 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1753?lang=th |
77 |
จารึกพระยาหลวงวชิรปราการ |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงเหตุการณ์ครั้งเมื่อกษัตริย์อยุธยา (ธนบุรี) มีชัยเหนือล้านนา และได้อภิเษกพระยาหลวงวิเชียรปราการ จากกำแพงเพชร ให้เป็นเจ้าเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ พระยาหลวงวิเชียรปราการทรงเป็นผู้มีใจเลื่อมใสในศาสนา ได้มีศรัทธาให้ช่างสร้างแปงโกศเงินและโกศทองคำเพื่อใช้ประดิษฐานพระมหาชินธาตุเจ้า |
1.2.2.1 วัดพระธาตุศรีจอมทอง พ.ศ. 2323, 1.2.2.1 วัดพระธาตุศรีจอมทอง พ.ศ. 2323, ชม. 19 จารึกพระยาหลวงวัชชิรปราการอาราธนาพระธาตุฯ, ชม. 19 จารึกพระยาหลวงวัชชิรปราการอาราธนาพระธาตุฯ, จารึกพระยาหลวงวชิรปราการ, ชม. 19 จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง (พ.ศ. 2322), ชม. 19 จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง (พ.ศ. 2322), ชม. 19, ชม. 19, วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่, พระมหาชินธาตุเจ้า, กษัตริย์อยุธยา, เมืองหริภุญชัย, พระยาหลวงวชิรปราการกำแพงเพชร, นพบุรีศรีมหานครพิงไชยเชียงใหม่, พระมหาชินธาตุลพูน, พระมหาชินธาตุลำพูน, เจ้าแผ่นดินเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2322, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาวิเชียรปราการ, ยุคสมัย-จารึกสมัยธนบุรี, ยุคสมัย-จารึกสมัยธนบุรี-สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, วัตถุ-จารึกบนไม้, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงธนบุรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองกำแพงเพชร, บุคคล-พระยาวิเชียรปราการ |
พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 30 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2322 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15611?lang=th |
78 |
จารึกพระมหาเถรนำพระพุทธศาสนาจากลังกามาหริภุญชัย |
ฝักขาม |
กล่าวถึงพระมหาเถรเจ้า 25 รูป ที่ได้นำเอาพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปมายังอาณาจักรหริภุญชัย |
จารึกพระมหาเถรนำพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีป, ชร. 4, ชร. 4, จารึกการสืบพุทธศาสนาในลังกาทวีป, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, หินทรายสีน้ำตาล, หลักสี่เหลี่ยม, วัดร้าง, วัดรัตนวราราม, ตำบลท่าวังทอง, จังหวัดพะเยา, ตำบลดงเจน กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพระศรีสากยมุนีโคตมเจ้า, มหาเถรเจ้า, มหาสารมังคละ, มหาศรีสัทธรรมคุณวันรัตนลังการเถรเจ้า, ลังกาทวีป, ลังกาทิบ, ลังกาทีบ, เมิงหริภุญชัย, เมืองหริภุญชัย, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราหู, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พระมหาเถรเจ้า 25 รูป, เรื่อง-การนำพระพุทธศาสนามาจากลังกาทวีป, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2041 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1433?lang=th |
79 |
จารึกพระธาตุเจ้าเสด็จฯ |
ฝักขาม |
เป็นการบันทึกเหตุการณ์ที่น่าอัศจรรย์ โดยถือว่าพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฎิหาริย์ ว่า “ธาตุพระเจ้าได้เสด็จออกมาปรากฏดุจดังพระจันทร์ เมื่อวันเพ็ญ เดือน 6 ปีจอ จุลศักราช 973” ได้กล่าวถึง (คล้ายเรื่องที่มีอยู่ในตำนาน) ว่า “พระพุทธเจ้าโคตมะ ได้มาโปรดบริษัททั้งหลาย ถึงม่อนดอย” เรื่องที่ได้มาจากจารึกหลักนี้ แสดงว่าหมดสมัยราชวงศ์กษัตริย์มังรายแล้ว และดินแดนทางภาคเหนือของประเทศไทยในขณะนั้นบางครั้งก็ตกอยู่ในอำนาจของประเทศพม่า และในบางครั้งก็ขึ้นอยู่กับพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2154 เป็นรัชกาลของสมเด็จพระเอกาทศรถครองนครศรีอยุธยา เข้าใจว่าเมืองเชียงใหม่ตลอดจนล้านนา ตกอยู่ในอำนาจของพระองค์ด้วย เรื่องพระธาตุเสด็จในจารึกนี้ น่าเสียดายที่จารึกขาดหายไป จึงไม่รู้ว่า เป็นม่อนดอยอะไร หากจะให้สันนิษฐานแล้ว มั่นใจเหลือเกินว่าเรื่องนี้จะเป็นเรื่องตำนานพระธาตุจอมกิตติที่เมืองเชียงแสน เพราะองค์พระธาตุนั้นยังตั้งอยู่บนม่อนดอยขนาดย่อมอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ |
จารึกพระธาตุเจ้าเสด็จฯ, ลพ. 17, ลพ./17, พช. 19, 336, ศิลาจารึก ลพ. 17 อักษรไทย จ.ศ. 973, ลพ. 17, ลพ./17, พช. 19, 336, ศิลาจารึก ลพ. 17 อักษรไทย จ.ศ. 973, พ.ศ. 2154, พุทธศักราช 2154, พ.ศ. 2154, พุทธศักราช 2154, จ.ศ. 973, จุลศักราช 973, จ.ศ. 973, จุลศักราช 973, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, เจ้าอานนท์, อรหันตาเจ้า, พระเจ้าโคตมะ, บริษัท, ขุนหมื่น, พระสังขมงคลปัญโญ, พระญาขวาเชียงราย, ม่อนดอย, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุเจ้า, ถวายนา, อุทิศนา, คระชิง, กระชิง, ทานเคน, ทานประเคน, บุญรายสรี, บุญราศรี, เพ็ญ, ปีกดเส็ด, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, ราศีมีน, ลัคนา, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีพฤษภ, พระพฤหัสบดี, ราศีกรกฎ, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ญาน, ครัว, อากาศ, พระราหู, ราศีเมถุน, ธาตุพระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2154, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระชัยทิพ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุ, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, จารึกบ้านเชียงแล(เชียงแสน), พ.ศ.2513, จ.ศ.2153, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2153 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2132?lang=th |
80 |
จารึกพญาแสนหลวงพิงไชย |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกกล่าวถึง พระเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่ง ว่าทรงมีบัญชาให้พระยาแสนหลวงพิงชัยทำพิธีทานด้วยการอุทิศข้าพระให้ปฏิบัติดูแลแก่อารามป่าญางเถียงแชง |
จารึกพญาแสนหลวงพิงไชย, ลพ. 43, ลพ. 43, ศิลาจารึก (วัดช้างค้ำ) ลพ./43 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 919, ศิลาจารึก (วัดช้างค้ำ) ลพ./43 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 919, พ.ศ. 2100, พุทธศักราช 2100, พ.ศ. 2100, พุทธศักราช 2100, จ.ศ. 919, จุลศักราช 919, จ.ศ. 919, จุลศักราช 919, วัดพระธาตุหริภุญไชย, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าอยู่หัว, เจ้าพระยาแสนหลวงพิงชัย, เอกเสนานิมิตร์, เจ้าปาครัว, หญิง, เถรผดา, พุทโธปถาก, เจ้าปก, เจ้าแคว้น, นายบ้าน, นายเมือง, นายเลี้ยง, นายดู, เจ้าหมื่นดาบเรือนซ้าย, พวกตองแต้มขวา, พวกต้องแต้มขวาชื่อ, โรงดิน, พุทธศาสนา, อารามป่าญางเถียงแชง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีเมถุน, พระจันทร์, พระพุธ, พระราหู, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีตุล, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, ลัคนา, ราศีกันย์, ดิถี, นาที, มะเส็งฉนำ, กัมโพชภาษา, ขอมพิไสย, ปีเมิงไส้, ทวิราสาฒ, วันจันทร์, วันกาบสัน, ยามเที่ยง, ออก, ทาน, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2100, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระยาหลวงแสนหลวงพิงชัย, ไม่มีรูป, ไม่มีสำนา |
หอกังสดาล วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2100 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2153?lang=th |
81 |
จารึกประตูสวนดอก 3 |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกประกอบด้วยตัวเลข ยันต์ และวงดวงชะตา |
ชม. 37 จารึกดวงเลข ประตูสวนดอก, ชม. 37 จารึกดวงเลข ประตูสวนดอก, ชม. 37/3 จารึกประตูสวนดอก 3, ชม. 37/3 จารึกประตูสวนดอก 1, ชม. 37/3, ชม. 37/3, ประตูสวนดอก ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกประตูสวนดอก เชียงใหม่ |
ประตูสวนดอก ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14636?lang=th |
82 |
จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 3 |
ธรรมล้านนา |
ข้อจารึกประกอบด้วยตัวเลขในเรือนยันต์ |
ชม. 36 จารึกดวงเลข ประตูท่าแพ, ชม. 36 จารึกดวงเลข ประตูท่าแพ, ชม. 36/3 จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 3 (INS. XXV), ชม. 36/3 จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 3 (INS. XXV), 36/3, ชม. 36/3, ประตูท่าแพ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกประตูท่าแพ เชียงใหม่ |
ประตูท่าแพ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14640?lang=th |
83 |
จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 2 |
ธรรมล้านนา |
ข้อความรอบด้านประกอบด้วยตารางคาถา วงดวงชาตา และตัวเลขในเรือนยันต์ |
ชม. 36 จารึกดวงเลข ประตูท่าแพ, ชม. 36 จารึกดวงเลข ประตูท่าแพ, ชม. 36/2 จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 2, ชม. 36/2 จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 2, ชม. 36/2, ชม. 36/2, ประตูท่าแพ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกประตูท่าแพ เชียงใหม่ |
ประตูท่าแพ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15503?lang=th |
84 |
จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 1 |
ธรรมล้านนา |
ข้อความรอบด้านประกอบด้วยวงดวงชาตาและตัวเลข |
ชม. 36 จารึกดวงเลข ประตูท่าแพ, ชม. 36 จารึกดวงเลข ประตูท่าแพ, ชม. 36/1 จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 1, ชม. 36/1 จารึกประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ 1, ชม. 36/1, ชม. 36/1, ประตูท่าแพ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกประตูท่าแพ เชียงใหม่, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
ประตูท่าแพ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
ไม่ปรากฏศักราช |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14533?lang=th |
85 |
จารึกปกเวียงพยาว |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุดมาก ด้านที่ 3 ปรากฏรายชื่อบุคคลที่ร่วมกันทำบุญ |
จารึกปกเวียงพยาว, จารึกปกเวียงพะเยา, พย. 23, พย. 23, พ.ศ. 2025, พุทธศักราช 2025, พ.ศ. 2025, พุทธศักราช 2025, จ.ศ. 844, จุลศักราช 844, จ.ศ. 844, จุลศักราช 844, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยมปลายมน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาสามีอุปคุตเจ้า, กองแก้วนายวัด, อาจารย์ขนานเชียงยืน, เจ้าหมื่นน้อยนาหลังแก่นชาย, เวียงพยาว, เวียงพะเยา, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, ปล่อยสัตว์, วงดวงชาตา, ปีขาล, ปีเต่ายี, เดือนมาฆะ, เหมันตฤดู, โหรา, บุญ, เวร, คำผาถนา, คำปรารถนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, พ.ศ. 2025, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2025 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1687?lang=th |
86 |
จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุปี พ.ศ. 2038 และพระนามของพระเจ้าแผ่นดิน คือ ศรีธรรมมหาบรมราชาจักรวรรดิธรรมิกราชาธิราชกับพระมหาราชเทวี |
ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง, ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง, 1.2.1.1 บ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2039, 1.2.1.1 บ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2039, ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2038, ชม. 62 จารึกบ้านหนองน้ำถุ้ง พ.ศ. 2038, ชม. 62, ชม. 62, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, รูบใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ศรีธรรมมหาบรมราชาจักรวรรดิธรรมิกราชาธิราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2038 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15665?lang=th |
87 |
จารึกนางแสนพลัวสร้างพระพุทธรูปไสยาสน์ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2129 (หรือ พ.ศ. 2130 ถ้านับแบบลังกา) นางแสนพลัวได้สร้างพระพุทธรูปด้วยใจศรัทธา |
จารึกนางแสนพลัวสร้างพระพุทธรูปไสยาสน์, นน. 5, นน. 5, พ.ศ. 2129, พุทธศักราช 2129, พ.ศ. 2129, พุทธศักราช 2129, พ.ศ. 2130, พุทธศักราช 2130, พ.ศ. 2130, พุทธศักราช 2130, จ.ศ. 948, จุลศักราช 948, จ.ศ. 948, จุลศักราช 948, หินทราย,รูปใบเสมา, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อดีตพุทธ, อนาคตวรพุทธศาสนา, อนาคตพุทธ, นางแสนพลัว, มหาอุบาสิกา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, สร้างพระพุทธปฏิมา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, ราศีมังกร, พระอังคาร, พระราหู, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีมีน, ปีจอ, ปีระวายเส็ด, เดือนมาฆ, ศุกลตติยา, ออก, กาไก๊, นักขัตฤกษ์, ธนิษฐา, พระพุทธปฏิมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2129, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางแสนพลัว, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2129 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1538?lang=th |
88 |
จารึกถ้ำจอมธรรม |
ฝักขาม |
ในปี พ.ศ. 2045 สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า พร้อมด้วยอำมาตย์มนตรี ที่มาร่วมเป็นสักขีพยาน ในการทำบุญอุทิศส่วนกุศล แก่สมเด็จบพิตรพระอัครราชมาดาพระมหาเทวีเจ้า ด้วยการไถ่ข้าพระจำนวน 12 ครัว |
ลป. 7 จารึกดอยจำ พ.ศ. 2045, ลป. 7 จารึกดอยจำ พ.ศ. 2045, จารึกถ้ำจอมธรรม, ลป. 7, ลป. 7, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม, ภาษาไทย, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, ม.ศ. 1424, มหาศักราช 1424, ม.ศ. 1424, มหาศักราช 1424, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดลำปาง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สักขีพยาน, เป็นเค้า, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า, พระราชมนตรี, พันโคตรพระขัน, หมื่นน้อยคำชลุนจุลาต้องแต้ม, เจ้าร้อยดง, เด็กชาย, เจ้าพวกพรมสือมิตรสันเถ้า, เจ้าพวกพรมสือมิตรสันเฒ่า, เจ้าพุทธิมาจารย์, ครู, กุศลโกฐาส, เค้า, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า, พระราชมนตรี, พันโคตรพระพัน, หมื่นน้อยคำชลุนจุลาต้องแต้ม, เจ้าร้อยดง, เด็กชาย, เจ้าพวกพรมสือ, มิตรสันเถ้า, มิตรสันเถ้า, เจ้าพุทธิมาจารย์, ครู, สมเด็จบพิตรพระอัครราชมาดามหาเทวีเจ้า, พระเจ้าดอยจำ, นักบุญ, คนเมือง, ท้าวพระยาอำมาตย์, ราชมนตรี, อาจารย์ญาวิลาสป่าแดง, สืบทอง, ธรรมบาล, อโน, หนอยขอด, จัน, ลวะ, บุญหลวง, อาจารย์ธรรมเตชะ, ข้าพระ, เบ้, เบี้ย, จังหัน, เงินพระ, พุทธศาสนา, ไถ่คน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, ราศีตุล, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีมังกร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, พระราหู, ราศีเมษ, มคธ, เม็ง, ปีจอ, หนไทย, เต่าเส็ด, เดือนเจียง, ดิถี, อุตราสาฒ, นักษัตร, วันอาทิตย์, เปลิกยี่, เปลิกยี, ยามแตร, นพเคราะห์, นบพระเคราะห์, ทวาทสอาวาส, พระราชอาทิตย์, ดุล, ลักษณ์, มนุษย์วิสัย, กุศลโกฐาส, ครัว, ทาน, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกศาลากลางจังหวัดลำปาง ลำปาง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ไถ่ข้าพระ |
ศาลากลางจังหวัดลำปาง ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง |
พุทธศักราช 2045 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1963?lang=th |
89 |
จารึกดวงชาตาบนส่วนยอดของใบเสมา |
ฝักขาม |
เป็นวงดวงชาตาระบุฤกษ์, วันเดือนปีที่จารึก |
จารึกดวงชาตาบนส่วนยอดของใบเสมา, พย. 73, พย. 73, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, หินทรายสีน้ำตาล, ใบเสมาชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระพฤหัสบดี, ราศีสิงห์, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีมีน, ราศีเมถุน, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2042, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2042 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1884?lang=th |
90 |
จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2147 (สมเด็จ) บรมบพิตรพระเป็นเจ้าเมืองเชียงแสน พร้อมทั้งพระมหาสมเด็จราชครู วัดพระหลวง และพระสังฆโมลี ร่วมกันสร้างรูปพระฤาษีตนนี้ ต่อจากนั้นเป็นคำไหว้พระธาตุบนดอยตุง ตำนานพระธาตุดอยตุงโดยย่อ และคำอธิบายรูปที่ฐานรูปพระฤาษี |
ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, จารึกดอยตุง, ชร. 6, ชร. 6, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, T. 62, ช.ส. 58, T. 62, ช.ส. 58, Dòy Tung A.D. 1605, Dòy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, ประติมากรรมฤาษีกัมมะโล, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, สำริดสีเขียว, สัมฤทธิ์สีเขียว, ฐานพระฤาษีวัชมฤค, วัดน้อยดอยตุง, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้ารัสสี, พ่อนาง, แม่นาง, บรมบพิตร, พระเป็นเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, พระมหาสมเด็จราชครูเจ้าวัดพระหลวง, พระพุทธเจ้า, พระสงฆมูฬีเจ้า, พระสงฆ์มูฬีเจ้า, ประธาน, อำมาตย์, ลูกชาวสากยะ, พระเจ้าไพลองอากาศ, อานนท์, พระยาอินทร์, เทวบุตร, พระยามังราย, พระยามังคราม, พระยาแสนพู, พระยาคำฟู, พระยาผายู, ท้าวพันตู, ชาวมิลักขุ, พระยาอุชุตตราช, กวาง, หม้อน้ำมัน, ภาชนะ, ไหน้ำ, ไม้คาน, ก้อนเส้า, ไม้เท้า, หินหมากนาวตัด, ข้าว, ทุง, ธง, เมิงเชียงแสน, เมืองเชียงแสน, ดอยปู่เจ้า, เมิงยวน, เมืองยวน, พุทธศาสนา, บูชาพระธาตุเจ้า, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีธนู, พระราหู, ราศีตุล, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีกาบสี, ออก, เม็ง, มอญ, ไทยกาบสัน, กลองงาย, กรรมภาระ, นิทาน, พุทธทำนาย, บิณฑบาต, บิณฑบาต, นิพพาน, ผืน, หยาดน้ำ, อุปฐาก, ครัว, แช่ง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2147, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรูปเคารพ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุดอยตุง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงแสน, บุคคล-พระมหาสมเด็จราชครู, บุคคล-พระสังฆโมลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2147 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1441?lang=th |
91 |
จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม |
ฝักขาม |
เมื่อปี จ.ศ. 964 หรือ พ.ศ. 2145 พญาแสนหลวงพิงไชยนครและพระสงฆ์เชิญชวนให้บรรดาเจ้าขุนทั้งหลายร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยมีเจ้าหัวแสนหลวงไนเป็นองค์อุปถัมภ์ |
ลป. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม พ.ศ. 2145, ลป. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม พ.ศ. 2145, วัดเกาะวาลุการาม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, จ.ศ. 964, พ.ศ. 2145, จ.ศ. 964, พ.ศ. 2145, จุลศักราช 964, พุทธศักราช 2145, จุลศักราช 964, พุทธศักราช 2145, อาณาจักรล้านนา, พญาแสนหลวงพิงไชยนคร, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2145, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเกาะวาลุการาม ลำปาง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-พญาแสนหลวงพิงไชยนคร |
วัดเกาะวาลุการาม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18127?lang=th |
92 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2272 พระญาหลวงเจ้ามังคละสะแพก เจ้าเมืองเชียงแสนและบุษบาสิริวธนเทพาราชกัญญาเจ้า มีศรัทธาหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่วัดศรีสองเมือง ซึ่งสร้างขึ้นคลุมสุสานเจ้าราชบุตรยอดงำเมือง |
ชร. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง พ.ศ. 2269, ชร. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง พ.ศ. 2269, จุลศักราช 1088, จุลศักราช 1088, จ.ศ. 1088, จ.ศ. 1088, พุทธศักราช 2269, พ.ศ. 2269, พุทธศักราช 2269, พ.ศ. 2269, พุทธศักราช 2272, พ.ศ. 2272, พุทธศักราช 2272, พ.ศ. 2272, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดพระเจ้าล้านทอง, ตำบลเวียง, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, เชียงราย, เชียงแสน, ลักขบุรี, พระยอดงำเมือง, ราชบุตร, พระยาหลวงเจ้ามังคละ, บุษบาสิริวธนเทพาราชกัญญา, พุทธศาสนา, การหล่อพระพุทธรูป, พระพุทธรูป, สุสาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2272, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกวัดพระเจ้าล้านทอง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ผู้ครองเมืองเชียงแสน, พระญาหลวงเจ้ามังคละสแพก |
วิหารวัดพระเจ้าล้านทอง ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2272 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1950?lang=th |
93 |
จารึกชิ้นส่วนของเสมา |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด ระบุเพียงศักราชที่จารึกคือ จ.ศ. 884 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2065 |
จารึกชิ้นส่วนของเสมา, พย. 18, พย. 18, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, พ.ศ. 2065, พุทธศักราช 2065, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, จ.ศ. 884, จุลศักราช 884, หินทรายสีแดง, วัดร้าง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, ปีเต่าสง้า, ปีเต่าซง้า, ออก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ลักษณะ-จารึกชิ้นส่วนเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2065, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2065 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1653?lang=th |
94 |
จารึกชาวอ้ายดาบเรือน |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2067 (ใน ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1 ว่าเป็น พ.ศ. 2068) กษัตริย์เชียงใหม่มีพระราชโองการแต่งตั้งให้ เจ้าพวกดาบเรือน เป็นเจ้าพันธสังฆการีเชียงราย มีอำนาจผูกพัทธสีมาในวัด |
ชร. 36 จารึกชาวอ้ายดาบเรือน พ.ศ. 2067, ชร. 36 จารึกชาวอ้ายดาบเรือน พ.ศ. 2067, จารึกเวียงชัย, ชร. 36, ชร. 36, 156/30, 156/30, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2068, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2068, Wiang Chai A.D. 1525, Wiang Chai A.D. 1525, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, จ.ศ. 866, พุทธศักราช 866, พ.ศ. 866, พุทธศักราช 866, หิน, อำเภอเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พวกดาบเรือน, พันสังฆการีเชียงราย, ชาวอ้ายดาบเรือน, จืงเมือง, สิงเมือง, เจ้าพัน, ปากรัด, โรงคำ, ปราสาททอง, ท้องพระโรง, ผูกพัทธสีมา, ปีกาบสัน, เดินห้า, เดือนห้า, ออก, วันกัดไก๊, เมง, มอญ, วันศุกร์, กลองงาย, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-เจ้าพวกดาบเรือน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2067 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1411?lang=th |
95 |
จารึกฉลองพระวิหารหลวงเจ้าพูเพียง |
ธรรมล้านนา |
วงดวงชาตาระบุวันที่มีงานฉลองพุทธาภิเษกพระวิหารหลวงเจ้าพูเพียง คือวันพุธ เดือนเมษายน พ.ศ. 2448 พระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดช พระเจ้านครน่าน องค์ที่ 7 ได้มอบทุนทรัพย์ในการหุ้มมหาเจดีย์บรรจุพระเกศาธาตุด้วยปีตะโลหะ (โลหะสีเหลือง) ติดทับด้วยทองคำเปลว แล้วจึงได้สร้างวิหารหลวงขึ้นใหม่ กว้าง 7 วา ยาว 17 วา สูง 7 วา 1 ศอก ก่อกำแพงอิฐ สร้างศาลาบาตรมุงด้วยอิฐ มีทางเข้าออก 4 ด้าน มีรูปปั้นสิงโต 6 ตัว สร้างวิหารพระทันใจ มีรูปปั้นนาคตัวใหญ่ 2 ตัว และสร้างถนนระหว่างนาค 2 ตัวนั้น พระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดชเป็นพระธาน พร้อมด้วยอัครราชชายาศรีนุกัญญา ราชบุตร ราชธิดา ราชเสวก ไวยาวัจกร และข้าทาสทั้งหลาย ได้ร่วมกันปฏิสังขรณ์จนแล้วเสร็จ จากนั้นได้ร่วมถวายภัตตาหารแลไทยทานแด่พระสงฆ์ จำนวน 1,182 รูป อันมีพระราชาคณะ ทรงพระนามว่าพระชยานันทมุนี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ |
นน. 11 จารึกฉลองพระวิหารหลวงเจ้าพูเพียง พ.ศ. 2448, นน. 11 จารึกฉลองพระวิหารหลวงเจ้าพูเพียง พ.ศ. 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2448, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2448, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2448, จุลศักพัท 1267 ตัว, จุลศักพัท 1267 ตัว, รัตนโกสินทรศก 124, รัตนโกสินทรศก 124, ศักราช 950 ตัว, ศักราช 950 ตัว, จุลศักราช 950, จุลศักราช 950, พุทธศักราช 2131, พุทธศักราช 2131, หินชนวน, รูปใบเสมา, ล้านนา, พระเจ้านครน่าน องค์ที่ 7, พระเจ้านครน่าน องค์ที่ 7, พระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดช กุลเชษฐ์มหันตชัยนันทบุระมหาราชวงศาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวลักษณ์ วิบูลย์ศักดิ์กิติไพศาลภูบาลบพิตรสถิตนันทราชวงศ์, พระสัมมาสัมพุทธโคตมเจ้า, พระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดช, อัครราชชายาศรีนุกัญญา, ราชบุตรา, ราชบุตรี, ราชเสวก, ไวยาวัจกร, ทาสา, ทาสี, มหาขัตติยราชวงศานุวงศ์, นายแขวง, นายแคว้น, ข้าหลวง, พระรัตนสังฆเจ้า, พระราชาคณะ, พระชยานันทมุนี, คณะพระสังฆ, พระยาหน่อคำเสฐียรชัยสงครามเจ้านครน่าน, ปีตะโลหะ, ทองคำเปลว, รูปปั้นสิงโต, รูปปั้นนาค, แผ่นทองหลุบพระธาตุ, พระวิหารหลวงเจ้าพูเพียง, ศาลาบาตร, ถนนระหว่างนาค, ข่วงแก้วอาราม, พูเพียงแช่แห้ง, จังหวัดนครน่าน, จังหวัดน่าน, วิหารแช่แห้ง, พุทธศาสนา,วันฉลองทาน, วันฉลองพุทธาภิเษก, คัมภีร์ศาสนติกาจาริยมาลีสังเกต, หุ้มมหาเจดีย์เกศาธาตุ, สร้างแปลงวิหารหลวง, สร้างแปงวิหารหลวง, ก่ออิฐกำแพง, สร้างบายศรีแวดตีนธรณีมหาเจดีย์ธาตุเจ้า, ถวายอาหารบิณฑบาต, ซ่อมสร้างพระธาตุเจ้า, ปฏิสังขรณ์วิหาร, วันพุธ, วันเปิกไจ้, ขงชาตา, วงดวงชาตา, ขงชะตา, วงดวงชะตา, ดวงฤกษ์, คณะกำเนิด, คณะอัตตา, กัมโพช, คิมหันตฤดู, จิตรมาส, ปุณมี, ปีดับไส้, เพ็ง, วันเพ็ญ, บุรพผลคุน, กรกฎ, อาโป, สโมธาน, รัฏฐประชา, รัฐประชา, ไทยทาน, ปริโยสาน, ทุนทรัพย์ราชสมบัติ, อัฐ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3936?lang=th |
96 |
จารึกการสร้างฉัตร |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2375 มหาสวาธุเจ้าสังฆราชาประธานฝ่ายสงฆ์และพระสงฆ์ทุกวัด ร่วมกับพระองค์เจ้าสุวรรณหอคำเขลางค์ลัมพกบุรีประธานฝ่ายฆราวาส, เจ้าพระยามหาอุปราชา, เจ้าพระยาราชวงศ์,เจ้าพระยารัตนหัวเมืองแก้ว, เจ้าพระยาชัยสงคราม, เจ้าพระยาราชบุตรวรราชกนิษฐา และเจ้าพระยาศรีสุริยวงศา พร้อมใจกันสร้างฉัตรเพื่อบูชาพระธาตุ และได้แต่งทูตไปกราบทูลพระมหากษัตริย์เจ้ากรุงศรีอยุธยา พระมหากษัตริย์เจ้ามีพระหฤทัยยินดีจึ่งได้พระราชทานแก้วและทองคำเปลวแก่คณะผู้สร้างฉัตร |
จารึกการสร้างฉัตร, ลป. 3 จารึกการสร้างฉัตร พ.ศ. 2375, ลป. 3 จารึกการสร้างฉัตร พ.ศ. 2375, พ.ศ. 2375, พุทธศักราช 2375, พ.ศ. 2375, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, จุลศักราช 1194, จ.ศ. 1194, จุลศักราช 1194, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไทยเปลิกยี, ปีเต่าสี, อนาคตพุทธ, มหาสวาธุเจ้าสังฆราชา, พระอริยสังฆเจ้า, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างฉัตร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-พระองค์เจ้าสุวรรณหอคำเขลางค์ลัมพกบุรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, บุคคล-พระองค์เจ้าสุวรรณหอคำเขลางค์ลัมพกบุรี, บุคคล-เจ้าพระยามหาอุปราชา, บุคคล-เจ้าพระยาราชวงศ์, บุคคล-เจ้าพระยารัตนหัวเมืองแก้ว, บุคคล-เจ้าพระยาชัยสงคราม, บุคคล-เจ้าพระยาราชบุตรวรราชกนิษฐา, บุคคล-เจ้าพระยาศรีสุริยวงศา, บุคคล-พลวิชัยภิกขุ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 2 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2551) |
วิหารหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง ต.ลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2375 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16147?lang=th |
97 |
จารึกการปฏิสังขรณ์ศาลาวัดพระธาตุลำปางหลวง |
ธรรมล้านนา |
เมื่อปี พ.ศ. 2456 พระครูธรรมจินดามุนีเจ้าคณะใหญ่เมืองนครลัมพางเจ้าอารามวัดสวนดอกบุปปาวรารามได้เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วยพระครูเจ้าคณะทุกแขวง เจ้าหัวหมวดทุกองค์ เจ้าอธิการทุกวัดกับลูกศิษย์ ร่วมกับพระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิตผู้เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมด้วยเจ้าพระยาสุวันทราชเสนาหลวงประจำเมืองนครลัมพางและเจ้าสวาริด เจ้าบุรี เจ้าราชบุตร เจ้าราชปกิตตวงษา เจ้านายท้าวพระยาข้าราชการตลอดจนบุตราบุตรีราษฎรชายหญิงพร้อมกันปฏิสังขรณ์ศาลาส่วนระเบียงที่ล้อมรอบพระธาตุเจ้าวัดลัมพางหลวงจตุรทิศทั้ง 4 ขึ้น เพื่อถวายเป็นพระกุศลแด่พระองค์มหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวองค์เสวยราชสมบัติขอให้พระองค์พ้นจากภัยและมีพระชนมายุยืนยาว |
ลป. 13 จารึกการปฏิสังขรณ์ศาลาวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2456, ลป. 13 จารึกการปฏิสังขรณ์ศาลาวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2456, พ.ศ. 2456, พุทธศักราช 2456, พ.ศ. 2456, พุทธศักราช 2456, จ.ศ. 1275, จุลศักราช 1275, จ.ศ. 1275, จุลศักราช 1275, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, วันอังคาร, วันดับเม็ด, ปีกาเปล้า, ไทยดับเหม้า, อนาคตวรพุทธศาสนา, พระครูธรรมจินดามุนี, เมืองนครลัมพาง, เจ้าอารามวัดสวนดอกบุปปาวราราม, พระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิต, เจ้าพระยาสุวันทราช, เสนาหลวง, เจ้าสวาริด, เจ้าบุรี, เจ้าราชบุตร, เจ้าราชปกิตตวงษา, ปฏิสังขรณ์ศาลา, ระเบียง, พระมหาชินธาตุเจ้า, พระองค์มหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระครูธรรมจินดามุนี, พระครูลักขิตตคุณ, พระธรรมเสนาวัดคลีชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2456, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, บุคคล-พระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิต, บุคคล-เจ้าพระยาสุวันทราช, บุคคล-เจ้าสวาริด, บุคคล-เจ้าบุรี, บุคคล-เจ้าราชบุตร, บุคคล-เจ้าราชปกิตตวงษา, บุคคล-พระครูธรรมจินดามุนี, บุคคล-พระครูธรรมจินดามุนี, บุคคล-พระครูลักขิตตคุณ, บุคคล-พระธรรมเสนา |
จากการสำรวจเมื่อ 27 กรกฎาคม 2560 ไม่พบจารึกดังกล่าว |
พุทธศักราช 2456 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18134?lang=th |
98 |
จารึกการปฏิสังขรณ์พระมหาชินธาตุเจ้าลำปาง |
ธรรมล้านนา |
วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 ครูบาถา ถาวโร เจ้าอาวาสเป็นประธานฝ่ายสงฆ์พร้อมกับด้วยสิกยมแลครูบาเจ้าอันอยู่อุโบสถเดียวกัน ทั้งฝ่ายฆราวาสได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการวัด และศรัทธาชาวบ้านทุกคนได้เห็นมหาชินธาตุเจ้าถูกสายฟ้าผ่า ดูไม่สวยงาม จึงได้ปรึกษากันเป็นเอกฉันท์กันทั้ง 2 ฝ่ายคือทั้งฝ่ายสงฆ์และฆราวาส แล้วนำกราบยังพระครูอุดมศรัทธาคุณทราบ และเรียนไล่ตามลำดับถึงพระคุณเจ้าคณะใหญ่จังหวัด พระราชวิสุทธี คุณจรูญ สุวรรณมาส วัฒนธรรมจังหวัดก็ได้มีใบบอก เมื่อท่านพระคุณเจ้าได้มาดูเหตุการณ์ก็จึงได้ประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อรายงานไปยังกรมศาสนา ของบจากสภา ท่านจอมพล ป. แปลก พิบูลสงคราม นั้นก็ได้มอบเงินส่วนตัว 40,000 บาท ร่วมปฏิสังขรณ์มหาชินธาตุลำปางเจ้านี้ด้วย |
ลป. 16 จารึกการปฏิสังขรณ์พระมหาชินธาตุเจ้าลำปาง พ.ศ. 2500, ลป. 16 จารึกการปฏิสังขรณ์พระมหาชินธาตุเจ้าลำปาง พ.ศ. 2500, พ.ศ. 2500, พุทธศักราช 2500, พ.ศ. 2500, พุทธศักราช 2500, จ.ศ. 1319, จุลศักราช 1319, จ.ศ. 1319, จุลศักราช 1319, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, ครูบาถา ถาวโรเจ้า, พระมหาชินธาตุเจ้าลำปาง, ฟ้าผ่า, มณีรัตนา, พระครูอุดมศรัทธาคุณ, พระราชวิสุทธี, คุณจรูญ สุวรรณมาส, กรมศาสนา, จอมพล ป. แปลก พิบูลสงคราม, ยอดฉัตร, แหวนเก่า, ทองจังโก, ทองคำ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2500, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 9, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายแหวน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ครูบาถา ถาวโรเจ้า, บุคคล-พระครูอุดมศรัทธาคุณ, บุคคล-พระราชวิสุทธี, บุคคล-จรูญ สุวรรณมาส, บุคคล-แปลก พิบูลสงคราม |
วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2500 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18141?lang=th |