ชุดข้อมูลจารึกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 25
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 (พ.ศ. 2401-2500)
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกในวิหารพระเหลือ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
รัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งยังทรงเป็นสามเณร ได้บริจาคพระราชทรัพย์เพื่อสร้างวิหารพระเหลือขึ้นใหม่ แทนของเดิมที่ทรุดโทรม ต่อมาเมื่อทรงขึ้นครองราชย์แล้วได้พระราชทานนามพระเหลือ ว่า พระเสสันตปฏิมา และวิหารพระเหลือว่า พระเสสันตมาลก โดยโปรดให้มีการเฉลิมฉลองใน พ.ศ. 2413 |
ชื่อจารึก : หลักที่ 176 จารึกในพระวิหารพระเหลือ, พล.6, หลักที่ 176 จารึกในพระวิหารพระเหลือ, พล. 6ศักราช : จ.ศ. 1228, พ.ศ. 2409, จุลศักราช 1228, พุทธศักราช 2409, จ.ศ. 1224, พ.ศ. 2409, จุลศักราช 1228, พุทธศักราช 2409 วัตถุจารึก : หินอ่อน สีขาวลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สถานที่พบ : พระวิหารพระเหลือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 4 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ สถานที่ : พระวิหารพระเหลือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ศาสนา : พุทธศาสนาอื่นๆ : พระเสสันตะมาลก, พระเสสันตปฏิมา, พระพุทธชินราช, ผ้าตาดเทศ, แพรสีทับทิม, ช่อฟ้า, ใบระกา, ต้นไม้เงิน, ต้นไม้ทอง, กรมทวนทองขวา |
พระวิหารพระเหลือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก |
พุทธศักราช 2413 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1079?lang=th |
2 |
จารึกในพระวิหารพระนอนวัดป่าโมก |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
โคลงเรื่องการชะลอพระพุทธไสยาสน์จำนวน 69 บท ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเมื่อครั้งยังเป็นกรมพระราชวังบวร โดยตอนต้นกล่าวถึงประวัติการสร้างจารึกนี้ว่าถูกสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2460 โดยพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เนื่องจากเมื่อคราวตามเสด็จรัชกาลที่ 5 พร้อมกับพระเจ้าบรมวงษ์เธอกรมพระสมมติอมรพันธุ์ ทอดพระเนตรเห็นรอยกรอบข้างพระขนองพระพุทธไสยาศน์ แต่ไม่ปรากฏจารึก ต่อมาพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) ได้พบหนังสือเก่าเป็นโคลงดังกล่าวจึงคัดสำเนาส่งให้หอสมุดวชิรญาณ พระเจ้าบรมวงษ์เธอทั้ง 2 ทรงวิเคราะห์แล้วพบว่าน่าจะเป็นโคลงบนจารึกที่หายไปนั่นเอง จึงได้สร้างจารึกขึ้นใหม่โดยใช้หินอ่อนซึ่ง นายคลูเซอร์ ชาวอิตาลีถวาย ทรงอุทิศส่วนพระราชกุศลถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และกรมพระสมมติอมรพันธุ์ อนึ่ง ต่อมามีการพบจารึกที่หายไป ประสาร บุญประคอง ระบุว่าจารึกหลักนี้มีข้อความผิดแปลกไปจากจารึกดังกล่าว ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระราชวังจันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
หลักที่ 282 จารึกบนหินอ่อน, หลักที่ 282 จารึกบนหินอ่อน, จารึกในพระวิหารพระนอนวัดป่าโมกข์, พ.ศ. 2460, พ.ศ. 2460, พุทธศักราช 2460, พุทธศักราช 2460, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วิหารพระนอนวัดป่าโมกวรวิหาร ตำบลป่าโมก อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6, รัชกาลที่ 6, ร. 6, จักรี, รัตนโกสินทร์, อยุธยา, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, ดำรงราชานุภาพ, สมมติอมรพันธ์, กรมพระราชวังบวร, คลูเซอร์, ฝรั่งชาวอิตาเลียน, อิตาลี, โคลง, พระพุทธไสยาศน์วัดป่าโมกข์ |
วิหารพระนอนวัดป่าโมกวรวิหาร ตำบลป่าโมก อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง |
พุทธศักราช 2460 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1247?lang=th |
3 |
จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 (ติดวิหารพระพุทธ) |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2469 ครูบาศรีวิชัยประธานฝ่ายสงฆ์ และหนานทาประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้ร่วมกันสร้างเสาทุงหินเพื่อบูชาพระมหาชินธาตุเจ้า |
จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 (ติดวิหารพระพุทธ), จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 (ติดวิหารพระพุทธ), ลป. 41 จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 (ติดวิหารพระพุทธ) พ.ศ. 2469, ลป. 41 จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 3 (ติดวิหารพระพุทธ) พ.ศ. 2469, ลป. 41, ลป. 41, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, จ.ศ. 1288, จุลศักราช 1288, จ.ศ. 1288, จุลศักราช 1288, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, พระสงฆ์, นักบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2469, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนปูนซีเมนต์, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุงหิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ครูบาศรีวิชัย, บุคคล-หนานทา |
วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (แต่จากการสำรวจ 27 กรกฎาคม 2560 ไม่พบ) |
พุทธศักราช 2469 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16141?lang=th |
4 |
จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 2 (ติดวิหารน้ำแต้ม) |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2469 ปู่---กยุ (ชำรุด อักษรหายไป) เป็นประธานพร้อมด้วยภรรยาชื่อว่านางทุมมา และบุตรได้ร่วมกันสร้างเสาทุงหินไว้เพื่อบูชาพระมหาชินธาตุเจ้า |
จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 2 (ติดวิหารน้ำแต้ม), จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 2 (ติดวิหารน้ำแต้ม), ลป. 40 จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 2 (ติดวิหารน้ำแต้ม) พ.ศ. 2469, ลป. 40 จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 2 (ติดวิหารน้ำแต้ม) พ.ศ. 2469, ลป. 40, ลป. 40, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, จ.ศ. 1288, จุลศักราช 1288, จ.ศ. 1288, จุลศักราช 1288, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2469, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนปูนซีเมนต์, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุงหิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-นางทุมมา |
วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (แต่จากการสำรวจ 27 กรกฎาคม 2560 ไม่พบ) |
พุทธศักราช 2469 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16145?lang=th |
5 |
จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 1 (ติดวิหารพระเจ้าล้านทอง) |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2469 ครูบาศรีชัย คณะสงฆ์ และเหล่าชาวบ้านได้ร่วมกันสร้างเสาทุงหินไว้กับมหาธาตุเจ้าลำปาง |
จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 1 (ติดวิหารพระเจ้าล้านทอง), จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 1 (ติดวิหารพระเจ้าล้านทอง), ลป. 39 จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 1 (ติดวิหารพระเจ้าล้านทอง) พ.ศ. 2469, ลป. 39 จารึกเสาตุงหินวัดพระธาตุลำปางหลวง 1 (ติดวิหารพระเจ้าล้านทอง) พ.ศ. 2469, ลป. 39, ลป. 39, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, จ.ศ. 1288, จุลศักราช 1288, จ.ศ. 1288, จุลศักราช 1288, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2469, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนปูนซีเมนต์, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุงหิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ครูบาศรีชัย, บุคคล-พระครูอินทจักร, บุคคล-พระลุนคันธวงศ์, บุคคล-พระกองคำ, บุคคล-หนานสุกคำภิระ, บุคคล-น้อยธา, บุคคล-น้อยชัย, บุคคล-น้อยวง, บุคคล-อีคำน้อยแก้ว, บุคคล-อ้ายมอย, บุคคล-น้อยอุตมา, บุคคล-หนานทา, บุคคล-น้อยถา, บุคคล-น้อยปิว, บุคคล-น้อยกอแก้ว, บุคคล-น้อยปัน, บุคคล-หนานกองแก้ว, บุคคล-ครูบาขัตติยะ, บุคคล-น้อยวงลัมพาง |
วิหารวัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (แต่จากการสำรวจ 27 กรกฎาคม 2560 ไม่พบ) |
พุทธศักราช 2469 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16143?lang=th |
6 |
จารึกเจ้าครูศีลาภิรัตน์ |
ไทยน้อย,ธรรมอีสาน |
จารึกด้านที่ 1 จารึกด้วยอักษรธรรมอีสาน เนื้อความในจารึกกล่าวถึงเจ้าครูศีลาภิรัตน์ พร้อมด้วยภิกษุ สามเณร และสัปบุรุษ ประดิษฐานพัทธสีมาไว้ในพระบวรพุทธศาสนา เมื่อ พ.ศ. 2464 จารึกด้านที่ 2 จารึกด้วยอักษรไทยน้อย เนื้อความในจารึก กล่าวถึงเจ้าพระยาจันทสุริยวงศา เมืองมุกดาหาร ได้สร้างพัทธสีมาไว้ในพระพุทธศาสนา เมื่อ พ.ศ. 2349 |
นพ. 6, นพ. 6, จารึกเจ้าครูศีลาภิรัตน์, จารึกวัดพระธาตุพนม 3, จารึกวัดพระธาตุพนม 3, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, พ.ศ. 2349, พุทธศักราช 2349, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, จ.ศ. 1168, จุลศักราช 1168, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, ประตูด้านทิศตะวันออกของวิหารทิศใต้, วัดพระธาตุพนม, ตำบลธาตุพนม, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ครูสีลาภิรัตน์, ภิกษุสามเณร, อุบาสกอุบาสิกา, ขุนพิทักษ์พนมเขต, กำนัน, พระอนุรักษ์, นายเหล็ก, นายทองอิน, นายจาม, ประธาน, กับสัปปุรุษ, พระอรหันตาเจ้า, นายชาลี, นายอุ่น, บุญมา, หลวงปากดี, นายเรือง, นายจารย์สีนวล, นายฝัน, จารย์แดง, เจ้าพระยาจันทสุริยวงศา, บุตรนัดดาภรรยา, อัคคมหาเสนา, เจ้าใหญ่, พระยาหลวงเมืองจัน, ขุนโอกาส, เจ้าสังฆราช, อันเตวาสิก, อรหันตา, ทรัพย์, เมืองมุกดาหาร, พุทธศาสนา, ประดิษฐานพัทธสีมา, ปีระกา, ความสุข, เหตุ, ปัจจัย, พระนิพพาน, ปีรวายยี, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา), อุรังคนิทาน : ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร), สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2349, อายุ-จารึก พ.ศ. 2464, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนม นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, บุคคล-เจ้าครูศีลาภิรัตน์, บุคคล-เจ้าพระยาจันทสุริยวงศา, บุคคล-เจ้าพระยาหลวงเมืองจัน |
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมรัตนโมลีศรีโคตรบูร วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2349 และ 2464 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2171?lang=th |
7 |
จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 4 |
โรมัน |
พ.ศ. 2428 พระยาภาสกรวงศ์ ได้ปฏิสังขรณ์อนุสาวรีย์รูปปืนใหญ่ บริเวณเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส ซึ่งสร้างขึ้นโดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ผู้เป็นบิดาเมื่อ พ.ศ. 2379 เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ที่ปืนใหญ่ระเบิดเมื่อคราวฉลองวัด |
จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูร ฯ 4, ธบ. 4, จารึกเขาเต่าวัดประยูรวงศ์, หลักที่ 164, จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 4, จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูร ฯ 4, ธบ. 4, จารึกเขาเต่าวัดประยูรวงศ์,หลักที่ 164, จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 4, พุทธศักราช 2428, คริสตศักราช 1836, คริสตศักราช 1885, พุทธศักราช 2379, พุทธศักราช 2428, คริสตศักราช 1836, คริสตศักราช 1885, พุทธศักราช 2379, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี, ร. 5, รัชาลที่ 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระยาภาสกรวงศ์, สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์, ดิศ บุญนาค, สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่, เขาเต่า, อนุสาวรีย์, วัดประยูรวงศาวาส, พุทธ, การฉลองพระอาราม, การเสียชีวิต, ตาย, ปืนใหญ่ระเบิด, ระลึกถึง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดประยูรวงศาวาส กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถาน, บุคคล-พระยาภาสกรวงศ์ |
อนุสาวรีย์เขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2428 |
อังกฤษ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1094?lang=th |
8 |
จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2428 พระยาภาสกรวงศ์ ได้ปฏิสังขรณ์อนุสาวรีย์รูปปืนใหญ่ บริเวณเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส ซึ่งสร้างขึ้นโดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ผู้เป็นบิดาเมื่อ พ.ศ. 2379 เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ที่ปืนใหญ่ระเบิดเมื่อคราวฉลองวัด |
จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูรฯ 3,จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูรฯ 3, ธบ. 3,ธบ. 3, จารึกเขาเต่าวัดประยูรวงศ์, จารึกที่เขาเต่าวัดประยูรวงศาวาส 3, พุทธศักราช 2428, พุทธศักราช 2428, พ.ศ. 2428, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี, ร. 5, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระยาภาสกรวงศ์, สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์, ดิศ บุญนาค, สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่, เขาเต่า, อนุสาวรีย์, วัดประยูรวงศาวาส, พุทธศาสนา, การฉลองพระอาราม, การเสียชีวิต, ตาย, ปืนใหญ่ระเบิด, ระลึกถึง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, ส. พลายน้อย, คนดังในอดีต, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดประยูรวงศาวาส กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถาน, บุคคล-พระยาภาสกรวงศ์ |
อนุสาวรีย์เขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2428 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/768?lang=th |
9 |
จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2428 พระยาภาสกรวงศ์ ได้ปฏิสังขรณ์อนุสาวรีย์รูปปืนใหญ่ บริเวณเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส ซึ่งสร้างขึ้นโดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ผู้เป็นบิดาเมื่อ พ.ศ. 2379 เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ที่ปืนใหญ่ระเบิดเมื่อคราวฉลองวัด (จารึกหลักนี้เป็นคำแปลของจารึกภาษาบาลีที่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน คือ จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 1) |
จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูรฯ 2, ธบ. 2, จารึกเขาเต่าวัดประยูรวงศ์,จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 2, ธบ. 2,จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 2, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1198, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2379, 2428, 1198, 1247, 2379, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) แห่งราชวงศ์จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.3), ร.5, ร.3, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระยาภาสกรวงศ์, สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์, ดิศ บุญนาค, สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่, เขาเต่า, อนุสาวรีย์, วัดประยูรวงศาวาส, พุทธเหตุการณ์, การฉลองพระอาราม, การเสียชีวิต, ตาย, ปืนใหญ่ระเบิด, ระลึกถึง, ปืนพะเนียง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, สมคิด จิระทัศนกุล, รูปแบบพระอุโบสถและพระวิหารในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, ส. พลายน้อย, คนดังในอดีต, สุภาพรรณ ณ บางช้าง, วิวัฒนาการงานเขียนภาษาบาลีในประเทศไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดประยูรวงศาวาส กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถาน, บุคคล-พระยาภาสกรวงศ์ |
อนุสาวรีย์เขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2428 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1096?lang=th |
10 |
จารึกเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 1 |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2428 พระยาภาสกรวงศ์ ได้ปฏิสังขรณ์อนุสาวรีย์รูปปืนใหญ่ บริเวณเขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส ซึ่งสร้างขึ้นโดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ผู้เป็นบิดาเมื่อ พ.ศ. 2379 เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ที่ปืนใหญ่ระเบิดเมื่อคราวฉลองวัด |
จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 1, ธบ. 1, จารึกบนแผ่นหินอ่อนที่เขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส 1, ธบ. 1, จารึกเขาเต่าวัดประยูรวงศ์, จารึกที่เขาเต่าวัดประยูรวงศาวาส, พุทธศักราช 2428, พ.ศ. 2428, จ.ศ. 1247, จ.ศ. 1247, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย รัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี, ร. 5, รัชกาลที่ 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระยาภาสกรวงศ์, สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์, ดิศ บุญนาค, สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่, เขาเต่า, อนุสาวรีย์, วัดประยูรวงศาวาส, พุทธศาสนา, การฉลองพระอาราม, การเสียชีวิต, ตาย, ปืนใหญ่ระเบิด, ระลึกถึง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, ส. พลายน้อย, คนดังในอดีต, สุภาพรรณ ณ บางช้าง, วิวัฒนาการงานเขียนภาษาบาลีในประเทศไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดประยูรวงศาวาส กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถาน, บุคคล-พระยาภาสกรวงศ์ |
อนุสาวรีย์เขาเต่า วัดประยูรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2428 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1092?lang=th |
11 |
จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
ฉันท์พรรณาถึงความโศกเศร้าของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีต่อการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส ตอนท้ายกล่าวถึงวันเดือนปีที่สิ้นพระชนม์ |
ชื่อจารึก : จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 3, หลักที่ 233 จารึกบนหินอ่อน, จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 3, หลักที่ 233 จารึกบนหินอ่อน ศักราช : พุทธศักราช 2429, จุลศักราช 1248 วัตถุจารึก : หินอ่อนลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : ใต้ปราสาทอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ ในสุสานวัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศสถานที่ : วัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : พระราชทานเพลิง, เผาศพ, บรรจุอังคาร, เถ้ากระดูก, สิ้นพระชนม์, ตาย |
ใต้ปราสาทอนุสาวรีย์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ ในสุสานวัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2429 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1030?lang=th |
12 |
จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการสร้างอนุสาวรีย์และพระพุทธรูป เพื่ออุทิศแด่พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส พระราชธิดาของรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาพร้อมซึ่งสิ้นพระชนม์เมื่ออายุได้เพียง 1 ปี 3 เดือน 4 วัน โดยมีการกล่าวถึงวันเดือนปีที่ประสูติ สิ้นพระชนม์ และพระราชทานเพลิง |
ชื่อจารึก : จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 2, จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 2, หลักที่ 232 จารึกบนหินอ่อน, 232 จารึกบนหินอ่อน ศักราช : พุทธศักราช 2429, จุลศักราช 1248, พุทธศักราช 2429, จุลศักราช 1248 วัตถุจารึก : หินอ่อนลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : ใต้ปราสาทอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ ในสุสานวัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ, เจ้าจอมมารดาพร้อม, พระยาพิษณุโลกาธิบดีสถานที่ : วัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : พระราชทานเพลิง, เผาศพ, บรรจุอังคาร, เถ้ากระดูก, สิ้นพระชนม์, ตาย, สร้างพระพุทธรูป |
ใต้ปราสาทอนุสาวรีย์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ ในสุสานวัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2429 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/816?lang=th |
13 |
จารึกอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงวันเดือนปีที่เชิญพระอังคารของพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ มาไว้ที่อนุสาวรีย์ในสุสาน รวมถึงวันประสูติและสิ้นพระชนม์ |
ชื่อจารึก : จารึกอนุสาวรีย์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 1, หลักที่ 231 จารึกบนหินอ่อน, จารึกอนุสาวรีย์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ 1, หลักที่ 231 จารึกบนหินอ่อน ศักราช : พุทธศักราช 2429, จุลศักราช 1248, พุทธศักราช 2429, จุลศักราช 1248 วัตถุจารึก : หินอ่อนลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : ใต้ปราสาทอนุสาวรีย์พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ ในสุสานวัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศสถานที่ : วัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : พระราชทานเพลิง, เผาศพ, บรรจุอังคาร, เถ้ากระดูก, สิ้นพระชนม์, ตาย |
ใต้ปราสาทอนุสาวรีย์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ ในสุสานวัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2429 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/814?lang=th |
14 |
จารึกอนุสาวรีย์ทหารอาสา |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 และรายชื่อ ทหารอาสาที่ชีวิตระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ |
ชื่อจารึก : หลักที่ 283 จารึกบนหินอ่อน, จารึกอนุสาวรีย์ทหารอาสา, หลักที่ 283ศักราช : พ.ศ. 2460, พ.ศ. 2461, พ.ศ. 2462, 2460, 2461, 2462วัตถุจารึก : หินอ่อน สีขาวสถานที่พบ : อนุสาวรีย์ทหารอาสา แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กทม.อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่6, ร.6, รัชกาลที่ 6, ร.6ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่6, ร.6, นายร้อยตรี สงวน ทันด่วน, นาบดาบเยื้อน สังข์อยุทธ, จ่านายสิบ(ชั่วคราว) หม่อมหลวง อุ่น อิสรเสนา ณ กรุงเทพ, จ่านายสิบ เจริญ พิรอด, นายสิบเอกปุ้ย ขวัญยืน, นายสิบตรีนิ่ม ชาครีรัตน์, นายสิบตรีชื่น นภากาศ, พลทหาร ตุ๊, พลทหาร ชั้ว อ่อนเอื้อวงษ์สถานที่ : มาร์เซย์, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, ออสเตรีย-ฮังการี, อังกฤษ, รุสเซีย, เบลเยี่ยม, เซอร์เบีย, อิตาลี, ยุโรป, สยาม, กรุงเทพ, อเมริกาเหนือ, ปารีส, โรงพยาบาลอเมริกัน, กองบินทหารบก, ดอนเมือง, นอยสตัดท์, กอดรัมสตีน, มุสสบัค, โรงพยาบาลทหาร, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, โรงพยาบาลเฟวรี, ชาลองส์เหตุการณ์สำคัญ : สงครามโลกครั้งที่ 1, สงครามโลกครั้งที่ 1อื่นๆ : พันธมิตร, ทหารอาสา, อัฐิ, เสียชีวิต, ตาย |
อนุสาวรีย์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ 1 แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2462 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1068?lang=th |
15 |
จารึกหน้าพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) โปรดให้สร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องและบุษบกยอดปรางค์ซึ่งถ่ายอย่างจากพระพุทธนฤมิตรอันเป็นพระพุทธรูปฉลองพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร. 2) (โดยเป็นการสร้างต่อจากรัชกาลที่ 4 ซึ่งยังสร้างไม่แล้วเสร็จ) เนื่องในโอกาสที่ทรงครองราชย์มา 5,431 วันซึ่งมีจำนวนเท่ากับที่รัชกาลที่ 2 ดำรงอยู่ในราชสมบัติ เพื่อบำเพ็ญพระราชกุศลซึ่งมีการฉลองพระบรมอัฐิในพระบรมมหาราชวัง ใน พ.ศ. 2426 |
ชื่อจารึก : "ธบ. 8 ", "หลักที่ 178 จารึกที่หน้าพระอุโบสถวัดอรุณ ฯ ", หลักที่ 178, ธบ. 8ศักราช : จ.ศ. 1245, พ.ศ. 2426, จ.ศ. 1245, พ.ศ. 2426วัตถุจารึก : หินอ่อนสีขาวลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : วัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กทม. อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : รัชกาลที่ 5 , ร.5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : รัชกาลที่ 5 , ร.5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 2 , ร.2, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, รัชกาลที่ 4 , ร.4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.2, รัชกาลที่ 2สถานที่ : วัดอรุณราชวราราม, พระบรมมหาราชวังศาสนา : พุทธเหตุการณ์สำคัญ : ถ่ายอย่าง, ลอกแบบ, เลียนแบบ, บำเพ็ญกุศล, ฉลองพระอัฐิ, หล่อพระพุทธรูปอื่นๆ : พระพุทธนฤมิตร, พระพุทธรูปฉลองพระองค์, พระพุทธรูปทรงเครื่อง, บุษบกยอดปรางค์, พระอุโบสถ, ราชสมบัติ |
หน้าพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2426 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1085?lang=th |
16 |
จารึกสำเนาคำประกาศวิสุงคามสีมา วัดนิเวศธรรมประวัติ 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงประกาศถวายที่ดินให้เป็นเขตวิสุงคามสีมาของวัดนิเวศธรรมประวัติ โดยมีการกล่าวถึงประวัติของวัดและระบุขอบเขตสีมา |
อย. 53, หลักที่ 189 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 53, หลักที่ 189 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, พ.ศ. 2421, จ.ศ. 1240, พุทธศักราช 2421, จุลศักราช 1240, พ.ศ. 2421,จ.ศ. 1240, พุทธศักราช 2421,จุลศักราช 1240, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5 , ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, วัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธศาสนา, ประกาศวิสุงคามสีมา, หัตถเลขา, ลัญจกร, อุณาโลม, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2421 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1147?lang=th |
17 |
จารึกสำเนาคำประกาศวิสุงคามสีมา วัดนิเวศธรรมประวัติ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงประกาศถวายที่ดินให้เป็นเขตวิสุงคามสีมาของวัดนิเวศธรรมประวัติ มีการกล่าวถึงประวัติของวัดและระบุขอบเขตสีมา ตอนท้ายทรงขอให้ได้รับความสุข ดับซึ่งความทุกข์ทั้งปวงในอนาคตกาล |
จารึกสำเนาคำประกาศวิสุงคามสีมา วัดนิเวศธรรมประวัติ 1, จารึกสำเนาคำประกาศวิสุงคามสีมา วัดนิเวศธรรมประวัติ 1, อย. 53, หลักที่ 187 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, จารึกสำเนาคำประกาศวิสุงคามสีมา วัดนิเวศธรรมประวัติ 1, อย. 53, หลักที่ 187 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, จารึกสำเนาคำประกาศวิสุงคามสีมา วัดนิเวศธรรมประวัติ 1, พุทธศักราช 2421, พุทธศักราช 2419, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2419, จุลศักราช 1238, จุลศักราช 1240, จ.ศ. 1238, จ.ศ. 1240, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, วัดนิเวศธรรมประวัติ, เกาะบางปะอิน, อยุธยา, พุทธศาสนา, ธรรมยุติกนิกาย, ประกาศวิสุงคามสีมา, อเวภังคิยภัณฑ์, พระนฤมลธรรโมภาศ, สังฆิกวัตถุ, อุโบสถ, โกธิค, อาราม, วัด, กำแพงแก้ว, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2421 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1145?lang=th |
18 |
จารึกวัดโป่งคำ |
ธรรมล้านนา |
ในวันเพ็ญเดือน 7 ล้านนา จ.ศ. 1248 พระกาวิไชยประธานฝ่ายสงฆ์และเจ้ามหาชีวิตหรือเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่านเป็นประธานฝ่ายฆราวาสพร้อมกับข้าราชการและชาวบ้านทุกคน ได้จัดมีการฉลองวิหารวัดโป่งคำ พร้อมกับถวายเครื่องอัฐบริขารทั้งหลาย โดยตั้งจิตปรารถนาขอให้ผู้ร่วมทำกุศลกิจกรรมครั้งนี้ได้พบกับพระนิพพานโดยทั่วกัน |
ศิลาจารึกวัดโป่งคำ ต. น้ำแก่น อ. เมืองน่าน จ. น่าน จ.ศ. 1248 (พ.ศ. 2429), ศิลาจารึกวัดโป่งคำ ต. น้ำแก่น อ. เมืองน่าน จ. น่าน จ.ศ. 1248 (พ.ศ. 2429), ประตูเชียงใหม่ ด้านทิศตะวันออก ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ซีเมนต์, หลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2429, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายแหลม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโป่งคำ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างวิหาร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองวิหาร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าอนันตวรฤทธิเดช, บุคคล-พระกาวิไชย, บุคคล-เจ้าอนันตวรฤทธิเดช |
วัดโป่งคำ ตำบลน้ำแก่น อำเภอภูเพียง (ข้อมูลเดิมคือ อำเภอเมืองน่าน) จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2429 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13431?lang=th |
19 |
จารึกวัดเหนือ (วัดมหาผล) |
ธรรมอีสาน |
พระสุวรรณภักดี เจ้าเมืองท่าขอนยาง และบรรยาท้าวพระยาพร้อมด้วยหัวครูหลักคำได้สร้างวัดเหนือ |
จารึกวัดมหาผล (จารึกวัดเหนือ), จารึกวัดเหนือ (วัดมหาผล), พ.ศ. 2403, พุทธศักราช 2403, พ.ศ. 2403, พุทธศักราช 2403, จ.ศ. 1222, จุลศักราช 1222, จ.ศ. 1222, จุลศักราช 1222, หิน, รูปใบเสมา, วัดเหนือ, บ้านท่าขอนยาง, ตำบลท่าขอนยาง, อำเภอกันทรวิชัย, จังหวัดมหาสารคาม, ไทย, รัตนโกสินทร์, หัวครูหลักคำ, พระสุวรรณภักดี, เจ้าเมืองอุปหาส, ท้าวเพี้ย, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพัทธสีมา, ปีวอก, โทศก, ภายใน, คณะสงฆ์, ภายนอก, ราชวงศ์ราชบุตร, กรมการ, พระวัสสา, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2403, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเหนือ มหาสารคาม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองท่าขอนยาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองท่าขอนยาง-พระสุวรรณภักดี, บุคคล-พระสุวรรณภักดี, บุคคล-หัวครูหลักคำ |
วัดเหนือ บ้านท่าขอนยาง ตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม (สำรวจเมื่อ 24-27 สิงหาคม 2559) |
พุทธศักราช 2403 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2425?lang=th |
20 |
จารึกวัดสมเด็จ |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2416 ครูบาหลวงเจ้ามหาเทพวังโสซึ่งเป็นประธานฝ่ายใน และองค์สมเด็จมหาราชหลวงเป็นประธานฝ่ายนอก ร่วมกันสร้างพระอุโบสถ ด้วยกิจแห่งศรัทธานี้ใช้เงินทั้งสิ้น 344 บาท |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียนจารึก : พร. 10, พร. 10, จารึกวัดสมเด็จ พ.ศ. 2416, จารึกวัดสมเด็จ พ.ศ. 2416, จารึกวัดสมเด็จ สถานที่พบ : จังหวัดแพร่ อาณาจักร : ล้านนา, สยาม, ไทย ราชวงศ์ : จักรี รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร.5 ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ ศาสนา : พุทธศาสนา จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2416, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกวัดสมเด็จ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกวัดหลวง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระอุโบสถ, การบริจาคและการทำบุญ |
พิพิธภัณฑ์วัดหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562) |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/10557?lang=th |
21 |
จารึกวัดศรีสวาย |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2450 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย ทรงสันนิษฐานว่าวัดศรีสวายเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ เนื่องจากพบหลักไม้ ซึ่งน่าจะเป็นที่นั่งของพระยายืนชิงช้า และประติมากรรมหินรูปพระสยมภู (อิศวร/ศิวะ) รวมถึงเศียรเทวรูปอีกด้วย |
ชื่อจารึก : จารึกวัดศรีสวาย, หลักที่ 241 ศิลาจารึกวัดศรีสวาย, หลักที่ 241 ศิลาจารึกวัดศรีสวายวัตถุจารึก : หินชนวน สีเขียว ลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สถานที่พบ : วัดศรีสวาย ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5 , ร. 5, รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6, รัชกาลที่ 6, ร. 6 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร สถานที่ : วัดศรีสวาย ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ศาสนา : พราหมณ์, ฮินดูเทพเจ้า : สยมภู, ศิวะ, อิศวร, พิธีกรรม : ตรียัมปวาย, โล้ชิงช้า อื่นๆ : ปรางค์, เทวสถาน, โบสถ์พราหมณ์, ศิลา, หิน, เทวรูป, เทวดา, สุริยคติกาล เหตุการณ์สำคัญ : สันนิษฐาน, ประพาส |
วัดศรีสวาย ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศักราช 2450 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/820?lang=th |
22 |
จารึกวัดมหาธาตุ สุโขทัย |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2450 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร ประพาสเมืองสุโขทัย ทรงสันนิษฐานว่า วัดมหาธาตุเดิมเป็นวัดสังฆาวาสและน่าจะสร้างขึ้นระหว่างมหาศักราช 1276-1283 (สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ลิไทย) โดยใช้หลักฐานจากจารึกสมัยสุโขทัย |
จารึกวัดมหาธาตุสุโขทัย, หลักที่ 243 ศิลาจารึก วัดมหาธาตุ, จารึกวัดมหาธาตุสุโขทัย, หลักที่ 243 ศิลาจารึก วัดมหาธาตุ, พ.ศ. 2450, พ.ศ. 2450, พุทธศักราช 2450, พุทธศักราช 2450, หินชนวน สีเขียว, แผ่นหินรูปใบเสมา, วัดมหาธาตุ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย, สยาม, ไทย, สุโขทัย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี, (ร. 5) จักรี, รัตนโกสินทร์, สุโขทัย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6, รัชกาลที่ 6, ร. 6, สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร, ลิไทย, ลิไท, มหาธรรมราชาที่ 1, มหาธรรมราชาที่ 1, วัดมหาธาตุ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย, โบราณสถาน, เมืองสุโขทัย, พุทธ, ประพาส, สันนิษฐาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2521) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศักราช 2450 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1089?lang=th |
23 |
จารึกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2444 รัชกาลที่ 5 โปรดให้หล่อพระพุทธรูปตามแบบพระพุทธชินราช เพื่อเป็นประธานในอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม และทรงปลูกต้นโพธิ์ในบริเวณที่ตั้งพิมพ์หล่อพระ ให้ตรงตามตำนานการปลูกต้นโพธิ์สามเส้าในบริเวณที่หล่อพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดา |
หลักที่ 183 จารึกบนแผ่นหินอ่อน, พล. 7, หลักที่ 183 จารึกบนแผ่นหินอ่อน, พล. 7, จารึกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก, จารึกพระศรีรัตนมหาธาตุ, หินอ่อน สีดำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, หัวเมืองฝ่ายเหนือ, อุตรดิตถ์, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5), รัชกาลที่ 5, (ร. 5), รัชกาลที่ 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนาเหตุการณ์, หล่อพระ, เททอง, ปิดทอง, เฉลิมฉลอง, สมโภช, ปลูกต้นโพธิ์, ประทับแรม, ประพาส, พระพุทธชินราช, พระพุทธชินสีห์, พระศรีศาสดา, โพธิ์สามเส้า, มหรสพ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิษณุโลก วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก (สำรวจ 30 มกราคม 2554) |
พุทธศักราช 2444 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1087?lang=th |
24 |
จารึกวัดพระธาตุเขาน้อย |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระธาตุเจดีย์ ใน พ.ศ. 2449 และการสร้างพระวิหารโดยพระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดช เจ้าเมืองน่าน ซึ่งใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ร่วมกับเจ้านางยอดคำหล้าผู้เป็นอัครชายา ราชบุตรและขุนนาง โดยแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2454 และฉลองทานเมื่อ พ.ศ. 2456 |
จารึกวัดพระธาตุเขาน้อย, นน. 20, พ.ศ. 2449, 2454, 2456, จุลศักราช 1268, 1273, 1275, ร.ศ. 132, พ.ศ. 2449, 2454, 2456, จุลศักราช 1268, 1273, 1275, ร.ศ. 132, หินชนวน, แผ่นหินรูปใบเสมา, ล้านนา, สยาม, ไทย, หลวงติ๋นมหาวงศ์, รัตนโกสินทร์, เจ้าอัตถวรปัญโญ, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, เจ้านางยอดหล้า, เจ้าชัยสงคราม, หม่องยิง, แสนหลวงสมภาร, แสนหลวงกุศล, น่าน, วัดพระธาตุเขาน้อย, หอคำ, วิหาร, ธาตุเจดีย์, พุทธศาสนา, การบูรณะ, การปฏิสังขรณ์, การซ่อมแซม, การสร้างวิหาร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2456, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนหินชนวน, จารึกบนใบเสมา, จารึกวัดพระธาตุเขาน้อย, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระวิหาร, การบริจาคและการทำบุญ, การบูรณะปฎิสังขรณ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุเขาน้อย ตำบลดู่ใต้ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2456 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1985?lang=th |
25 |
จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก 2 |
ธรรมอีสาน |
ได้กล่าวถึงการกระทำสัตยาธิษฐานปักปันเขตแดนกันระหว่างอาณาจักรล้านช้าง และกรุงศรีอยุธยา โดยให้มหาอุปราชและเสนาอมาตย์ตลอดจนพระสงฆ์ผู้ใหญ่ของทั้งสองอาณาจักรได้มาทำการแทนองค์พระมหากษัตริย์ทั้งสองอาณาจักร และสร้างพระเจดีย์ศรีสองรักไว้เป็นสักขีพยานในการทำสัตยาธิษฐานในครั้งนั้น |
ลย. 1, ลย. 1, จารึกอักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากพระธาตุศรีสองรัก จ. เลย, จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก 2, จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก 2, จารึกพระธาตุศรีสองรัก, พ.ศ. 2449, พุทธศักราช 2449, พ.ศ. 2449, พุทธศักราช 2449, จ.ศ. 1268, จุลศักราช 1268, จ.ศ. 1268, จุลศักราช 1268, ค.ศ. 1906, คริสต์ศักราช 1906, ค.ศ. 1906, คริสต์ศักราช 1906, ม.ศ. 1842, มหาศักราช 1842, พ.ศ. 1842, พุทธศักราช 1842, จ.ศ. 2103, จุลศักราช 2103, จ.ศ. 2103, จุลศักราช 2103, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดพระธาตุศรีสองรัก, อำเภอด่านซ้าย, จังหวัดเลย, ไทย, ล้านช้าง, รัตนโกสินทร์บุคคล: พระยาธรรมิกราช, สุพรหมสันตุ, พระพุทธเจ้า, มหากษัตราธิราชเจ้า, มหาจักรสรติถะวรราชาธิราช, พระมหากษัตริย์, พระตถาคตเจ้า, ธรรม, ราชามหาอำมาตย์, มหาอุปราชเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, พระมหาอุบาลี, พระอริยะกัสสป, พระมหาธรรมเสนาบดี, พระสุธรรมรังสีมหาเถร, พระวิริยาธิกมุนี, พระสังฆเจ้า, ลูกศิษย์, บัวระบัด, ปรนนิบัติ, พระครูบรมจาริยะ, พระอาริยะมุนี, พระศรีวิสุทธิ์อุตม, เป็นเค้า, ประธาน, พระครูสุเมธารุจิวิญญา, มหาสุธรรมมาตุลย, มหาพรหมสาร, มหาราชมุนี, มหาอำมาตย์, องค์จันประสิทธิ์ราชภักดี, หมื่นอุปนารี, ลูกเมีย, หลวงราชามหาอำมาตย์, สมเด็จพระมหากษัตริย์เจ้ากรุงศรีสัตนาค, สมเด็จพระมหากษัตริย์เจ้ากรุงศรีอโยธิยามหาดิลก, พระราชวงศา, นางธรณี, สมณพราหมณาจารย์เจ้า, ชาวประชานาราษฏร์, พระยาหัวเมืองมันทมุข, คณะสงฆ์มหานาค, สงฆ์ฝ่ายกรุงศรีสัตตนาค, พระสังฆราชา, พระวัตตมหาสุวรรณคูหา, มหาญาณวชิรวรรณราศรีศากย, พระมหาอุปราชราชเสวีภักดี, พระเวียงอรหัตการ, พระยาหลเทศนายก เจ้าทิพย์มณฑา, เจ้าคียเสถียร, พระยามหานาหมื่น, เจ้าขุนหมื่นขุนแสน, สงฆ์ฝ่ายกรุงศรีอโยธิยา, สมเด็จพระสังฆราชาธิบดี, พระสังฆนายก, พระอริยกัสสป, พระธรรมโคตมมุณี, พระอริยวงศา, พระมหานพพาหุ, พระครูบรมจริยะ, พระมหากษัตริย์เจ้า, กษัตริย์พันธมิตร, สมเด็จบพิตรพระเจ้ากรุงพระนครอโยธิยามหาดิลก, อัคคอาชญา, อัครชายา, พระรัตนบุพพธิราชเจ้ากรุงพระมหานคร, วรรณวงศาธิราช, สมเด็จพระกษัตราลีลาสิ่งของ: กระออมแก้ว, น้ำพัฒน์ตระพัง, กระออมน้ำ, กระออมทอง, กระออมนาค, กระออมเงิน, เมืองจันทบุรี, เวียงจันทน์, ศรีสัตตนาคนหุตมหานครบวรราชธานี, กรุงศรีอโยธิยามหาดิลกนพรัตนบุรีศรีมหานครบวรราชธานีบุรีเริงรมย์, กรุงศรีอยุธยา, กรุงศรีสัตตนาคบุรี, กรุงศรีอโยธยามหาดิลกนพรัตนมหานคร, เมืองหงสาวดี, ห้วยภูเจ้ารตรสิรวร, ห้วยภูเขารตรสิรวร, ด่านแดนแสนหญ้า, น้ำโขง, น้ำน่าน, แดนกันโคกไม้, โคตรบองนาคนหุต, พระนครจันทบุรี, มหานครปฐมจักรสมันตา, พุทธศาสนา, สบถ, หลั่งน้ำสัจจา, อ่านสัตยา, อ่านสัจจะอธิษฐาน, สร้างแปงเจดีย์ศรีมหาธาตุ, สร้างเจดีย์ศรีมหาธาตุ, อุทิศเจดีย์ศรีมหาธาตุ, สร้างแปงเจดีย์ศรีสองรัก, สร้างเจดีย์ศรีสองรัก, อุทิศเจดีย์ศรีสองรัก, ปีมะเมีย, อัฐศก, ปีรวายสง้า, ศิลาเลก, ศักราชอติเรก, โทศก, ปีวอก, นิพาน, พระวัสสา, คองคดี, ปรมัตถสุข, ศีล, สุริยวงศา, ญาติวงศาพันธุนิมิต, อุษารมณ์, กัปป์, กัป, สารคดี, มหาปฐพีคิริต, เอกสีมาปริมณฑล, พระอาทิตย์, พระจันทร์, แผ่นดิน, พุทธันดร, ปีกุนเบญจศก, จิตฤกษ์ราศี, ศิริราช, อาณาสัณฑ์สีมาสองรัก, เพ็ง, วันเพ็ญ, พระพฤหัส, มังกรราศี, สิงห์ราศี, ตุลราศี, กุมภ์ราศี, พระอังคาร, พระพุธ, เมษราศี, พระเสาร์, เมถุนราศี, พระศุกร์, มีนราศี, พระราหู, พระลัคนา, สุริยะพันธุ์พงศา, อาณาสัณฑ์สีมา, นาฬิกา, จารึกประเทศลาว |
หอพระแก้ว เมืองเวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
พุทธศักราช 2449 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2431?lang=th |
26 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 4 |
ธรรมอีสาน |
พระครูสีลาภิรัตน์ พร้อมทั้งคณะสงฆ์และทายกทายิกาทั้งหลาย ได้พร้อมใจกันสร้างหอสวดมนต์ |
จารึกวัดพระธาตุพนม 4, จารึกวัดพระธาตุพนม 6, พ.ศ. 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พุทธศักราช 2466, หินทราย, รูปใบเสมา, หน้ากุฏิพระในวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ท่านพระครูสีลาภิรัตน์, พระอุปปัชฌาย์คำ, พระวัน, พระเคน, คณะสงฆ์สามเณร, หลวงพิทักษ์พนมเขต, นายเหล็ก, กำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน, ทายก, ทายิกา, หัวเมือง, พุทธศาสนา, สร้างหอสูต, สร้างหอสวดมนต์, ปีกุน, ปัญจศก, วันเสาร์, ภายใน, ภายนอก, ทรัพย์, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2466, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอสวดมนต์, บุคคล-เจ้าครูศีลาภิรัตน์ |
หน้ากุฏิพระในวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2423?lang=th |
27 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 3 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงเจ้าครูศีลาภิรัตน์พร้อมกับญาติโยม ที่ได้ประดิษฐานพัทธสีมาที่วัดพระธาตุพนม |
จารึกวัดพระธาตุพนม 3, จารึกวัดพระธาตุพนม 5, พ.ศ. 2464, พุทธศักราช 2464, พ.ศ. 2464, พุทธศักราช 2464, จ.ศ. 1283, จุลศักราช 1283, จ.ศ. 1283, จุลศักราช 1283, ศิลาทราย, รูปใบเสมา, ในโกดังเก็บของภายในวิหารคด วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, เจ้าครูสีลาภิรัตน์, ภิกษุสามเณร, อุบาสกอุบาสิกา, ขุนพิทักษ์พนมเขตอำเภอ, กำนัน, พระอนุรักษ์, นายเหล็ก, นายทองอิน, นายจาม, ประธาน, สัตบุรุษ, พระอรหันตาเจ้า, นายชาลี, นายอุ่น, บุญมา, หลวงปากดี, นายเรือง, นางหนูแพง, จารย์สีนวล, นายฝัน, จารย์แดง, พุทธศาสนา, ประดิษฐานพัทธสีมา, ปีระกา, ปีจอ, ทรัพย์, เหตุ, ปัจจัย, พระนฤพาน, นิพพาน, นิพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2550, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2465, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา |
ในโกดังเก็บของภายในวิหารคด วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2464 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2421?lang=th |
28 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 2 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงหัวครูจันทรา ว่าได้สร้างพระพุทธรูปศิลาไว้กับวัดธาตุพนม |
จารึกวัดพระธาตุพนม 2, จารึกวัดพระธาตุพนม 4, จารึกพระพุทธรูปจำหลักหิน สมัยล้านช้างเวียงจันทน์ มีจารึกอยู่ข้างขวา, พ.ศ. 2440, พุทธศักราช 2440, พ.ศ. 2440, พุทธศักราช 2440, ศิลา, ด้านหลังของพระพุทธรูปศิลา, กะตึบใกล้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ล้านช้าง, พระพุทธเจ้า, เจ้าหัวครูจันทรา, พุทธศาสนา, วัดธาตุพนม, สร้างพระพุทธรูปศิลา, สร้างพระเจ้าศิลา, วสา, ปีจอ, นวพรรณ ภัทรมูล, กนกวรรณ โสภณวัฒนวิจิตร, นครพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2440, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่หลังพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหัวครูจันทรา |
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมรัตนโมลีศรีโคตรบูร วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2440 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2419?lang=th |
29 |
จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดปากอ่าว เมืองนนทบุรี และการเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดปรมัยยิกาวาส”ในสมัยรัชกาลที่ 5 กล่าวคือ ใน พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานพระกฐิน ณ วัดปากอ่าว ซึ่งเป็นวัดฝ่ายรามัญ (มอญ) ทรงเห็นว่าวัดแห่งนี้ทรุดโทรมมากจึงโปรดให้ปฏิสังขรณ์ เพื่อสนองพระคุณของพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ซึ่งเคยรับสั่งว่าหากทรงพระเจริญขึ้นแล้ว ขอให้สร้างวัดให้สักแห่งหนึ่ง การปฏิสังขรณ์ใช้เวลาราว 7 เดือน ครั้น พ.ศ. 2418 รัชกาลที่ 5 และพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ เสด็จมาถวายเครื่องเสนาสนะแก่พระสงฆ์ และพระราชอุทิศถวายหมู่กุฏิเป็นสังฆิกาวาส แล้วโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามเป็น “วัดปรมัยยิกาวาส” นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระไตรปิฎกอักษรมอญและตู้พระธรรม มีการกล่าวถึงพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งเป็นผู้ร่วมปฏิสังขรณ์และบางพระองค์ทรงเป็นนายช่างด้วยพระองค์เอง อีกทั้งระบุถึงขนาดของสิ่งก่อสร้างภายในวัดและจำนวนเงินที่ใช้ในการต่างๆ อย่างละเอียด ต่อมาใน พ.ศ. 2427 รัชกาลที่ 5 และพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ เสด็จมาปิดทองพระพุทธไสยาสน์ และโปรดให้ซ่อมแซมบางส่วนเพิ่มเติม เช่น ระเบียง หอสวดมนต์ และศาลาท่าน้ำ ในปีเดียวกันได้เชิญพระคัมภีร์และพระบรมธาตุจากท่าราชวรดิษฐ์แห่มาถึงวัด มีการผูกพัทธสีมาใหม่ให้กว้างขึ้น ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จมาเลี้ยงพระและถวายอัฐบริขาร และโปรดให้มีการเฉลิมฉลองวัด ตอนท้าย พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ ทรงอธิษฐานให้ถึงแก่นิพพาน หากยังต้องเวียนว่ายตายเกิด ขอให้ได้พบกับรัชกาลที่ 5 และพระบรมวงศานุวงษ์ทุกภพชาติ มีการอุทิศกุศลแด่พระญาติทุกพระองค์ รวมถึงพสกนิกรที่ได้อ่านจารึกนี้ รวมทั้งเทวดา และมนุษย์ |
จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 3, หลักที่ 225 จารึกบนหินอ่อน, หลักที่ 225, พ.ศ. 2417, 2518, 2427, จุลศักราช 1236, 1237, 1246, 2417, 2518, 2427, 1236, 1237, หินอ่อน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่5, ร.5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร.3, ร.3, รัชกาลที่ 3, พระบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร, กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์, พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ, กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์, พระประพันธ์วงศ์เธอ กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์, พระสุเมธาจารย์, เจ้าฟ้าจาตุรนรัศมี กรมหลวงจักพรรดิพงษ์, เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุพันวงษ์วรเดช, กรมหมื่นภูมินทรภักดี, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, วัดปากอ่าว, ท่าราชวรดิฐศาสนาพุทธ, การปฏิสังขรณ์, การสร้างพระไตรปิฎกอักษรมอญ, การบรรจุพระบรมธาตุ, การทอดพระกฐิน, การเปลี่ยนชื่อวัด, มอญ, รามัญ, เรือพระราชพิธี, กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
หน้าพระอุโบสถวัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (สำรวจเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564) |
พุทธศักราช 2427 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1230?lang=th |
30 |
จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
จารึกหลักนี้มีเนื้อหาต่อเนื่องมาจากจารึกวัดปรมัยยิกาวาส 1 ซึ่งกล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดปากอ่าว เมืองนนทบุรี ในสมัยรัชกาลที่ 5 จารึกหลักนี้ กล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการปฏิสังขรณ์วัด และสร้างพระไตรปิฎกภาษามอญ รวมถึงการเปลี่ยนนามวัดเป็น “วัดปรมัยยิกาวาส” เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร จากนั้นกล่าวถึงการฉลองวัดใน พ.ศ. 2427 ตอนท้ายพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ ทรงอุทิศผลบุญแด่พระญาติ เทวดา และสรรพสัตว์ขอให้ได้ไปสู่นิพพาน |
จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 2, หลักที่ 230 จารึกบนหินอ่อน, จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 2, หลักที่ 230, พ.ศ. 2417, พ.ศ. 2418, พ.ศ. 2427, พุทธศักราช 2417, พุทธศักราช 2418, พุทธศักราช 2427, จ.ศ. 1236, จ.ศ. 1237, จ.ศ. 1246, จุลศักราช 1236, จุลศักราช 1237, จุลศักราช 1246, พ.ศ. 2417, พ.ศ. 2418, พ.ศ. 2427, พุทธศักราช 2417, พุทธศักราช 2418, พุทธศักราช 2427, จ.ศ. 1236, จ.ศ. 1237, จ.ศ. 1246, จุลศักราช 1236, จุลศักราช 1237, จุลศักราช 1246 , หินอ่อน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, พระบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร, กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์, พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ, กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์, พระประพันธ์วงศ์เธอ กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์, พระสุเมธาจารย์, เจ้าฟ้าจาตุรนรัศมี กรมหลวงจักพรรดิพงษ์, เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุพันวงษ์วรเดช, กรมหมื่นภูมินทรภักดี, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, วัดปากอ่าว, ท่าราชวรดิฐศาสนาพุทธ, การปฏิสังขรณ์, การสร้างพระไตรปิฎกอักษรมอญ, การบรรจุพระบรมธาตุ, การทอดพระกฐิน, การเปลี่ยนชื่อวัด, มอญ, รามัญ, เรือพระราชพิธี, กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค |
ผนังด้านหน้าของพระอุโบสถวัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (สำรวจเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564) |
พุทธศักราช 2427 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1241?lang=th |
31 |
จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เนื้อหาของจารึกหลักนี้ต่อเนื่องกับ จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 2 กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดปากอ่าว เมืองนนทบุรี และการเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดปรมัยยิกาวาส” ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยหลักนี้กล่าวตั้งแต่เหตุการณ์ใน พ.ศ. 2417 ซึ่งพระองค์เสด็จมาทอดกฐิน จนถึงตอนที่พระองค์และพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ เสด็จมาถวายเครื่องไทยทานในคราวแรก กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานพระกฐิน ณ วัดปากอ่าว เมืองนนทบุรี ทรงเห็นว่าวัดแห่งนี้ทรุดโทรมมากจึงโปรดให้ปฏิสังขรณ์ เพื่อสนองพระคุณของพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร มีการกล่าวถึงรายละเอียดของสิ่งก่อสร้างที่ทำการปฏิสังขรณ์ เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ และหอไตร เป็นต้น การปฏิสังขรณ์ใช้เวลาราว 7 เดือน จากนั้นทั้ง 2 พระองค์ได้เสด็จมาถวายเสนาสนะแก่พระสงฆ์ (เหตุการณ์ต่อไปปรากฏในจารึกวัดปรมัยยิกาวาส 3) |
จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 1, หลักที่ 226 จารึกบนหินอ่อน, นบ. 4, จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 1, หลักที่ 226 จารึกบนหินอ่อน, นบ. 4, พ.ศ. 2417, พ.ศ. 2418, พ.ศ. 2427, พุทธศักราช 2417, พุทธศักราช 2418, พุทธศักราช 2427, จ.ศ. 1236, จ.ศ. 1237, จ.ศ. 1246, จุลศักราช 1236, จุลศักราช 1237, จุลศักราช 1246, พ.ศ. 2417, พ.ศ. 2418, พ.ศ. 2427, พุทธศักราช 2417, พุทธศักราช 2418, พุทธศักราช 2427, จ.ศ. 1236, จ.ศ. 1237, จ.ศ. 1246, จุลศักราช 1236, จุลศักราช 1237, จุลศักราช 1246, หินอ่อน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, พระบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร, กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์, พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ, กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์, พระประพันธ์วงศ์เธอ กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์, พระสุเมธาจารย์, เจ้าฟ้าจาตุรนรัศมี กรมหลวงจักพรรดิพงษ์, เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุพันวงษ์วรเดช, กรมหมื่นภูมินทรภักดี, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, วัดปากอ่าว, ท่าราชวรดิฐ, ศาสนาพุทธ, รามัญวงศ์, การปฏิสังขรณ์, การสร้างพระไตรปิฎกอักษรมอญ, การบรรจุพระบรมธาตุ, การทอดพระกฐิน, การเปลี่ยนชื่อวัด, มอญ, รามัญ, เรือพระราชพิธี, กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
ผนังด้านหน้าของพระอุโบสถวัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (สำรวจเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564) |
พุทธศักราช 2427 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1239?lang=th |
32 |
จารึกวัดนาหลวง |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2472 พระจันทิมาธรรม เจ้าอาวาสวัดหลวงเป็นประธาน พร้อมด้วยศิษยานุศิษย์และอุบาสกอุบาสิกาในหมู่บ้านแห่งนี้ ได้ร่วมกันก่อสร้างพระอุโบสถ จนกระทั่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2474 ทั้งหมดจึงได้พร้อมใจกันถวายพระอุโบสถไว้กับพระพุทธศาสนา โดยผู้มีส่วนร่วมในการก่อสร้างทั้งหลายต่างตั้งความปรารถนาให้ได้รับความสุข 3 ประการมีพระนิพพานเป็นที่สุด |
จารึกวัดนาหลวง, ศิลาจารึก วัดนาหลวง 1 (นน. 2074) จ.ศ. 1293 (พ.ศ. 2474), ศิลาจารึก วัดนาหลวง 1 (นน. 2074) จ.ศ. 1293 (พ.ศ. 2474), วัดนาหลวง ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, หินชนวนสีดำ, แผ่นหิน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2472, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาหลวง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระจันทิมาธรรม |
วัดนาหลวง ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2474 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14882?lang=th |
33 |
จารึกวัดนาราบ |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2495 พระอินสวนพร้อมด้วยภิกษุสามเณร และชาวบ้านตามที่ปรากฏชื่อในจารึกได้ว่าจ้างให้ช่างชื่อนายวงศ์เป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระพุทธศาสนา |
ศิลาจารึก วัดนาราบ 1 (นน. 2052) จ.ศ. 1214 (พ.ศ. 2495), ศิลาจารึก วัดนาราบ 1 (นน. 2052) จ.ศ. 1214 (พ.ศ. 2495), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, หินชนวนสีดำ, แผ่นหินทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2495, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 9, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระอินสวน, บุคคล-นายวงศ์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2495 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14779?lang=th |
34 |
จารึกวัดท่าคก |
ธรรมอีสาน |
ขุนนางในท้องถิ่นและครอบครัว เครือญาติ พร้อมใจกันสร้างพระอุโบสถ ไว้กับศาสนา |
จารึกวัดท่าคก, พ.ศ. 1410, พุทธศักราช 1410, พ.ศ. 1410, พุทธศักราช 1410, ศิลาทราย, รูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถ, วัดท่าคก, อำเภอเชียงคาน, จังหวัดเลย, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, พระศรีอัครราช, ภริยา, บุตร, พันธุวงศา, พระพุทธเจ้า, เมืองแก้ว, พุทธศาสนา, ขอดสีมา, ฝังลูกนิมิตพระอุโบสถ, ขอดพุทธสีมาอื่นๆ: ปีเถาะ, นพศก, นิพพาน |
หน้าพระอุโบสถวัดท่าคก ตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (สำรวจ 28 พฤศจิกายน 2556) |
พุทธศักราช 2410 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2438?lang=th |
35 |
จารึกวัดดอนไชย |
ธรรมล้านนา |
ในปี พ.ศ. 2422 เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่านได้โปรดให้เปลี่ยนชื่อจากเมืองงั่วเป็นเมืองศรีษะเกษ และในปีเดียวกันพระองค์ร่วมกับพระญาติและราษฎรได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์วัดดอนไชยและสร้างพระพุทธรูปขึ้นองค์หนึ่ง เมื่อสร้างแล้วเสร็จจึงนิมนต์พระสงฆ์มารับเครื่องไทยทาน ประกอบพิธีพุทธาภิเษกและจัดงานเฉลิมฉลอง นอกจากนี้ยังทรงถวายที่นาไว้กับวัดและบริจาคทานให้แก่ประชาชนอีกด้วย |
จารึกวัดดอนไชย, ศิลาจารึก วัดดอนไชย 1 (นน. 2044) จ.ศ. 1241 (พ.ศ. 2422), ศิลาจารึก วัดดอนไชย 1 (นน. 2044) จ.ศ. 1241 (พ.ศ. 2422), วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, แผ่นหินชนวนสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2422, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอนไชย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์น่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าอนันตวรฤทธิเดช |
วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2422 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13434?lang=th |
36 |
จารึกรอยพระพุทธบาทจำลอง วัดพระแท่นศิลาอาสน์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
อาจารย์กลีบ สร้างรอยพระพุทธบาท 4 รอยโดยจำลองมาจากเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2448 และขอให้ตนถึงแก่นิพพาน |
จารึกรอยพระพุทธบาทจำลอง วัดพระแท่นศิลาอาสน์, จารึกบนขอบรอยพระพุทธบาทจำลอง, หลักที่ 236 จารึกบนขอบรอยพระพุทธบาทจำลอง, อถ. 2, จารึกพระแท่นศิลาอาสน์, หลักที่ 236 จารึกบนขอบรอยพระพุทธบาทจำลอง, อถ. 2, ทองสัมฤทธิ์, รอยพระพุทธบาทจำลอง, จุลศักราช 1267, ปีมะเส็งสัปตศก, รัตนโกสินทรศก 124, พุทธศักราช 2448, จุลศักราช 1267, จ.ศ. 1267, รัตนโกสินทรศก 124, พุทธศักราช 2448, ร.ศ. 124, ร.ศ. 124, พ.ศ. 2448, พ.ศ. 2448, วัดพระแท่นศิลาอาสน์, ตำบลทุ่งยั้ง, อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5), รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนาเชียงใหม่บุคคล, อาจารย์กลีบอื่นๆ, พระพุทธบาทจำลอง, วัฏสงสาร, โอฆกันดาร, ห้วงมหรรณพ, กามภพ, รูปภพ , นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, ยังไม่มีหน้า, จารึกอักษรไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์, จารึก พ.ศ. 2448, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกภาษาไทย, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกวัดพระแท่นศิลาอาสน์, จารึกพบที่อุตรดิตถ์, การสร้างรอยพระพุทธบาทจำลอง, จารึกในพระพุทธศาสนา |
วิหารวัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล (ข้อมูลเดิมว่า อำเภอเมือง) จังหวัดอุตรดิตถ์ |
พุทธศักราช 2448 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1026?lang=th |
37 |
จารึกรอบระฆังวัดปงสนุกเหนือ |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2416 อโนชัยภิกขุ, เทพยวงศ์ภิกขุ และสามเณรทั้ง 20 รูป ได้มีร่วมกันสร้างแก้วและเดง (ระฆัง) เพื่อใช้ประดับพระธาตุ |
จารึกรอบระฆังวัดปงสนุกเหนือ, ลป. 20 จารึกรอบระฆังวัดปงสนุกเหนือ พ.ศ. 2416, ลป. 20 จารึกรอบระฆังวัดปงสนุกเหนือ พ.ศ. 2416, ลป. 20, ลป. 20, พ.ศ. 2416, พุทธศักราช 2416, พ.ศ. 2416, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, จุลศักราช 1235, จ.ศ. 1235, จุลศักราช 1235, วัดปงสนุกเหนือ ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, ระฆัง, เดง, เด็ง, กระดึง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2416, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนกระดึง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดปงสนุกเหนือ ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-อโนชัยภิกขุ, บุคคล-เทพยวงศ์ภิกขุ |
พระน้อย นรุตตฺโม เจ้าอาวาสวัดปงสนุกเหนือ กล่าวว่าจารึกดังกล่าวถูกนำไปแขวนที่พระธาตุ (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15985?lang=th |
38 |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขอเจริญพระราชไมตรีกับพระเจ้านโปเลียนที่ 3 และกล่าวถึงสัมพันภาพอันดีระหว่างไทยกับฝรั่งเศสตั้งแต่การทำสัญญาทางการค้าใน ค.ศ. 1857 รวมทั้งทรงชื่นชมกงสุลฝรั่งเศสในกรุงเทพฯซึ่งปฏิบัติหน้าที่ได้ดี |
จารึกพระราชสาส์นสุพรรณบัฏพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานไปยังพระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส, พ.ศ. 2404, 2404, ค.ศ. 1861, 1861, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร.4, ร.4, รัชกาลที่ 4, รัตนโกสินทร์, นโปเลียนที่ 3, ฝรั่งเศส, สัมพันธไมตรี, ปารีส, นโปเลยอน, นโปเลยนที่ 3, เมืองขึ้น, อาณานิคม, ลาวกาว, ลาวเฉียง, กำโพช, กัมโพช, มลายู, สุพรรณบัฏ, สุพรรณบัฎ, สุพรรณบัตร |
หอจดหมายเหตุ กระทรวงการต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส |
พุทธศักราช 2404 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2455?lang=th |
39 |
จารึกพระพุทธรูปนิรันตราย |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการอัญเชิญพระนิรันตรายประดิษฐานไว้บนหิ้งหน้าเรือนแก้ว ภายในพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ใน พ.ศ. 2421 (สมัยรัชกาลที่ 5) โดยมีการกล่าวประวัติของพระนิรันตรายอย่างละเอียด กล่าวคือ ใน พ.ศ. 2399 กำนันอินและนายยังพบพระพุทธรูปองค์นี้ที่ชายป่าแขวงเมืองปราจีนบุรี จึงนำเข้าถวายรัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงอัญเชิญไปเก็บไว้ที่หอเสถียรธรรมปริตกับพระกริ่งทองคำซึ่งองค์เล็กกว่า แต่เมื่อมีผู้ร้ายลักลอบเข้าไป กลับไม่ถูกขโมยทั้งที่เป็นทองคำและองค์ใหญ่กว่าพระกริ่ง จึงเป็นที่น่าอัศจรรย์อันเป็นมูลเหตุของการพระราชทานนาม “นิรันตราย”(ปราศจากอันตราย) นอกจากนี้ยังมีการหล่อพระพุทธรูปทองคำสวมพระนิรันตรายองค์ดังกล่าวอีกชั้น หนึ่ง และหล่อพระพุทธรูปเงินไว้คู่กัน ต่อมาใน พ.ศ. 2411 รัชกาลที่ 4 โปรดให้หล่อพระพุทธรูปพิมพ์เดียวกับพระนิรันตรายด้วยทองเหลืองแล้วกะไหล่ ด้วยทองคำ 18 องค์ เท่ากับจำนวนปีที่ทรงครองราชสมบัติแล้วดำริว่าจะทรงหล่อปีละ 1 องค์โดยถวายพระนามพระพุทธรูปว่าพระนิรันตรายทั้งสิ้น แต่ยังดำเนินการไม่เสร็จ พระองค์ก็สวรรคต รัชกาลที่ 5 จึงโปรดให้ช่างดำเนินการกะไหล่ทองพระพุทธรูปทั้งหมดจนเสร็จแล้วพระราชทานแด่ วัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายตามพระราชประสงค์ของรัชกาลที่ 4 |
ย. 73, หลักที่ 179 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, อย.73, หลักที่ 179, พุทธศักราช 2421, 2421, 2411, 2399, 2403, 2403,2411, 2399, จุลศักราช 1218, 1230, 1222, 1240, 1218, 1222, 1230, 1240, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่5, ร.5, รัชกาลที่ 5, ร.5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, กำนันอิน, นายยัง, พระเกรียงไกรกระบวนยุทธ, รัชกาลที่ 4, ร.4, วัดนิเวศธรรมประวัติ, เกาะบางปะอิน, อยุธยา, หอเสฐียรธรรมปริต, เมืองปราจีนบุรี, ดงศรีมหาโพธิ, ฉะเชิงเทรา, วัดบวรนิวศวิหาร, พุทธ, ลัก, ขโมย, ขุด, ถวายพระพุทธรูป, ถวายพระนามพระพุทธรูป, ฝัน, พระนิรันตราย, พระนฤมลธรรโมภาศ, พระกริ่งทองคำ, ทองเหลือง, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, กะไหล่ทอง, ก้าไหล่ทอง, ธรรมยุติกนิกาย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2421 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1141?lang=th |
40 |
จารึกพระธาตุพลูแช่ |
ธรรมล้านนา |
นายเม้า พรหมวงศ์นันท์ เป็นประธานพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องทุกคน ได้ว่าจ้างช่างชื่อนายเมืองให้สร้างพระพุทธรูปขึ้นองค์หนึ่ง เพื่อประดิษฐานไว้ภายในวิหารพระธาตุพลูแช่ และได้ทำบุญฉลองบวชพระพุทธรูปองค์นี้ในปี พ.ศ. 2473 |
จารึกพระธาตุพลูแช่, ศิลาจารึก พระธาตุพลูแช่ 1 (นน. 2108) จ.ศ. 1292 (พ.ศ. 2473), ศิลาจารึก พระธาตุพลูแช่ 1 (นน. 2108) จ.ศ. 1292 (พ.ศ. 2473), พระธาตุพลูแช่ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, หินชนวนสีดำ, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2473, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพระธาตุพลูแช่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-นายหนานเม้า พรหมวงศ์นันท์, บุคคล-นางฟอง พรหมวงศ์นันท์, บุคคล-นายเมือง |
พระธาตุพลูแช่ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2473 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14969?lang=th |
41 |
จารึกฝาหีบพระธรรมวัดดอนไชย |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการสร้างหีบพระธรรมเมื่อจุลศักราช 1211 (พ.ศ. 2403) |
จารึกฝาหีบพระธรรมวัดดอนไชย, นน. 56, นน. 56, ย. 10, ย. 10, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนไชย พ.ศ. 2403, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนไชย พ.ศ. 2403, จารึกฝาหีบพระธรรม วัดดอนชัย, นน. 56, นน. 56, ย. 10, ย. 10, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนชัย พ.ศ. 2403, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนชัย พ.ศ. 2403, Wat Don Chai A.D. 1860, Wat Don Chai A.D. 1860, จุลศักราช 1221, พุทธศักราช 2403, จุลศักราช 1221, พุทธศักราช 2403, จ.ศ. 1221, พ.ศ. 2403, จ.ศ. 1224, พ.ศ. 2403, ไม้, ฝาหีบพระธรรมลายรดน้ำ, วัดดอนไชย อำเภอเวียงเหนือ จังหวัดน่าน ตำบลกลางเวียง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, เมืองน่าน, พุทธ, การสร้างหีบพระธรรม, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2402, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างหีบพระธรรม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2402, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนหีบพระธรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหีบพระธรรม, บุคคล-นางบัวทิพย์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2402 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1922?lang=th |
42 |
จารึกบนไม้สักวัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการสร้างศาลา ถนน และบ่อน้ำหลายแห่งโดยหลวงพ่อแก้วและหลวงคลัง |
ชื่อจารึก : จารึกบนไม้สักที่วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง, หลักที่ 240 จารึกบนไม้สัก, หลักที่ 240, อถ.6, อถ.6วัตถุจารึก : ไม้สักลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สถานที่พบ : วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์บุคคล : หลวงพ่อแก้ว, หลวงคลัง, สถานที่ : วัดพระยืน, หนองไก่ฟูบ, เมืองทุ่งยั้ง, ถนนศีรษะดุม, ห้วยทราย, วัดน้อย, ปากถ้ำ, บ่อทองอาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5), รัชกาลที่ 5, ร.5 ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ ศาสนา : พุทธอื่นๆ : วิหาร, โบสถ์, ศาลา |
หน้าพระวิหาร วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ |
พุทธศักราช 2450 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1028?lang=th |
43 |
จารึกบนแผ่นอิฐวัดเปา |
ธรรมล้านนา |
น่าจะเป็นหัวใจของคาถาบทใดบทหนึ่งในพระพุทธศาสนา |
จารึกบนแผ่นอิฐวัดเปา, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดเปา 3 (นน. 2043) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดเปา 3 (นน. 2043) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเปา น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา |
วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15107?lang=th |
44 |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 2 |
ธรรมล้านนา |
ขนานไชยวุฒิเป็นผู้ปั้นอิฐก้อนนี้เป็นก้อนที่ 5 |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 2, จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 3 (นน. 2110) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 3 (นน. 2110) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, แผ่นอิฐ, จารึกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพระธาตุพลูแช่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ปั้นอิฐ, บุคคล-ขนานไชยวุฒิ |
พระธาตุพลูแช่ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14975?lang=th |
45 |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1 |
ธรรมล้านนา |
พระกับฆราวาสปั้นอิฐรวมกันได้ 4410 ก้อน |
จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1, จารึกบนแผ่นอิฐพระธาตุพลูแช่ 1, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 2 (นน. 2109) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกบนแผ่นอิฐ วัดพระธาตุพลูแช่ 2 (นน. 2109) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, แผ่นอิฐ, จารึกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพระธาตุพลูแช่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ปั้นอิฐ |
พระธาตุพลูแช่ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14972?lang=th |
46 |
จารึกบนแผ่นหินอ่อน ในพิพิธภัณฑ์พระพุทธบาท 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
(1) กล่าวย้อนไปถึงเหตุการณ์ใน พ.ศ. 2370 ซึ่งเจ้าฟ้ามงกุฏทรงอัญเชิญพระพุทธรูปจากกรุงเทพมหานครมาประดิษฐาน ณ ถ้ำวิมานจักรี เพื่อให้ผู้คนได้นมัสการ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน “จารึกถ้ำวิมานจักรี”) |
จารึกบนแผ่นหินอ่อน ในพิพิธภัณฑ์พระพุทธบาท 1, หลักที่ 140 จารึกบนแผ่นหินอ่อนในพิพิธภัณฑ์พระพุทธบาท, จารึกบนแผ่นหินอ่อน ในพิพิธภัณฑ์พระพุทธบาท 1, หลักที่ 140, สบ.3, สบ.3, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, อุทัยธานี, กรุงเทพมหานคร, ถ้ำวิมานจักรี, เจ้าฟ้ามงกุฏ, รัตนโกสินทร์, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.4), ร.4, รัชกาลที่ 4, จักรี, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งพระพุทธบาท สระบุรี ตำบลพระพุทธบาท อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี |
พุทธศักราช 2403 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1083?lang=th |
47 |
จารึกบนแผ่นหินชนวน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เป็นคำแปลของจารึกลานทอง 2 ชิ้นซึ่งพบที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี จารด้วยอักษรขอม ภาษาบาลี ชิ้นที่ 1 คือ “จารึกเจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์” ซึ่งเป็นพระสุพรรณบัฏของพระองค์เอง ส่วนชิ้นที่ 2 คือ “จารึกลานทอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี” กล่าวถึง กษัตริย์พระองค์หนึ่งโปรดให้สร้างสถูปและบรรจุพระบรมธาตุ ต่อมาพระโอรสของกษัตริย์พระองค์นั้น ได้ทำการปฏิสังขรณ์และบรรจุพระบรมธาตุ รวมทั้งบูชาด้วยเครื่องบูชาต่างๆ เช่น ทองคำ โดยตั้งความปรารถนาขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต |
ศิลาจารึกบนแผ่นหินชนวน, สพ.10, สพ.10, จ.ศ. 1265, 1269, พ.ศ. 2456, 2446, 2450, 1265, 1269, 2456, 2446, 2451, สมเด็จพระสังฆราช, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร.6, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร.5, ร.5, ร.6, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 6, อยุธยา, รัตนโกสินทร์, วัดมหาธาตุ, กรุ, ศาสนาพุทธ, ก่อพระสถูป, สร้างสถูป, บรรจุพระธาตุ, พระธาตุ, ชินธาตุ, สถูป, พระพุทธเจ้า, บุญ, ลานทอง, ไม่มีรูป |
กุฏิเจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศักราช 2456 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1187?lang=th |
48 |
จารึกบนหินอ่อนที่วัดน้อย |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2450 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ มกุฎราชกุมาร ประพาสเมืองศรีสัชนาลัยสวรรคโลก โดยตั้งพลับพลาอยู่ข้างวัดน้อยเป็นเวลา 13 คืน |
จารึกบนหินอ่อน ที่วัดน้อย, หลักที่ 242 จารึกบนหินอ่อน, หลักที่ 242 จารึกบนหินอ่อน, พ.ศ. 2450, พ.ศ. 2450, หินอ่อน สีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดน้อย ตำบลศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5), ราชวงศ์จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5 , พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6, สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร, รัชกาลที่ 6, ร. 6, วัดน้อย ตำบลศรีสัชชนาลัย อำเภอศรีสัชชนาลัย จังหวัดสุโขทัย, โบราณสถาน, ริมน้ำยมฝั่งใต้, พุทธศาสนา, ประพาส, ตั้งพลับพลา, ประทับ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดน้อย ตำบลศรีสัชชนาลัย อำเภอศรีสัชชนาลัย จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศักราช 2450 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/830?lang=th |
49 |
จารึกบนหินอ่อนที่พระที่นั่งอนันตสมาคม 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงรายชื่อผู้ที่ได้รับมอบหมายงานก่อสร้างพระที่นั่งอนันตสมาคมซึ่งมีทั้งขุนนางไทยและช่างชาวอิตาลี รวมถึงปีที่เริ่มสร้างคือ พ.ศ. 2450 ในสมัย ร. 5 และปีที่แล้วเสร็จคือ พ.ศ. 2458 ในสมัย ร. 6 (เนื้อหาของจารึกนี้ ต่อเนื่องมาจาก “จารึกบนหินอ่อนที่พระที่นั่งอนันตสมาคม 1”) |
จารึกบนหินอ่อนที่พระที่นั่งอนันตสมาคม 2, หลักที่ 239 จารึกบนหินอ่อน, จารึกบนหินอ่อนที่พระที่นั่งอนันตสมาคม 2, หลักที่ 239 จารึกบนหินอ่อน, หินอ่อนสีน้ำตาล, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ขอบประตูชั้นบน ในพระที่อนันตสมาคมด้านทิศตะวันออก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 6) , ร. 6, รัชกาลที่ 6, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5 , พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6 , ร. 6, รัชกาลที่ 6, พระที่อนันตสมาคมด้านทิศตะวันออก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
ขอบประตูชั้นบน ในพระที่อนันตสมาคมด้านทิศตะวันออก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2458 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/824?lang=th |
50 |
จารึกบนหินอ่อนด้านหลังพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐ์ฯ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คำประกาศพัทธสีมาวัดราชประดิษฐ์ กล่าวถึงความเป็นมา วัตถุประสงค์ กฏเกณฑ์และขอบเขตของสีมา โดยเน้นถึงการเป็นที่ของภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย |
จารึกบนหินอ่อนด้านหลังพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐ์, หลักที่ 193 ศิลาจารึกวัดราชประดิษฐ์ ฯ, หลักที่ 193 ศิลาจารึกวัดราชประดิษฐ์ ฯ, จุลศักราช 1226, พุทธศักราช. 2407, จุลศักราช 1227, พุทธศักราช 2408, จุลศักราช 1226, พุทธศักราช. 2407, จุลศักราช 1227, พุทธศักราช 2408, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลทื่ 4 , ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 4, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4 , ร. 4, หม่อมเจ้าดิศ, พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3 , ร. 3, เจ้าพระยาศรีสุริวงษสมันตพงษ์พิสุทธิ์, ตึกดิน, สวนกาแฟ, โรงธรรม, ศาลาการเปรียญ, หอพระพุทธรูป, คลองโรงสี, พุทธศาสนา, ธรรมยุติกนิกาย, ธรรมยุต, กรมพระนครบาล |
วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรมหาวิหาร แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2408 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1135?lang=th |
51 |
จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปกาไหล่ทอง วัดนิเวศธรรมประวัติ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) และพระราชเทวี ทรงสถาปนาพระพุทธรูปองค์หนึ่งขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา พระราชธิดา |
อย. 71, อย.71, หลักที่ 182 จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปปางสมาธิ กาไหล่ทอง, หลักที่ 182 จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปปางสมาธิ กาไหล่ทอง, จารึกบนผ้าทิพย์พระพุทธรูปกาไหล่ทอง วัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธศักราช 2430, พุทธศักราช 2430, พ.ศ. 2430, พ.ศ. 2430, ทองคำ, ฐานพระพุทธรูป, ผ้าทิพย์, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่5,รัชกาลที่ 5, ร.5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5,ร. 5, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 5, พระราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทรา บรมราชเทวี ฯ, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา, วัดนิเวศธรรมประวัติ, เกาะบางปะอิน, อยุธยา, การเปรียญ, พุทธ, พระราชกุศล, อุทิศ, ปรโลก, การสร้างพระพุทธรูป, การสถาปนาพระพุทธรูป |
พิพิธภัณฑ์วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/786?lang=th |
52 |
จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงประวัติการเคลื่อนย้ายหลวงพ่อเพชรไปที่วัดเบญจมบพิตรเมื่อ ร.ศ. 119 และการอัญเชิญกลับมาที่วัดท่าถนน ใน ร.ศ. 129 โดยหลวงนฤนารถเสนี (พัน) (รัชกาลที่ 5 พระราชทานคืน) |
ชื่อจารึก : จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร), หลักที่ 234 จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร), หลักที่ 234 จารึกบนฐานพระพุทธรูป (หลวงพ่อเพชร) ศักราช : พุทธศักราช 2453, รัตนโกสินทร์ศักราช 129, พุทธศักราช 2453, รัตนโกสินทร์ศักราช 129วัตถุจารึก : ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ลักษณะวัตถุ : ฐานพระพุทธรูปสถานที่พบ : วิหารหลวงพ่อเพชร วัดท่าถนน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่5, ร.5, รัชกาลที่ 5 , ร.5ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5, หลวงนฤนารถเสนี (พัน), จุ (ภรรยา) สถานที่ : วัดราชบพิธ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. , วัดท่าถนน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพ ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : อัญเชิญ, พระราชทานคืน |
วิหารหลวงพ่อเพชร วัดท่าถนน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ |
พุทธศักราช 2443 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/818?lang=th |
53 |
จารึกบนฐานประติมากรรมรูปสุกร |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถวายพระพรแด่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถให้ทรงมีพระชนมายุยืนนาน ตอนท้ายกล่าวถึงพระนามและนามผู้สร้างซึ่งได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์, พระยาพิพัฒโกษา (เศเลสติโน ซาเวียร์) และ พระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) โดยระบุปีที่สร้างคือ พ.ศ. 2456 |
หลักที่ 279 ศิลาจารึกบนฐานสุกรยืน, หลักที่ 279 ศิลาจารึกบนฐานสุกรยืน, พุทธศักราช 2456, พุทธศักราช 2456, หินชนวนสีเทา, ฐานประติมากรรม, หน้าวัดราชประดิษฐ์ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 6, ร.6, รัชกาลที่ 6, ร. 6, จักรี, รัตนโกสินทร์, สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ ฯ, สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัติวงศ์, พระยาพิพัฒโกษา, เศเลสติโน ซาเวียร์ ฯ, พระยาราชสงคราม (กร หงสกุล), พุทธ, อุทิศพระราชกุศล, การสร้างประติมากรรม, วันเฉลิมพระชนมพรรษา |
หน้าวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 5 มิถุนายน 2564) |
พุทธศักราช 2456 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/826?lang=th |
54 |
จารึกที่เจดีย์วัดชุมพลนิกายาราม |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการให้ปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ 2 องค์อาคารต่างๆ และพระพุทธรูปในวัดชุมพลนิกายาราม รวมถึงบรรจุพระบรมธาตุ โดยมีการกล่าวถึงประวัติของเจดีย์ว่าสร้างในรัชกาลพระเจ้าปราสาททองและปฏิสังขรณ์ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในสมัยอยุธยา |
ชื่อจารึก : "อย.34 ", หลักที่ 191 จารึกบนหินอ่อน, จารึกที่เจดีย์วัดชุมพลนิกายาราม, "อย.34 ", หลักที่ 191 จารึกบนหินอ่อนวัตถุจารึก : หินอ่อน สีเขียวลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : วัดชุมพลนิกายาราม ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาณาจักร : สยาม, ไทย ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร.4, พระเจ้าปราสาททอง, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์, รัชกาลที่ 4, ร.4สถานที่ : วัดชุมพลนิกายาราม ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, วัดโคกแสง, เกาะบางป่าอินทร์, เกาะบางปะอินศาสนา : พุทธ, พุทธภูมิ, โพธิญาณ, โพธิสัตว์, นฤพาน, นิพพานอื่นๆ : พระบรมธาตุ, เจดีย์, อุโบสถ, วิหาร, การเปรียญ, กุฎีเหตุการณ์สำคัญ : ปฏิสังขรณ์, ครองราชย์, ปราบดาภิเษก, สถาปนาอาราม |
วัดชุมพลนิกายาราม ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2406 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/854?lang=th |
55 |
จารึกที่อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์,โรมัน |
กล่าวถึงการสร้างอนุสาวรีย์แห่งนี้ เพื่อเป็นที่ระลึกแห่งความรัก แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2424 |
จารึกที่อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ 2, หลักที่ 228 จารึกบนหินอ่อน, จารึกที่อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ 2, หลักที่ 228 จารึกบนหินอ่อน, อย. 35, พุทธศักราช 2424, จุลศักราช 1243, พุทธศักราช 2424, จุลศักราช 1243, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ในพระราชวังบางปะอิน พระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์, พระราชวังบางปะอิน, พระนครศรีอยุธยา, พุทธ, เรือล่ม, สวรรคต, ตาย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ตรี อมาตยกุล,ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2, สมบัติ จำปาเงิน, รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ส. พลายน้อย, พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดา, วังเจ้านาย, นงค์นุช ไพรพิบูลยกิจ, พระราชวังโบราณ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2424, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพระราชวังบางปะอิน พระนครศรีอยุธยา, เรื่อง-การสร้างอนุสาวรีย์, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์, บุคคล-สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5 |
อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ในพระราชวังบางปะอิน ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2424 |
ไทย,อังกฤษ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/871?lang=th |
56 |
จารึกที่อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างอนุสาวรีย์ เพื่อเป็นที่ระลึกแด่สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์และสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงกรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ ซึ่งสวรรคตเมื่อ พ.ศ. 2423 โดยมีการกล่าวถึงพระราชประวัติของทั้งสองพระองค์และพรรณนาถึงความโศกเศร้าของรัชกาลที่ 5 |
ชื่อจารึก : จารึกที่อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ 1, หลักที่ 227 จารึกบนหินอ่อน, จารึกที่อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ 1, หลักที่ 227 จารึกบนหินอ่อนศักราช : พุทธศักราช 2423, จุลศักราช 1242, พุทธศักราช 2423, จุลศักราช 1242, พ.ศ. 2423, จ.ศ. 1242, พ.ศ. 2423, จ.ศ. 1242 วัตถุจารึก : หินอ่อนสีขาวลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ในพระราชอุทยานสราญรมย์ เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานครอาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : เรือล่ม, สวรรคต, ตาย |
อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ในพระราชอุทยานสราญรมย์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2423 |
ไทย,อังกฤษ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/862?lang=th |
57 |
จารึกที่อนุสาวรีย์ท้าวหิรัญพนาสูร |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างประติมากรรมท้าวหิรัญพนาสูรเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 |
หลักที่ 284 จารึกบนโลหะทองแดง, จารึกที่อนุสาวรีย์ท้าวหิรัญพนาสูร, หลักที่ 284 จารึกบนโลหะทองแดง, ทองแดง, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, อนุสาวรีย์ท้าวหิรัญพนาสูร ภายในโรงพยาบาลพระมงกุฏฯ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 6, ร. 6, รัชกาลที่ 6, ร. 6, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6, สร้างประติมากรรม, หล่อประติมากรรม, ท้าวหิรัญพนาสูร |
อนุสาวรีย์ท้าวหิรัญพนาสูร ด้านหลังโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2465 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/960?lang=th |
58 |
จารึกที่ศาลเจ้าข้างองค์พระปฐมเจดีย์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงความเป็นมา คุณค่า และความหมายของจารึกคาถาเยธมฺมา ตอนท้ายเป็นข้อความว่าด้วยเรื่องปฏิจจสมุปบาท |
จารึกที่ศาลเจ้าข้างองค์พระปฐมเจดีย์, จารึกบนแผ่นศิลาที่ศาลา ในบริเวณพระปฐมเจดีย์, หลักที่ 192 จารึกบนหินอ่อน, หลักที่ 192 จารึกบนหินอ่อน, นฐ. 11, นฐ.11, หลักที่ 192, หินอ่อน สีดำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาลเจ้าข้างองค์พระปฐมเจดีย์ ตำบลองค์พระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร}, เจษฎ์ ปรีชานนท์, จารึกที่องค์พระปฐมเจดีย์, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, อายุ-จารึก พ.ศ. 2408, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร นครปฐม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4 |
ศาลเจ้าข้างองค์พระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2408 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1075?lang=th |
59 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 33 (คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15 กล่าวถึง ความสุขสูงสุดคือพระนิพพาน และการเป็นผู้มีความสุข โดยการคบนักปราชญ์ผู้มีปัญญา และอยู่ร่วมกับพระอริยเจ้าทั้งหลาย ไม่คบคนพาล เป็นต้น |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 33, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 33 (คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 33, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 33 (คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15), ปูนลั, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, หม่อมเติม, ประจักษ์ศิลปาคม, สุขวรรค, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หม่อมเติม |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2573?lang=th |
60 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 32 (คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15 กล่าวถึง การเป็นผู้มีความสุขได้โดยการไม่มีเวร ไม่เดือดร้อน ไม่มีกิเลส การละจากความชนะ-ความแพ้ การไม่มีโทสะ และราคะ เป็นต้น |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 32, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 32 (คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 32, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 32 (คาถาธรรมบท สุขวรรคที่ 15), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, สุขวรรค, ประจักษ์ศิลปาคม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2571?lang=th |
61 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 31 (คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14 ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า โดยกล่าวถึง การเกิดของพระพุทธเจ้าและการแสดงพระสัทธรรม และระบุว่า ผู้ที่ถึงในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รู้แจ้งในอริยสัจ 4 ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวง |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 31, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 31 (คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 31, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 31 (คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, หม่อมนวม, กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม, พุทธวรรค, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หม่อมนวม |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2569?lang=th |
62 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 30 (คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14 ว่าด้วยเรื่องของพระพุทธเจ้า |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 30, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 30 (คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 30, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 30 (คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, พุทธวรรค, หลวงธำรงเจดีย์รัฐ, เจิม, บุตร, |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2567?lang=th |
63 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 29 (คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13 ว่าด้วยเรื่องโลกและการใช้ชีวิตบนโลกให้พบกับความสุขในเบื้องหน้า ตอนท้ายเป็นข้อความจากพุทธวรรคที่ 14 กล่าวถึง การชนะซึ่งกิเลสและตัณหาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 29, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 29 (คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 29, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 29 (คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, โลกวรรค, พุทธวรรค, หลวงธำรงค์เจดีย์รัฐ, จตบ โยคิโกเทโส, |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2565?lang=th |
64 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 28 (คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13 กล่าวถึง การประพฤติสุจริตธรรมซึ่งจะทำให้เป็นสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 28, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 28 (คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 28, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 28 (คาถาธรรมบท โลกวรรคที่ 13), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, หลวงธำรงเจดีย์รัฐ, จตบ โยคิโกเทโส, โลกวรรค, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หลวงธำรงเจดีย์รัฐ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2563?lang=th |
65 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 27 (คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ 12) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ 12 กล่าวถึง การรู้จักทำสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตน คือการทำกรรมดีซึ่งจะทำให้ตนเองบริสุทธิ์หมดจด แม้ว่าการทำกรรมไม่ดีนั้นง่ายกว่าแต่จะทำให้ตนเศร้าหมอง |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 27, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 27 (คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ 12), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 27, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 27 (คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ 12), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, อัตตวรรค, หลวงหลวงบุรีภิรมย์กิจ, สวัสดิ์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-ภรรยาหลวง-หลวงบุรีภิรมย์กิจ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2561?lang=th |
66 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 26 (คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11 และอัตตวรรคที่ 12) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ตอนต้นเป็นข้อความในชราวรรคที่ 11 กล่าวถึง ประโยชน์ของการประพฤติพรหมจรรย์ จากนั้นเป็นข้อความในอัตตวรรคที่ 12 กล่าวถึง การรักษาตนให้ดีก่อนที่จะสั่งสอนผู้อื่นได้ในภายหลังและการพึ่งพาตนเอง คือ ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 26, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 26 (คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11 และอัตตวรรคที่ 12), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 26, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 26 (คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11 และอัตตวรรคที่ 12), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนาล คาถาธรรมบท, ชราวรรค, อัตตวรรค, หลวงบุรีภิรมย์กิจ, สวัสดิ์, ยกกระบัตรมณฑล, มณฑลนครไชยศรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หลวงบุรีภิรมย์กิจ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2559?lang=th |
67 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 25 (คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11 กล่าวถึง ความไม่ยั่งยืนของร่างกายซึ่งมีการเน่าเปื่อย ต่างจากธรรมของสัตบุรุษซึ่งจะไม่ร่วงโรยไป |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 25, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 25 (คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 25, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 25 (คาถาธรรมบท ชราวรรคที่ 11), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, ชราวรรค, หลวงบุรีภิรมย์กิจ, สวัสดิ์, ยกกระบัตรมณฑล, มณฑลนครไชยศรี, |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2557?lang=th |
68 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 24 (คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10 และชราวรรคที่ 11) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ตอนต้นเป็นข้อความในทัณฑวรรคที่ 10 กล่าวถึง บุคคลผู้ฝึกตนให้มีความเพียรและความสังเวช ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล วิริยะ สมาธิ และ การวินิจฉัยธรรม ย่อมเป็นผู้ละจากความทุกข์ทั้งปวงได้ ส่วนตอนท้ายเป็นข้อความในชราวรรคที่ 11 กล่าวถึง ความไม่ยั่งยืนของร่างกาย |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 24, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 24 (คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10 และชราวรรคที่ 11), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 24, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 24 (คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10 และชราวรรคที่ 11), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, ทัณฑวรรค, หลวงรัตนศาสตร์สมบูรณ์, พิน เนติบัณฑิตย์, ผู้พิพากษาศาลมณฑลนครไชยศรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หลวงรัตนศาสตร์สมบูรณ์ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2555?lang=th |
69 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 23 (คาถาธรรมบท ฑัณทวรรคที่ 10) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ฑัณทวรรคที่ 10 |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 23, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 23 (คาถาธรรมบท ฑัณทวรรคที่ 10), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 23, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 23 (คาถาธรรมบท ฑัณทวรรคที่ 10), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธ, คาถาธรรมบท, ฑัณทวรรค, จางวางขุนทอง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-จางวางขุนทอง |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2799?lang=th |
70 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 22 (คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10 กล่าวถึง การไม่เบียดเบียนชีวิตสัตว์ทั้งหลายเพื่อความสุขของตน ซึ่งจะทำให้ไม่มีความสุขในโลกหน้า, การไม่กล่าวคำหยาบกับผู้อื่น และการไม่ทำตนให้หวั่นไหวจะทำให้เป็นผู้ถึงนิพพานได้ |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 22, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 22 (คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 22, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 22 (คาถาธรรมบท ทัณฑวรรคที่ 10), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, ทัณฑวรรค, ขุนพจมานมานิตย์, โพล้ง, นางบาง, นางแปลก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-ขุนพจน์มาลย์มานิตย์, บุคคล-นางบาง, บุคคล-นางแปลก |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2553?lang=th |
71 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 21 (คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9 |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 21, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 21(คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 21, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 21 (คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, นายอิน, นายอำเภอสามแก้ว, บาปวรรค, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-นายอิน |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2797?lang=th |
72 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 20 (คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9 กล่าวถึง การกระทำความดีและการห้ามจิตจากบาป เนื่องจากการทำบาปแม้เพียงเล็กน้อยย่อมสะสมจนมีปริมาณมาก เช่นเดียวกับการทำบุญซึ่งสั่งสมทีละน้อยย่อมเกิดผลคือการนำความสุขมาให้ |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 20, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 20 (คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 20, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 20 (คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่ 9), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, ปาปวรรค, หลวงศิริเกษตราภิบาล, แม่มอญ, หม่อมหลวงเล็ก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หลวงศิริเกษตราภิบาล, บุคคล-แม่มอญ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2551?lang=th |
73 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19 (คาถาธรรมบท สหัสสวรรคที่ 8) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท สหัสสวรรคที่ 8 ว่าด้วยสิ่งเดียวประเสริฐกว่าร้อยกว่าพัน กล่าวคือ ผู้เจริญ, ผู้มี ปัญญา, ผู้ปรารถนาความเพียร, ผู้พิจารณาเห็นความเกิดขึ้นและเสื่อมไป, ผู้พิจารณาเห็นอมตบท มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้ที่ไม่พิจารณาเห็นสิ่งเหล่านี้โดยมีชีวิตอยู่ถึงร้อยปี เป็นต้น |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19, ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธ, คาถาธรรมบท, หลวงเสนีย์พิทักษ์, บ๋วย, ข้าหลวงมหาดไทยมณฑลนครไชยศรี, สหัสวรรค, จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19 (คาถาธรรมบท สหัสสวรรคที่ 8), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 19 (คาถาธรรมบท สหัสสวรรคที่ 8), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี , พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, หลวงเสนีย์พิทักษ์, บ๋วย, ข้าหลวงมหาดไทยมณฑลนครไชยศรี, สหัสวรรค, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หลวงเสนีย์พิทักษ์ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2549?lang=th |
74 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 18 (คาถาธรรมบท สหัสวรรคที่ 8) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท สหัสวรรคที่ 8 กล่าวถึง การชนะตนเองซึ่งถือเป็นผู้ชนะสูงสุด, การบูชาของผู้มีตนอันอบรมแล้วแม้เพียงครู่เดียว ประเสริฐกว่าผู้ที่บูชาด้วยทรัพย์และผู้บำเรอไฟ เป็นต้น |
จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 18, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 18 (คาถาธรรมบท สหัสวรรคที่ 8), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 18, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 18 (คาถาธรรมบท สหัสวรรคที่ 8), ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทยล จักรี, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาธรรมบท, นายจ่าหุ่น, สหัสวรรค, อรหันตวรรค, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท, บุคคล-หลวงเสนีย์พิทักษ์ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2547?lang=th |
75 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9 (คาถาธรรมบท ปุปผวรรคที่ 4) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เนื้อหาในจารึกเป็นคาถาธรรมบท บุปผวรรคที่ 4 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9 (คาถาธรรมบท ปุปผวรรคที่ 4), จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9 (คาถาธรรมบท บุปผวรรคที่ 4), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9, จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 9, ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, รัชกาลที่ 5, ร. 4, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาสรรเสริญพระพุทธคุณ, คาถาธรรมบท, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, จารึกที่องค์พระปฐมเจดีย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท บุปผวรรคที่ 4 |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2793?lang=th |
76 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8 (คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เนื้อหาจารึกเป็น คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3 ซึ่งว่าด้วยการฝึกและรักษาจิต |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8 (คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3), จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8 (คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8, จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 8, ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, รัชกาลที่ 5, ร. 4, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาสรรเสริญพระพุทธคุณ, คาถาธรรมบท, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, จารึกที่องค์พระปฐมเจดีย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4-5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3 |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2545?lang=th |
77 |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7 (คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3 ซึ่งกล่าวถึงการฝึกจิตและประโยชน์ของการรักษาและสำรวมจิตอันจะนำมาซึ่งความสุข |
จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7 (คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3), จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7 (คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3), จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7, จารึกอักษรขอมย่อที่ฝาผนังพระระเบียงคดทั้ง 4 ด้านที่องค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7, จารึกที่ระเบียงคดรอบองค์พระปฐมเจดีย์ ห้องที่ 7, ปูน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, รัชกาลที่ 5, ร. 4, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, คาถาสรรเสริญพระพุทธคุณ, คาถาธรรมบท, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, จารึกที่องค์พระปฐมเจดีย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2445, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนปูน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ 3 |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2445 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2543?lang=th |
78 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 4 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวปฏิญาณว่า ตนซึ่งเป็นภิกษุ ไม่เคยทำให้อสุจิเคลื่อน และกอดจูบกับสามเณร หรือศิษย์วัดด้วยราคะ หากสิ่งที่ตนกล่าวเป็นความจริง ขอให้ตนได้อยู่ที่เสนาสนะนี้ต่อไป ถ้าใครอยู่ที่แห่งนี้แล้ว ไม่ได้ปล่อยใจไปตามราคะ ขอให้ผู้นั้นรวมทั้งบริวาร ญาติพี่น้อง และลูกหลานมีอายุยืนนาน มีความสุขสมปรารถนา ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่ตั้งใจทำให้อสุจิเคลื่อน กอดจูบกัน หรือทำลายจารึกนี้ |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 4, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 4, หลักที่ 174 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 174 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4 , รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระตำหนักปั้นหย่า, วัดบวรนิเวศวิหาร, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393-2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1153?lang=th |
79 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) ทรงมีพระบรมราชโองการ ประกาศห้ามผู้หญิงขึ้นไปบนพระตำหนักปั้นหย่าอย่างเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นเด็ก หญิงสาว หรือคนชรา |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 3, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 3, หลักที่ 170 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 170 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4 , รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ผู้หญิง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393,อายุ-จารึก พ.ศ. 2393-2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/774?lang=th |
80 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) ทรงมีพระบรมราชโองการ ประกาศห้ามผู้หญิงขึ้นไปบนพระตำหนักปั้นหย่าอย่างเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นเด็ก หญิงสาว หรือคนชรา |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 2, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 2, หลักที่ 169 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 169 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4 , รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ผู้หญิง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393,อายุ-จารึก พ.ศ. 2393-2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/772?lang=th |
81 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศห้ามผู้หญิงขึ้นไปบนพระตำหนักปั้นหย่าอย่างเด็ดขาด ไม่เว้นแม้แต่เด็กหรือคนชรา อีกทั้งสัตว์ตัวเมียก็ห้ามนำมาเลี้ยงในบริเวณดังกล่าว เพื่อรักษาให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สำหรับปฏิบัติธรรมดังเช่นที่เคยเป็นมาตั้งแต่ตำหนักนี้สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2379 ในสมัยรัชกาลที่ 3 |
จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 1, จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า 1, หลักที่ 168 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, หลักที่ 168 จารึกที่พระตำหนักปั้นหย่า, พุทธศักราช 2393, พุทธศักราช 2393, พ.ศ. 2393, พ.ศ. 2393, พุทธศักราช 2393-2411, พุทธศักราช 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พ.ศ. 2393-2411, พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4), จักรี, รัตนโกสินทร์, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 3, รัชกาลที่ 3, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระตำหนักปั้นหย่า, วัดบวรนิเวศวิหาร, พุทธศาสนา, กุศล สงฆ์, สามเณร, กรรมฐาน, สวดมนต์, ภาวนา, สุนัข, หมา, วานร, ลิง, แมว, เดียรฉาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2393, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระตำหนักปั้นหย่า, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558) |
พุทธศักราช 2393-2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/764?lang=th |
82 |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 3 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โปรดให้หล่อพระพุทธรูปทองเหลืองกะไหล่ทองคำ อุทิศแด่พระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งได้อัญเชิญมาพร้อมพระพุทธนฤมลธรรโมภาศ แล้วประดิษฐานบนหิ้งข้างเรือนแก้ว ภายในอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ เมื่อ พ.ศ. 2421 โดยมีการกล่าวถึงประวัติและมูลเหตุการหล่อพระพุทธรูปทั้ง 2 อย่างละเอียด กล่าวคือ รัชกาลที่ 3 โปรดให้กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส หล่อพระพุทธรูป 37 แล้วทรงเลือก 3 ปางเพื่อสร้างเป็นพระพุทธรูปพระชนมพรรษาประจำแผ่นดิน 3 ปาง ส่วนที่เหลือให้ประดิษฐานในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา รัชกาลที่ 4 โปรดให้กะไหล่ทองพระพทธรูปทั้ง 37 องค์แล้วอุทิศแด่พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา 33 พระองค์ และพระเจ้ากรุงธนบุรี 1 องค์ อีก 3 องค์อุทิศแด่รัชกาลที่ 1 - 3 ครั้นเมื่อมีการฉลองวัดชุมพลนิกายารามใน พ.ศ. 2407 รัชกาลที่ 4 ทรงอัญเชิญพระพุทธรูป ที่อุทิศแด่พระเจ้าปราสาททองและพระนารายณ์มหาราช มาตั้งในอุโบสถแล้วเชิญกลับกรุงเทพฯ ต่อมา รัชกาลที่ 5 ดำริว่าพระมหากษัตริย์ทั้ง 3 คือ พระเจ้าปราสาททอง พระนารายณ์มหาราช และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ล้วนแต่เคยประทับ ณ บริเวณเกาะบางปะอิน จึงควรมีสิ่งที่ระลึกถึงพระเกียรติ ซึ่งสำหรับรัชกาลที่ 4 คือ พระพุทธรูปนิรันตราย ส่วนอีก 2 พระองค์ โปรดให้หล่อพระพุทธรูป ตามขนาดและแบบเดียวกับองค์ที่รัชกาลที่ 4 ทรงอัญเชิญมาในคราวฉลองวัดชุมพลนิกายาราม |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 3, จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 3, อย. 54, หลักที่ 188 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, จารึกที่ผนังอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 3, อย. 54, หลักที่ 188 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, จารึกที่ผนังอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 3, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2407, พุทธศักราช 2421, พุทธศักราช 2407, จุลศักราช 1226, จุลศักราช 1240, จ.ศ. 1226, จ.ศ. 1240, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2407, พุทธศักราช 2421, พุทธศักราช 2407, จุลศักราช 1226, จุลศักราช 1240, จ.ศ. 1226, จ.ศ. 1240, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าปราสาททอง, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระรามาธิเบศร์, พระนารายณ์มหาราช, รามาธิบดีที่ 3, รามาธิบดีที่ 3, พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 4, ขุนวรวงศาธิราช, พระเจ้าอู่ทอง, รามาธิบดีที่ 1, รามาธิบดีที่ 1, พระเจ้าเอกทัศน์, พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก, พระพุทธเลิศหล้านภาลัย, รัชกาลที่ 1, ร. 1, รัชกาลที่ 1, ร. 1, รัชกาลที่ 2, ร. 2, รัชกาลที่ 2, ร. 2, พระเจ้ากรุงธนบุรี, พระเจ้าตากสิน, วัดนิเวศธรรมประวัติ, วัดพระแก้ว, พระนคร, พระบรมมหาราชวัง, วัดพระศรีรัตนศาสดาราม, หอพระราชพงษานุสรณ์, หอราชกรมานุสรณ์, กรุงทวารวดีศรีอยุธยา, พุทธศาสนา, ธรรมยุติกนิกายเ, การฉลองวัด, การหล่อพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, ปฏิสังขรณ์, พระพุทธรูป, นั่งลอยถาดมธุปายาศ, ยืนจงกรม, พระพุทธรูปพระชนมพรรษา, พิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา, พระนิรันตราย, พระพุทธนฤมลธรรโมภาศ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2421 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1149?lang=th |
83 |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 2 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
(1) ระบุวันเวลาที่เริ่มสร้างวัดใน พ.ศ. 2419 และวันเวลาที่สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2421 |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 2, จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 2, อย. 48, หลักที่ 186 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 48, หลักที่ 186 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธศักราช 2421, พุทธศักราช 2421, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2421, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระเจ้าปราสาททอง, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวิริยาลงกรณ์, วัดนิเวศธรรมประวัติ, วัดราชประดิษฐสถิยมหาสีมาราม, พุทธศาสนา, ธรรมยุติกนิกาย, สถาปนาพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, การหล่อพระพุทธรูป, พระพุทธนฤมลธรรโมภาส, มหาสาวก, เรือกลไฟ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2421 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1139?lang=th |
84 |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 1 |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2421 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้พระศรีสุนทรโวหาร เจ้ากรมพระอาลักษณ์ จารึกประวัติการสร้างวัดนิเวศธรรมประวัติ เพื่อติดไว้ในพระอุโบสถด้านขวา-ซ้าย ด้านละ 1 แผ่น โดยมีเนื้อความต่อเนื่องกัน จารึกหลักนี้กล่าวย้อนถึงเหตุการณ์สมัยประเจ้าปราสาททอง ในสมัยอยุธยา และการปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นจึงกล่าวถึงประวัติวัดนิเวศธรรมประวัติตั้งแต่มูลเหตุการสร้าง, ฤกษ์การก่อพระอุโบสถใน พ.ศ. 2420, รายละเอียดเกี่ยวกับสถาปัตกรรมภายในวัด, การเสด็จพระราชดำเนินมาบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ, การปลูกต้นพระมหาโพธิ รวมถึงการโปรดให้หล่อพระพุทธรูปคันธารราษฎร์ใน พ.ศ. 2421 |
จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 1, จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 1, อย. 47, หลักที่ 180 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 47, หลักที่ 180 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2421, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, พระเจ้าปราสาททอง, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระศรีสุนทรโวหาร, เจ้ากรมพระอาลักษณ์, รัชกาลที่ 4, ร. 4, วัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธ, ธรรมยุติกนิกาย, การสร้างวัด, สถาปนาวัด, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2421 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1137?lang=th |
85 |
จารึกที่ผนังตึกโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
(1) พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 6) เสด็จมาเปิดโรงพยาบาลกาชาดและโปรดให้สร้างจารึกไว้ที่โรงพยาบาล ใน พ.ศ. 2457 (2) กล่าวถึงประวัติการสร้างโรงพยาบาลกาชาด คือ พระราชโอรส พระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ทรงร่วมกันบำเพ็ญพระราชกุศลแด่พระองค์ โดยการสร้างโรงพยาบาลอันเป็นถาวรประโยชน์ (3) ตอนท้ายระบุพระนามผู้ทรงบริจาคทรัพย์จำนวน 42 พระองค์ |
หลักที่ 280 จารึกบนหินอ่อน, หลักที่ 280 จารึกบนหินอ่อน, จารึกที่ผนังตึกโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, หินอ่อน สีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แขวงศาลาแดง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 6, ร. 6, รัชกาลที่ 6, ร. 6, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีรัตนโกสินทรเจ้าฟ้ากรมหลวงนครสวรรค์วรพินิต, สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ, สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงเพ็ชร์บุรีราชสิรินธร, สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมขุนนครราชสีมา, สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์, สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนเพ็ชร์บูรณ์อินทราไชย, สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนศุโขทัยธรรมราชา, สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนลพบุรีราเมศวร์, สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา, สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าผ่อง, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าจุธารัตน์ราชกุมารี, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาคย์, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าศุวภักตรวิลัยพรรณ, พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงจันทบุรีนฤนารถ, พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุริดิเรกฤทธิ์, พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี, พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ, พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย, พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตอุดมศักดิ์, พระเจ้าน้องนางเธอพระองค์เจ้าศะศิพงษ์ประไพย, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์, พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นกำแพงเพ็ชร์อรรคโยธิน, พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสิงหวิกรมเกรียงไกร, พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสรรค์วิสัยนฤบดี, พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์, พระเจ้าน้องนางเธอพระองค์เจ้าเยาวภาพงษ์สนิท , พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอรประพันธุรำไพ, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าประพาพรรณพิลัย, พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยุรศักดิ์, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีประชา, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร, พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าเหมวะดี, การสร้างโรงพยาบาล, การสวรรคต, สภาอุนาโลมแดง, สภาอุณาโลมแดง, โรงพยาบาลกาชาด, เหลือง |
ผนังทางบันไดขึ้นชั้นบนด้านขวามือ ตึกโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แขวงศาลาแดง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2457 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1077?lang=th |
86 |
จารึกที่ฐานอนุสาวรีย์พลเสือป่าเชื้อ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เสือป่าในกองเสนาหลวงรักษาพระองค์ และผู้แทนสมาชิกกองเสนาหัวเมือง พร้อมใจกันสร้างอนุสาวรีย์แด่พลเสือป่าเชื้อ ซึ่งเสียชีวิตจากการจมน้ำในคูพระราชวังสนามจันทร์ขณะซ้อมรบ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 |
หลักที่ 281 จารึกบนแผ่นสัมฤทธิ์, หลักที่ 281 จารึกบนแผ่นสัมฤทธิ์, จารึกที่ฐานอนุสาวรีย์พลเสือป่าเชื้อ , จารึกเพื่อเป็นอนุสาวรีย์แห่งพลเสือป่าเชื้อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, จมื่นอมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช), กำเนิดพระราชวังสนามจันทร์และพระปฐมเจดีย์ พระมหาธีรราชเจ้ากับดอนเจดีย์ อนุสรณ์ของเสือป่าและลูกเสือ, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1 : ประมวลจารึกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง, เจษฎ์ ปรีชานนท์, จารึกที่องค์พระปฐมเจดีย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2458, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร นครปฐม, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-อนุสาวรีย์พลเสือป่าเชื้อ, บุคคล-พลเสือป่าเชื้อ |
อนุสาวรีย์พลเสือป่าเชื้อ ด้านขวาของพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 2458 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/941?lang=th |
87 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูป วัดนิเวศธรรมประวัติ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2422 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) และพระราชเทวี ทรงสถาปนาพระพุทธรูปองค์หนึ่งขึ้น เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์ พระราชโอรสซึ่งสวรรคตครบ 100 วัน โดยโปรดให้ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นั้นไว้ที่ศาลาการเปรียญ วัดนิเวศธรรมประวัติ |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูป วัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 72, หลักที่ 181 จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, อย. 72, หลักที่ 181 จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, พุทธศักราช 2422, พุทธศักราช 2422, ทองคำ, ฐานพระพุทธรูป, ผ้าทิพย์, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทรา บรมราชเทวีฯ, พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์, วัดนิเวศธรรมประวัติ, เกาะบางปะอิน, อยุธยา, การเปรียญ, พุทธศาสนา, พระราชกุศล, อุทิศ, ผลานิสงส์, ปรโลก, ทำบุญ 100 วัน , การสร้างพระพุทธรูป, การสถาปนาพระพุทธรูป, การทำบุญ 100 วัน, ทำบุญ 100 วัน, ทำบุญร้อยวัน |
พิพิธภัณฑ์วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2422 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/784?lang=th |
88 |
จารึกที่ซุ้มพระพุทธรูปเงินวัดทุงยู |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2479 เจ้าน้อยเทพวงศ์พอกสร้างพระพุทธรูปเงิน 60 องค์เพื่อเป็นพระพุทธรูปคู่อายุ โดยมีพระอภัยสารทวัดทุงยูและลูกศิษย์ช่วยหล่อและสร้างซุ้มประดิษฐาน ตอนท้ายกล่าวถึงประวัติของพระพุทธรูปอีก 28 องค์ว่าถูกสร้างขึ้นมาแต่เดิมและมีการลงรักปิดทองโดยพระสงฆ์ 2 องค์ คือ ธุอภิวงศ์และธุศรีวิชัยเมื่อ พ.ศ. 2478 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทุงยู, ชม. 135, 236 วัดทุงยู, ชม. 135, 236 วัดทุงยู, พุทธศักราช 2479, พุทธศักราช 2448, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2479, พุทธศักราช 2448, จุลศักราช 1267, พ.ศ. 2479, พ.ศ. 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2479, พ.ศ. 2448, จ.ศ. 1267, โลหะ, เงิน, ซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูป, ซุ้มพระพุทธรูป, โลหะแผ่นกลม, ล้านนา, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, อินทวโรรสสุริยวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การซ่อมแซม, ลงรัก, ปิดทอง, เจ้าน้อยเทพวงศ์พอก, พระอภัยสารท, ธุอภิวงศ์, ธุศรีวิชั, พระพุทธรูปปางสมาธิ, พระสงฆ์, ภิกษุ, สาธุ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2479, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนแผ่นโลหะ, จารึกรูปทรงกลม, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทุงยู, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าน้อยเทพวงศ์พอก, พระอภัยสารท |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 พระครูสมุห์ บุญเรือง เจ้าอาวาสวัดทุงยูได้ให้ข้อมูลว่า ไม่ปรากฏซุ้มพระพุทธรูปดังกล่าวที่วัดแห่งนี้แล้ว |
พุทธศักราช 2479 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1704?lang=th |
89 |
จารึกถ้ำเชตวัน |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2473 สาธุเจ้าจันทญาณรังสีเป็นประธานพร้อมด้วยบิดา มารดา ญาติพี่น้อง ศิษยานุศิษย์ อุบาสกและอุบาสิกาทั้งหลาย ได้ร่วมกันสร้างถาวรวัตถุ ณ ถ้ำแห่งนี้ ประกอบด้วย พระพุทธรูป 2 องค์ เจดีย์ 1 องค์ วิหารมุงรอยพระพุทธบาท แท่นพระพุทธบาท กำแพงล้อมพระพุทธบาท และบันไดนาค ครั้นเมื่อแล้วเสร็จในปีเดียวกันจึงจัดให้มีการทำบุญและเฉลิมฉลอง โดยตั้งความปรารถนาว่ากุศลกิจกรรมที่พวกตนได้ร่วมกันกระทำครั้งนี้ จงเป็นการค้ำชูพระพุทธศาสนาไปตราบเท่า 5,000 ปี และขอให้ได้ถึงพระนิพพาน |
จารึกถ้ำเชตวัน, ศิลาจารึกถ้ำเชตวัน 1 (นน. 2130) จ.ศ. 1292 (พ.ศ. 2473), ศิลาจารึกถ้ำเชตวัน 1 (นน. 2130) จ.ศ. 1292 (พ.ศ. 2473), ถ้ำเชตวัน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2473, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำเชตวัน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระระเบียง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างบันได, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-สาธุเจ้าจันทญาณรังสี |
ถ้ำเชตวัน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2473 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15095?lang=th |
90 |
จารึกถ้ำอาจารย์พา (ถ้ำผาเก) |
ธรรมอีสาน |
อาจารย์พา พร้อมด้วยพระสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปนอนด้วยหินไว้ ณ ที่นี้ |
สน. 3, สน. 3, จารึกถ้ำอาจารย์พา ภูอ่างกุ้ง ตำบลเหล่าโพ้นค้อ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สน. 3), จารึกถ้ำอาจารย์พา ภูอ่างกุ้ง ตำบลเหล่าโพ้นค้อ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สน. 3), พ.ศ. 2443, พุทธศักราช 2443, พ.ศ. 2443, พุทธศักราช 2443, จ.ศ. 1262, จุลศักราช 1262, จ.ศ. 1262, จุลศักราช 1262, หินทราย, รูปใบเสมา, เพิงผาถ้ำผาเกบนภูยางอึ่ง, ภูอ่างกุ้ง, บ้านห้วยยาง, กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ, จังหวัดสกลนคร, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, พระมหาสิริธรรมมิกราชาธิบดีศรีสุทธวรวงค์, พระภูบาล, กุลบุตร, บรรพอาจารย์เจ้า, ครูบาไพร, เป็นเค้า, ประธาน, เจ้าหมู่, เจ้าสมเด็จ, อุบาสกอุบาสิกา, อุคละสพระมหาสิริธรรมมิกราชาธิบดีศรีสุทธิ์วรวงศ์, ศิษย์, พุทธศาสนา, สังฆายนาธรรม, สร้างพระพุทธรูปนอน, ทศราชธรรม, ปีกดไจ้, คีมหันตฤดู, คิมหันตฤดู, มื้อรวงไคร่, มื้อรวงไค้, อุตลผละคูนี, อุตรผลคุน, อุตรผลาคุน, คันฐธุร, ภายนอก, คันถธุระ, พระพุทธรูปบัลลังก์อินทมาลยรูป, พระพุทธรูปบัลลังก์อินทมาลัยรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, เพ็ญพักตร์ ลิ้มสัมพันธ์, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร 2525, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-เจ้ายุติธรรมธร (คำสุก ณ จำปาศักดิ์), ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์), วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำผาเก สกลนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อาจารย์พา |
เพิงผาถ้ำผาเกบนภูยางอึ่ง (ภูอ่างกุ้ง) บ้านห้วยยาง ตำบลเหล่าโพนค้อ อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร |
พุทธศักราช 2443 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2445?lang=th |
91 |
จารึกฐานอนุสาวรีย์พระยาฤทธานนท์พหลภักดีฯ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) โปรดให้สร้างอนุสาวรีย์แด่พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่) ซึ่งเสียชีวิตในการต่อสู้กับกบฏเงี้ยวที่จังหวัดแพร่เมื่อ พ.ศ. 2445 และพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาราชฤทธานนท์พหลภักดี |
จารึกที่ฐานอนุสาวรีย์พระยาฤทธานนท์พหลภักดี, หลักที่ 235 จารึกบนหินอ่อน , พร. 8, จารึกที่ฐานอนุสาวรีย์พระยาฤทธานนท์พหลภักดี, หลักที่ 235 จารึกบนหินอ่อน, พร. 8, พุทธศักราช 2445, พุทธศักราช 2445, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปหกเหลี่ยม, ฐานอนุสาวรีย์พระยาราชฤทธานนท์พหลภักดี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, พระยาราชฤทธานนท์พหลภักดี, อนุสาวรีย์พระยาราชฤทธานนท์พหลภักดี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ |
ข้อมูลเดิมระบุว่าอยู่ที่ฐานอนุสาวรีย์พระยาราชฤทธานนท์พหลภักดี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ แต่เมื่อไปสำรวจ ไม่พบจารึกหลักดังกล่าว (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562) |
พุทธศักราช 2445 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/828?lang=th |
92 |
จารึกฐานพระเสตังคมณี |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2416 เจ้าพระนครเชียงใหม่ และอัครราชเทวีแม่เจ้าทิพพเกษร พร้อมด้วยราชบุตรราชธิดาและพระญาติ ร่วมกันสร้างฐานพระเสตังคมณี หวังได้รับผลแห่งนิพพานโดยถ้วนหน้ากัน |
ชม. 63 จารึกฐานพระเสตังคมณี, หลักที่ 177 จารึกที่ฐานพระเสตังคมณี, 255 วัดเชียงมั่น, ชม. 63 จารึกฐานพระเสตังคมณี, หลักที่ 177 จารึกที่ฐานพระเสตังคมณี, 255 วัดเชียงมั่น, พ.ศ. 2416, พุทธศักราช 2416, พ.ศ. 2416, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, จุลศักราช 1235, จ.ศ. 1235, จุลศักราช 1235, แผ่นโลหะปิดทอง, สีเหลือง, ฐานพระเสตังคมณี, วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระองค์เป็นเจ้าเหง้าภูมินตามหาอิสราธิบดี, เจ้าพระนครเชียงใหม่, อัครราชเทวีแม่เจ้าทิพพเกษร, ประธาน, ราชบุตตาบุตรี, เจ้าราชภาคิไนย, เจ้าอุบลวรรณา, บาท, แก่นจันทน์, แผ่นคำ, ฉัตร, พุทธศาสนา, ปีกาเร้า, เพ็ง, เพ็ญ, เม็ง, กัดเม็ด, แท่นนั่งแห่งพระพุทธเจ้าเสตังคมณี, อุตตมมงคล, พระนิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, พระอธิการอินถา อินฺทจกฺโก, พระสมพงษ์ สมจิตฺโต, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2416, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-แม่เจ้าทิพพเกษร |
วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1530?lang=th |
93 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 |
ธรรมล้านนา |
ขนานอุตมะพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อให้เป็นที่สักการบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย และแผ่ส่วนบุญกุศลไปหาบิดา มารดา วงศาคณาญาติและครูบาอาจารย์ที่ล่วงลับไปแล้ว |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 (นน. 2107) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 5 (นน. 2107) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานอุตมะ |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14966?lang=th |
94 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 |
ธรรมล้านนา |
หนานมุดพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 (นน. 2106) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 4 (นน.2106) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานมุด |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14963?lang=th |
95 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3 |
ธรรมล้านนา |
หนานวงศ์พร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 3 (นน. 2105) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, พระพุทธรูปวัดใหม่ 3 (นน. 2105) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานวงศ์ |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14960?lang=th |
96 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 |
ธรรมล้านนา |
หนานมุดพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 (นน. 2103) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดใหม่ 1 (นน. 2103) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดใหม่ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานหมุด |
วัดใหม่ ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14953?lang=th |
97 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2420 ฝ่ายบรรพชิตมีทุ(พระ)ธรรมไชยเป็นประธานพร้อมด้วยลูกศิษย์ทุกคน และฝ่ายฆราวาสมีหนานชนาเป็นประธานพร้อมด้วยภรรยาได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 2 (นน. 2042) จ.ศ. 1239 (พ.ศ. 2420), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 2 (นน. 2042) จ.ศ. 1239 (พ.ศ. 2420), วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2420, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเปา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทุพระธรรมไชย, บุคคล-หนานชนา |
วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2420 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15104?lang=th |
98 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 1 |
ธรรมล้านนา |
ระหว่างปี พ.ศ. 2420 ผู้ไม่ทราบนาม (เนื่องจากจารึกลบเลือน) เป็นประธานพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระศาสนา ด้วยปรารถนาความสุข 3 ประการ มีพระนิพพานเป็นเป้าหมายสูงสุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเปา 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 1 (นน. 2041) อายุระหว่าง พ.ศ. 2420 (จ.ศ. 1239), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเปา 1 (นน. 2041) อายุระหว่าง พ.ศ. 2420 (จ.ศ. 1239), วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2420, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเปา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
วัดเปา ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2420 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15101?lang=th |
99 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 |
ธรรมล้านนา |
ขนานคัมภีระได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 (นน. 2092) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 9 (นน. 2092) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานคัมภีระ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14864?lang=th |
100 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 7 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2443 พ่อเฒ่าจันทาและแม่เฒ่ามูลมาพร้อมด้วยญาติพี่น้องและบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา และปรารถนาให้ผลบุญนั้นเป็นปัจจัยค้ำชูพวกตนไปทุกภพชาติ">ปี พ.ศ. 2443 พ่อเฒ่าจันทาและแม่เฒ่ามูลมาพร้อมด้วยญาติพี่น้องและบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา และปรารถนาให้ผลบุญนั้นเป็นปัจจัยค้ำชูพวกตนไปทุกภพชาติ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 7 (นน. 2090) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 7 (นน. 2090) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเฒ่าจันทา, บุคคล-แม่เฒ่ามูลมา, แม่เฒ่า |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2443 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14859?lang=th |
101 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 6 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2443 หนานนันพร้อมด้วยภรรยาชื่อนางเลี่ยม ญาติพี่น้องและบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี และปรารถนาให้กุศลผลบุญนั้นเป็นปัจจัยค้ำชูพวกตนไปทุกภพชาติ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 6, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 6 (นน. 2089) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 6 (นน. 2089) จ.ศ. 1262 (พ.ศ. 2443), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานนัน, บุคคล-นางเลี่ยม |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2443 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14857?lang=th |
102 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2492 พ่อหนานบูรณะเป็นประธาน พร้อมด้วยบุตรหลานทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงของ 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 2 (นน. 2085) จ.ศ. 1311 (พ.ศ. 2492), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดเชียงของ 2 (นน. 2085) จ.ศ. 1311 (พ.ศ. 2492), วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2492, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 9, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงของ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคู้, บุคคล-มหาปรมวังสะ, บุคคล-พระอุปละ, บุคคล-ธรรมสิทธิภิกขุพ่อหนานบูรณะ |
วัดเชียงของ ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2492 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14841?lang=th |
103 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายตันพร้อมด้วยมารดา ภรรยา และบุตรทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บิดาชื่อ น้อยอุตมะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 8 (นน. 2083) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 8 (นน. 2083) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายตัน, บุคคล-น้อยอุตมะ |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14918?lang=th |
104 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 5 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2412 หนานเสนาอาจารย์ (มัคทายก) พร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 6 (นน. 2081) จ.ศ. 1231 (พ.ศ. 2412), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง (นน. 2081) จ.ศ. 1173 (พ.ศ. 2354), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานเสนาอาจารย์ |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2412 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14908?lang=th |
105 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 4 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2404 อ้ายน้อยได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 5 (นน. 2080) จ.ศ. 1223 (พ.ศ. 2404), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 5 (นน. 2080) จ.ศ. 1223 (พ.ศ. 2404), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2404, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายน้อย |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2404 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14906?lang=th |
106 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2434 ขนานจันดีพร้อมด้วยมารดา ภรรยา และญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 4 (นน. 2079) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 4 (นน. 2079) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2434, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล--ขนานจันดี |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2434 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14901?lang=th |
107 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2403 อ้ายผงพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 3 (นน. 2078) จ.ศ. 1222 (พ.ศ. 2403), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 3 (นน. 2078) จ.ศ. 1222 (พ.ศ. 2403), วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2403, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อ้ายผง |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2403 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14899?lang=th |
108 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1 |
ธรรมล้านนา |
น้อยวันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ด้วยปรารถนาความสุข 3 ประการ มีนิพพานเป็นที่สุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวทุ่ง 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 2 (นน. 2077) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดหัวทุ่ง 2 (นน. 2077) อายุประมาณพุทธศตวรรษ 24-25, วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหัวทุ่ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-น้อยวัน |
วัดหัวทุ่ง ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14896?lang=th |
109 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1238 เจ้าจันทน์หอมพร้อมด้วยราชบุตร ราชธิดาและชาววังทุกคนร่วมกันสร้างพระพิมพ์ไม้จันทน์ 4 อิริยาบถ ไว้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยค้ำชูทั้งในภพนี้และภพหน้าจนกระทั่งเข้าสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2, ชม. 111, 114 วัดหัวข่วง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2, ชม. 111, 114 วัดหัวข่วง, จุลศักราช 1238, พุทธศักราช 2419, จุลศักราช 1238, พุทธศักราช 2419, จ.ศ. 1238, พ.ศ. 2419, จ.ศ.1238, พ.ศ. 2419, ไม้จันทน์, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, วัดหัวข่วง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, อินทนนท์, เจ้าหลวงตาขาว, เจ้าเจ็ดตน, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล, เจ้าจันทน์หอม, ราชบุตรา, ราชบุตรี, ชาววัง, พระพิมพ์, ไม้จันทน์, นิพพาน, พระสี่อิริยาบท, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2419, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้จันทน์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหัวข่วง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2419 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1638?lang=th |
110 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 7 |
ธรรมล้านนา |
กำหนดจากศักราชที่ปรากฏในจารึกคือ พ.ศ. 2474 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 7, ชม. 132, 230 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 7, ชม. 132, 230 วัดหมื่นล้าน, พุทธศักราช 2474, พุทธศักราช 2474, พ.ศ. 2474, พ.ศ. 2474, สำริด, ฐานพระพุทธรูป ประทับยืนสถานที่พบ, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นางขันแก้ว, ศรัทธา, เจ้าศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2474, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2474 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1675?lang=th |
111 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 6 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2460 ภิกษุชมพู อธิการวัดหมื่นล้าน พร้อมทั้งศิษย์และผู้มีศรัทธาทั้งหลายร่วมกันสร้างพระพุทธองค์นี้ขึ้นไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 6, ชม. 123, 178 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 6, ชม. 123, 178 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1279, พุทธศักราช 2460, จุลศักราช 1279, พุทธศักราช 2460, จ.ศ. 1279, พ.ศ. 2460, จ.ศ.1279, พ.ศ. 2460, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัชราสน์, ขัดสมาธิเพชร, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุชมพู, ตุ๊ชมพู, ธุชมพู, สิกยม, ลูกศิษย์, เจ้าศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2460, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2460 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1673?lang=th |
112 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 5 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1266 นายบัวผัดและพี่น้องร่วมกันสร้างพระพุทธรูปแล้วสมโภชไว้กับวัดหมื่นล้าน โดยขอให้ตนมีปัญญาเหมือนแม่น้ำทั้ง 5 สายและได้ถึงแก่ สุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นสิ่งสูงสุด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 5, ชม. 121, 171 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 5, ชม. 121, 171 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จ.ศ. 1266, พ.ศ. 2447, จ.ศ.1266, พ.ศ. 2447, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง, จังหวัดเชียงใหม่, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์, รัชกาลที่ 5, ร.5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัตนโกสินทร์, อาณาจักรล้านนา, ไทย, สยาม, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นายบัวผัดและพี่น้อง, แม่น้ำทั้ง 5, คงคา, ยมุนา, อจิรวดี, อิระวดี, มหิ, สรภู, นิพพาน, สุขสามประการ, มนุษยสุข, ทิพยสุข, นิพพานสุข, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2447, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1671?lang=th |
113 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 4 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2443 เจ้าสุริยวงศา เจ้าสุคนธาผู้เป็นภรรยา และลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา ขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 4, ชม. 119, 166 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 4, ชม. 119, 166 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1262, พุทธศักราช 2443, จุลศักราช 1264, พุทธศักราช 2443, จ.ศ. 1262, พ.ศ. 2443, จ.ศ. 1264, พ.ศ. 2443, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติ, วัดหมื่นล้าน, ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าสุคนธา, เจ้าสุริยวงศา, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2443, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหมื่นล้าน เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าสุริยวงศา, บุคคล-เจ้าสุคนธา |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2443 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1680?lang=th |
114 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1241 นายน้อยคันธาและพ่อแม่พี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปไว้ค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 3, ชม. 113, 120 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 3, ชม. 113, 120 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, ปีกดสี, ปีมะโรง โทศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ไทย, สยาม, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, น้อยคันธา, พ่อแม่พี่น้อง, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2422, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2422 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1497?lang=th |
115 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 2 |
ธรรมล้านนา |
ป้าจันพร้อมทั้งแม่, ลูกและญาติทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปปางรับบาตรและปางห้ามมาร แด่วัดหมื่นล้าน โดยทำการสมโภชใหม่ในจุลศักราช 1241 ขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน อนึ่ง พระพุทธรูปที่ระบุไว้ในจารึก ว่าเป็นปางรับบาตรนั้น เข้าใจว่าน่าจะหมายถึงปางอุ้มบาตร ส่วนที่ระบุว่าปางห้ามมารนั้น เมื่อพิจารณาจากลักษณะของพระพุทธรูปดังกล่าว พบว่าแท้จริงแล้วเป็นปางห้ามญาติ เนื่องจากปางห้ามมารจะประทับนั่งขัดสมาธิ ไม่ใช่ประทับยืน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 2, ชม. 112, 117 วัดหมื่นล้าน, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นล้าน 2, ชม. 112, 117 วัดหมื่นล้าน, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จุลศักราช 1241, พุทธศักราช 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, จ.ศ. 1241, พ.ศ. 2422, ไม้, ฐานพระพุทธรูป 2 องค์ซึ่งทำเป็นรูปบันได, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, เจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ป้าจัน, แม่, ลูก, ญาติ, มรรคผล, นิพพาน, ปางห้ามญาติ, ปางห้ามมาร, ปางอุ้มบาตร, ปางรับบาตร, ป้าจัน พร้อมทั้งแม่, ลูกและญาติๆ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2422, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นล้าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นล้าน ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2422 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1710?lang=th |
116 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 3 |
ธรรมล้านนา |
ภิกษุปัญญา อธิการวัดสำเภาสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบถ กับพระเจ้า 7 ประการไว้กับวัดสำเภาเมื่อพุทธศักราช 2468 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 3, ชม. 130, 216 วัดสำเภา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 3, ชม. 130, 216 วัดสำเภา, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 2468, พ.ศ. 2468, จ.ศ. 1287, พ.ศ. 2468, จ.ศ. 2468, ปีดับเป้า, ปีฉลู สัปตศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, วัดสำเภา ตำบลศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุปัญญา, อธิการวัดสำเภา,วัดสำเภา, พระ 4 อิริยาบถ, พระเจ้า 7 ประการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2463, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดสำเภา, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดสำเภา ตำบลศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2468 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1477?lang=th |
117 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 2 |
ธรรมล้านนา |
เจ้าสุริยะและเจ้านางทิพพโสตาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้แด่วัดสำเภาใน จุลศักราช 1252 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 2, ชม. 115, 141 วัดสำเภา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 2, ชม. 115, 141 วัดสำเภา, จุลศักราช 1252, พุทธศักราช 2433, จุลศักราช 1252, พุทธศักราช 2433, จ.ศ. 1252, พ.ศ. 2433, จ.ศ.1252, พ.ศ. 2433, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, ไทย, สยาม, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, ร. 5, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าสุริยะและเจ้านางทิพพโสตา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2433, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดสำเภา, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2433 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1475?lang=th |
118 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1219 เจ้าพระยาไชยพร้อมทั้งภรรยา, ลูกและพี่น้องทุกคน สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 1, ชม. 107, 91 วัดสำเภา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดสำเภา 1, ชม. 107, 91 วัดสำเภา, จุลศักราช 1219, พุทธศักราช 2400, จุลศักราช 1219, พุทธศักราช 2400, จ.ศ. 1219, พ.ศ. 2400, จ.ศ.1219, พ.ศ. 2400, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้ากาวิโรรสสุริยวงศ์, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระพุทธรูปยืน, เจ้าพระยาไชยพร้อมทั้งภรรยา, ลูกและพี่น้องทุกคน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2400, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสำเภา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าพระยาไชย |
วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2400 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1473?lang=th |
119 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดส้าน |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2409 แสนท้าวเป็นประธาน พร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดส้าน, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดส้าน 1 (นน. 2129) จ.ศ. 1228 (พ.ศ. 2409), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดส้าน 1 (นน. 2129) จ.ศ. 1228 (พ.ศ. 2409), วัดส้าน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดส้าน น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนท้าว |
วัดส้าน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2409 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15092?lang=th |
120 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 4 |
ไทย |
ปี พ.ศ. 2453 สาธุเจ้าพรหมเสนาได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 4 (นน. 2120) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 4 (นน. 2120) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2453, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สาธุเจ้าพรหมเสนา |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2453 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15060?lang=th |
121 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 3 |
ธรรมล้านนา |
หนานวัฒนะ บ้านบง พร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ด้วยไม้จันทน์ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 3 (นน. 2119) อายุประมาณพุทธศตวรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 3 (นน. 2119) อายุประมาณพุทธศตวรษที่ 25, วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานวัฒนะ |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15056?lang=th |
122 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 2 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2453 น้อยมโนชัยและนางตาหน้อยพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 2 (นน. 2118) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 2 (นน. 2118) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2453, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยมโนชัย, บุคคล-นางตาหน้อย |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2453 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15053?lang=th |
123 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2453 สาธุเจ้ากุณณาพร้อมด้วยบิดามารดา ญาติพี่น้องทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศาลา 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 1 (นน. 2117) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดศาลา 1 (นน. 2117) จ.ศ. 1272 (พ.ศ. 2453), วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2453, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศาลา น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สาธุเจ้ากุณณา |
วัดศาลา ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2453 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15050?lang=th |
124 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4 |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการหล่อและสมโภชพระพุทธรูปองค์นี้ใน พ.ศ. 2476 โดยระบุนามผู้สร้างและน้ำหนักขององค์พระรวมถึงฤกษ์อย่างละเอียด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4, ชม. 129, 209 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4, ชม. 129, 209 วัดศรีเกิด, พุทธศักราช 2467, จุลศักราช 1286, พุทธศักราช 2467, จุลศักราช 1286, พ.ศ. 2467, จ.ศ. 1286, พ.ศ. 2467, จ.ศ.1286, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร, อาณาจักรล้านนา, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การฉลองพระอุโบสถ, นางคำใส แต่ย่งฮวด, ลูกทุกคน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2467, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
พิพิธภัณฑ์วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2467 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1636?lang=th |
125 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2463 ท้าววิเศษบุญสูงพร้อมทั้งภรรยาคือนางเกียงคำและนางสา รวมถึงลูกชายหญิงทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนาเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 3, ชม. 125, 198 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 3, ชม. 125, 198 วัดศรีเกิด, พุทธศักราช 2463, พุทธศักราช 2463, พ.ศ. 2463, พ.ศ. 2463, ไม้, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ท้าววิเศษบุญสูง, นางเกียงคำ, นางสา, ลูกชายหญิง, อุทิศส่วนกุศล, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2463, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่ปรากฏพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดศรีเกิด |
พุทธศักราช 2463 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1660?lang=th |
126 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2463 พระครูญาณลังกา วัดทุงยูเป็นประธานสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ถวายแด่วัดศรีเกิด ในคราวฉลองวิหารและเจดีย์ โดยขอให้ผลบุญเป็นเครื่องนำตนไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 2, ชม. 124, 194 วัดศรีเกิด, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 2, ชม. 124, 194 วัดศรีเกิด, พุทธศักราช 2463, พุทธศักราช 2463, พ.ศ. 2463, พ.ศ. 2463, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัชราสน์, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระครูญาณลังกา, วัดทุงยู, เชียงใหม่, วัดศรีเกิด, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2463, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดศรีเกิด, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
พิพิธภัณฑ์วัดศรีเกิด ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2463 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1586?lang=th |
127 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 5 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ทุ(พระ)นันทะสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 5 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 5 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 7 (นน. 2101) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 7 (นน. 2101) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24, วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทุพระนันทะ |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14939?lang=th |
128 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย) |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2335 นางยอดได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (น่าน-อำเภอนาน้อย), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 3 (นน. 2097) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335), จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีบุญเรือง 3 (นน. 2097) จ.ศ. 1154 (พ.ศ. 2335), วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2435, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางยอด |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลศรีษะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2435 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14927?lang=th |
129 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1234 อุปราชอินทนนท์ (ในเวลาต่อมาคือพระเจ้าอินทวิชยานนท์) แม่เจ้าคำแผ่น และแม่เจ้าบัวทิพย์ เป็นประธานในการทำพิธีพุทธาภิเษกและถวายพระพุทธรูปองค์นี้แด่วัดพันเตา เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระราชบิดา, พระราชมารดาและพระญาติที่ทรงล่วงลับไปแล้ว |
ชม. 109 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, 105 วัดพันเตา, ชม. 109 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, 105 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, ชม. 109, 105 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 3, ชม. 109, 105 วัดพันเตา, จุลศักราช 1234, พุทธศักราช 2415, จุลศักราช 1234, พุทธศักราช 2415, จ.ศ. 1234, พ.ศ. 2415, จ.ศ. 1234, พ.ศ. 2415, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, กุศล, บุญ, อุทิศ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพันเตา เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้าอินทวิชยานนท์, บุคคล-พระเจ้าอินทวิชยานนท์, บุคคล-อุปราชอินทนนท์, บุคคล-แม่เจ้าคำแผ่น, บุคคล-แม่เจ้าบัวทิพย์ |
พิพิธภัณฑ์หอคำ ภายในวัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2415 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1995?lang=th |
130 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1229 เจ้าเสมิราพร้อมด้วยพระบิดาพระมารดาและพี่น้องในวังทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปนามว่าพระเจ้าไกรสรเพื่อค้ำชูพระศาสนา โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน |
ชม. 108 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, 98 วัดพันเตา, ชม. 108 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, 98 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, ชม. 108, 98 วัดพันเตา, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพันเตา 2, ชม. 108, 98 วัดพันเตา, จุลศักราช 1229, พุทธศักราช 2410, จุลศักราช 1229, พุทธศักราช 2410, จ.ศ. 1229, พ.ศ. 2410, จ.ศ. 1229, พ.ศ. 2410, ไม้, ฐานพระพุทธรูป, วัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, เจ้าเสมิรา, พระบิดา, พระมารดา, พี่น้อง, พระพุทธเจ้าไกรสร, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ |
พิพิธภัณฑ์หอคำ ภายในวัดพันเตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2410 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1621?lang=th |
131 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกแต้ม |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2475 พระอภัยสารทนพีสีบุราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พระครูวิเชียรปัญญา พระขัตติยะ เจ้าอาวาสวัดพวกแต้ม ขุนบริบาลและผู้มีศรัทธาทั้งหลาย ร่วมกันหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น ตอนท้ายระบุนามช่างที่ทำการหล่อ รวมถึงนามผู้สร้างวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปคือ นางบัวชำ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพวกแต้ม, ชม. 133, 231 วัดพวกแต้ม, ชม.133, 231 วัดพวกแต้ม, พุทธศักราช 2475, พุทธศักราช 2475, พ.ศ. 2475, พ.ศ. 2475, จุลศักราช 1294, จุลศักราช 1294, จ.ศ. 1294, จ.ศ. 1294, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปไสยาสน์, ล้านนา, พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐราชวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นางบัวชำ, อ้ายใหม่, อ้ายป้อม, อ้ายเมือง, พระขัตติยะ, พระครูปลัดมหาเถรานุวัตร, พระอภัยทนพีสีบุราจารย์, เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่, พระครูโพธิรังสี, รองเจ้าคณะเจ้าหวัด, ขุนบริบาล, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2475, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดพวกแต้ม, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ชื่อเฉพาะ, พระอภัยสารทนพีสีบุราจารย์, เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ |
ด้านหน้าเจดีย์ภายในวัดพวกแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2475 |
สันสกฤต,บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1649?lang=th |
132 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 2 |
ธรรมอีสาน |
หัวครูศรีสุมนต์ พร้อมด้วยญาติโยม ได้พร้อมใจกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพระธาตุดอนตาล 2, พ.ศ. 2409, พุทธศักราช 2409, พ.ศ. 2409, พุทธศักราช 2409, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, โบสถ์วัดพระธาตุดอนตาลบ้านชีทวน, ตำบลชีทวน, อำเภอเขื่องใน, จังหวัดอุบลราชธานี, วัดพระธาตุสวนตาล, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, หัวครูศรีสุนนท์, ราชาคณะ, ลูกเต้า, ศิษย์โยม, อุบาสก, อุบาสิกา, หัวครูจันดี, ทอง, บ้านชีทวน, บ้านโคนเมืองหมากทัน, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ยามกลองแลง, วันศุกร์, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุดอนตาล อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หัวครูศรีสุมนต์, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศักราช 2409 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2511?lang=th |
133 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง |
ธรรมล้านนา |
น้อยสุทธะพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง 1 (นน. 2116) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดบง 1 (นน. 2116) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดบง ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยสุทธะ |
วัดบง ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15047?lang=th |
134 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2447 ศรัทธาผู้ไม่ระบุชื่อพร้อมภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 2 (นน. 2125) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 2 (นน. 2125) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาแดง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15080?lang=th |
135 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 1 |
ธรรมล้านนา |
ปี พ.ศ. 2447 น้อยคันธาพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาแดง 1, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 1 (นน. 2124) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาแดง 1 (นน. 2124) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาแดง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-น้อยคันธา |
วัดนาแดง ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15077?lang=th |
136 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 17 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2449 พ่อเฒ่านวลพร้อมครอบครัวได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 17, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 17, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 20 (นน. 2071) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 20 (นน. 2071) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2449, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเฒ่านวล |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2449 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14835?lang=th |
137 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 13 |
ธรรมล้านนา |
ผู้ชื่ออินถาพร้อมด้วยน้องและบุตรหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 13, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 13, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 16 (นน. 2067) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 16 (นน. 2067) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อินถา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14827?lang=th |
138 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 12 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 แสนอภิชัยพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้บูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 12, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 12, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 15 (นน. 2066) จ.ศ.1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 15 (นน. 2066) จ.ศ.1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอภิชัย |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14825?lang=th |
139 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 11 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2446 แม่เฒ่าปองพร้อมด้วยบุตรและญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้และนำเข้าบรรพชาในวันเพ็ญเดือน 6 เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 11, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 11, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 14 (นน. 2065) จ.ศ. 1265 (พ.ศ. 2446), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 14 (นน. 2065) จ.ศ. 1265 (พ.ศ. 2446), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2446, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่เฒ่าปอง |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2446 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14823?lang=th |
140 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 10 |
ธรรมล้านนา |
พรหมจักรรัสสภิกขุพร้อมด้วยบิดามารดาได้สร้างพระพุทธรูปสังกัจจายนะไว้เพื่อค้ำชูพระศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 10, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 10, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 13 (นน. 2064) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 13 (นน. 2064) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปพระสังกัจจจาย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พรหมจักรรัสสภิกขุ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14821?lang=th |
141 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 9 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2449 แม่เฒ่าหลวงคำยองพร้อมด้วยบุตรและญาติ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 9, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 9, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 12 (นน. 2063) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 12 (นน. 2063) จ.ศ. 1268 (พ.ศ. 2449), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2449, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่เฒ่าหลวงคำยอง |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2449 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14819?lang=th |
142 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 8 |
ธรรมล้านนา |
ขนานนันท์ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 8, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 8, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 11 (นน. 2062) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 11 (นน. 2062) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 25, วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานนันท์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14817?lang=th |
143 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 7 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ.2415 ปู่เรือนพร้อมด้วยภรรยา บุตร และญาติพี่น้องได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อกราบไหว้บูชาตราบ 5,000 ปี โดยมีเขยมุดเป็นผู้จารตัวอักษรที่ฐาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 7, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 7, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 10 (นน. 2061) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 10 (นน. 2061) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปู่เรือน |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14815?lang=th |
144 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 6 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2467 พ่อเมืองหนานตาพร้อมด้วยภรรยาและบุตรทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 6, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 9 (นน. 2060) จ.ศ. 1286 (พ.ศ. 2467), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 9 (นน. 2060) จ.ศ. 1286 (พ.ศ. 2467), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2467, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเมืองหนานตา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2467 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14813?lang=th |
145 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 หมื่นพิชชกาพร้อมด้วยบุตรและพี่น้องทุกคน ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้บูชาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 5, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 8 (นน. 2059) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 8 (นน. 2059) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นพิชชกา |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14811?lang=th |
146 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 4 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 แสนคันธวงศ์พร้อมด้วยภรรยาและบุตรธิดาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบ 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 4, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 7 (นน. 2058) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 7 (นน. 2058) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนคันธวงศ์ |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2415 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14809?lang=th |
147 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 3 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2415 ทุหลวง (เจ้าอาวาส) ชื่อยาวิไชยได้สลักพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ เพื่อค้ำชูศาสนาตราบ 5,000 ปี พร้อมทั้งอุทิศกุศลผลบุญที่ตนได้กระทำให้แก่บิดามารดาและญาติพี่น้องทุกคน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 6 (นน. 2057) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 6 (นน. 2057) จ.ศ. 1234 (พ.ศ. 2415), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2415, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทุหลวงยาวิไชย |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14807?lang=th |
148 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 2 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2447 แม่ป้าคำหน้อยพร้อมครอบครัวได้สร้างพระ พุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาราบ 2, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 3 (นน. 2054) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาราบ 3 (นน. 2054) จ.ศ. 1266 (พ.ศ. 2447), วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาราบ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่ป้าคำหน้อย |
วัดนาราบ ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2447 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14801?lang=th |
149 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 5 |
ธรรมล้านนา |
พ.ศ. 2434 แสนหลวงขันธสีมาได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนาตราบเท่า 5,000 ปี |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 5, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 5, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 5 (นน. 2051) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 5 (นน. 2051) จ.ศ. 1253 (พ.ศ. 2434), วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2434, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนหลวงขันธสีมา |
วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2434 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14776?lang=th |
150 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 6 |
ธรรมล้านนา |
แม่ทิม พุทธดิลก ถวายพระพุทธรูปองค์นี้ไว้แด่วัดทรายมูล เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2497 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 6, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 6, ชม. 138, ชม. 138, 242 วัดทรายมูลเมือง, 242 วัดทรายมูลเมือง, พ.ศ. 2497, พ.ศ. 2497, พุทธศักราช 2497, พุทธศักราช 2497, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, รัตนโกสินทร์, รัชกาลที่ 9, รัชกาลที่ 9, พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุยเดช, จารึกสมัยหลังตระกูลเจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, ไทย, สยาม ศาสนาพุทธ, แม่ทิม พุทธดิลก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2497, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางถวายเนตร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทรายมูลเมือง, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่ทิม พุทธดิลก |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2497 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1600?lang=th |
151 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 5 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายสุขและนางออนถวายพระพุทธรูปเป็นทานในการฉลองวิหารวัดทรายมูลเมืองเมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 พ.ศ. 2479 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 5, ชม. 136, 237 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 5, ชม. 136, 237 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2479, พุทธศักราช 2479, พ.ศ. 2479, พ.ศ. 2479, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ล้านนา, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐราชวงศ์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, อ้ายสุข, นางออน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2479, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2479 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1598?lang=th |
152 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4 |
ธรรมล้านนา |
ระบุนามผู้สร้างคือ แม่ขอดแก้ว และวันเดือนปีที่สร้างคือ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 พ.ศ. 2466 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4, ชม. 128, 208 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4, ชม. 128, 208 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 4, ชม. 128, 208 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พ.ศ. 2466, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางห้ามพระแก่นจันทน์, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, แม่ขอดแก้ว, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2466, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1483?lang=th |
153 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3 |
ธรรมล้านนา |
ระบุนามผู้สร้างคือ แม่ขอดแก้ว และวันเดือนปีที่สร้างคือ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 พ.ศ. 2466 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม. 127, 207 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม. 127, 207 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พ.ศ. 2466, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางห้ามพระแก่นจันทน์, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, แม่ขอดแก้ว, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2466, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1481?lang=th |
154 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 2 |
ธรรมล้านนา |
แม่ขอดแก้วสร้างพระพุทธรูปเมื่อ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 พ.ศ. 2466 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 2, ชม. 126, 206 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 2, ชม. 126, 206 วัดทรายมูลเมือง, พุทธศักราช 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พ.ศ. 2466, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางประทับยืน, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, แม่ขอดแก้ว, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2466, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1596?lang=th |
155 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1249 พระสงฆ์นามว่ากรุณาพร้อมทั้งพ่อแม่พี่น้องและลูกศิษย์ทุกคน ร่วมกันสร้างพระพิมพ์ไว้ค้ำชูพุทธศาสนาตราบเท่า 5, 000 ปี ขอให้ได้สุข 3 ประการ มีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม. 114, 137 วัดทรายมูลเมือง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดทรายมูลเมือง 3, ชม.114,137 วัดทรายมูลเมือง, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, โลหะ, เงิน, ฐานพระพุทธรูป, ล้านนา, อินทวิชยานนท์, เจ้าเจ็ดตน, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, สาธุเจ้ากรุณา, เจ้าขูณา, นิพพาน, สุข 3 ประการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2430, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนแผ่นเงิน, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดทรายมูลเมือง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดทรายมูลเมือง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1591?lang=th |
156 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอนไชย |
ธรรมล้านนา |
ขนานชัยได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอนไชย, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดดอนไชย 2 (นน. 2045) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดดอนไชย 2 (นน. 2045) อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 24-25, วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24-25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอนไชย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ขนานชัย |
วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน |
พุทธศตวรรษ 24-25 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13438?lang=th |
157 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 2 |
ธรรมล้านนา |
นางเกียงคำ ไชยคำเมาและลูก ถวายทานในงานฉลองพระวิหารวัดดอกเอื้องเมื่อวันที่ 18 เดือน 3 พ.ศ. 2475 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 2, ชม. 134, 233 วัดดอกเอื้อง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 2, ชม. 134, 233 วัดดอกเอื้อง, พุทธศักราช 2475, จุลศักราช 1294, พุทธศักราช 2475, จุลศักราช 1294, พ.ศ. 2475, จ.ศ. 1294, พ.ศ. 2475, จ.ศ.1294, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางรำพึง, ล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, งานฉลองพระวิหาร, ถวายทาน, พระวิหาร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2475, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกดอกเอื้อง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดดอกเอื้อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2475 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1634?lang=th |
158 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 1 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1267 ภิกษุบุญปันได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูศาสนา โดยขอให้ตนได้ถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 1, ชม. 122, 173 วัดดอกเอื้อง, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกเอื้อง 1, ชม. 122, 173 วัดดอกเอื้องศั, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2448, จุลศักราช 1267, พุทธศักราช 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2448, จ.ศ. 1267, พ.ศ. 2448, ปีดับไส้, ปีมะเส็ง สัปตศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์, เจ้าเจ็ดตน, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุบุญปัน, ธุบุญปัน, ตุ๊บุญปัน, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2448, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกดอกเอื้อง, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดดอกเอื้อง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2448 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1582?lang=th |
159 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 7 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1254 อภิชัยทิพพรหมภิกขุ, ลูกศิษย์, นางอุสา, นางคำทองและลูกทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปด้วยมุกข้าวชีวิต |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 7, ชม. 117, 143 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 7, ชม. 117, 143 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1254, พุทธศักราช 2435, จุลศักราช 1254, พุทธศักราช 2435, จ.ศ. 1254, พ.ศ. 2435, จ.ศ. 1254, พ.ศ. 2435, มุกข้าวชีวิต, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, เจ้าหลวงตาขาว, เจ้าเจ็ดตน, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูปบุคคล : อภิชัยทิพพรหมภิกขุ, ลูกศิษย์, นางอุสา, นางคำทองและลูกทุกคนอื่นๆ : นิพพาน, ทาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2435, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนมุกข้าวชีวิต, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิชัยทิพพรหมภิกขุ, บุคคล-นางอุสา, บุคคล-นางคำทอง |
จากการสำรวจโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ไม่ปรากฏพระพุทธรูปองค์นี้ที่วัดดอกคำ |
พุทธศักราช 2435 |
บาลี,เขมร,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1669?lang=th |
160 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1253 หนานโพธา นางคำทิพย์และลูกหลานทุกคนได้สร้างพระพุทธรูปไม้กุ่มเพื่อค้ำชูศาสนา และขอให้ผลบุญนำไปสู่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6, ชม. 116, 142 วัดดอกคำ, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดอกคำ 6, ชม. 116, 142 วัดดอกคำ, จุลศักราช 1253, พุทธศักราช 2434, จุลศักราช 1253, พุทธศักราช 2434, จ.ศ. 1253, พ.ศ. 2434, พ.ศ. 1253, พ.ศ. 2434, ไม้กุ่ม, ฐานพระพุทธรูป, วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, เจ้าหลวงตาขาว, ล้านนา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2434, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดดอกคำ, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2434, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอกคำ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานโพธา, บุคคล-นางคำทิพย์ |
วัดดอกคำ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2434 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1495?lang=th |
161 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 4 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1266 เจ้าหนานอุ่นเมือง เจ้าบัวเที่ยง เจ้าหนานคำวงศาพร้อมทั้งอัครชายา โอรสธิดา และทาสชายหญิงทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นด้วยมุกเขี้ยวงาช้าง เพื่อค้ำชูพระพุทธศาสนา โดยขอให้ตนได้สมความปรารถนา |
ชม. 120 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 4, 168 วัดช่างแต้ม, ชม. 120 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 4, 168 วัดช่างแต้ม, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จุลศักราช 1266, พุทธศักราช 2447, จ.ศ. 1266, พ.ศ. 2447, จ.ศ. 1266, พ.ศ. 2447, ปีกาบสี, ปีมะเมีย ฉศก, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, ล้านนา, พุทธ, เจ้าหนานอุ่นเมืองเจ้าบัวเที่ยง เจ้าหนานคำวงศา พร้อมทั้งอัครชายา โอรสธิดา และทาสชายหญิง, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2447, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช่างแต้ม เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหนานอุ่นเมือง, บุคคล-เจ้าบัวเที่ยง, บุคคล-เจ้าหนานคำวงศา |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2447 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1499?lang=th |
162 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3 |
ธรรมล้านนา |
ระบุปีที่สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ คือ “ศักราช 1235 ตัว” ตรงกับ พ.ศ. 2416 |
ชม. 110 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3, 108 วัดช่างแต้ม, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3, ชม. 110, 108 วัดช่างแต้ม, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช่างแต้ม 3, ชม. 110, 108 วัดช่างแต้ม จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, พ.ศ. 2416, จ.ศ.1235, พ.ศ. 2416, หินอ่อน, ฐานพระพุทธรูป, วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอินทวิชยานนท์, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, จักรี, ล้านนา, ไทย, สยาม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนส์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, |
วัดช่างแต้ม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1447?lang=th |
163 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 5 |
ธรรมล้านนา |
อ้ายเสาร์และนางบัวผัด รวมทั้งลูกชายหญิงทุกคนร่วมกันบริจาคเงินเพื่อบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 5, ชม. 137, 239 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 5, ชม. 137, 239 วัดควรค่าม้า, จุลศักราช 1299, พุทธศักราช 2480, จุลศักราช 1299, พุทธศักราช 2480, จ.ศ. 1299, พ.ศ. 2480, จ.ศ.1299, พ.ศ. 2480, ปีเมิงเป้า, ปีฉลูนพศก, ปูนซีเมนต์, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, อ้ายเสาร์, นางบัวผัด, ลูกชายหญิง, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, รัตนโกสินทร์, ล้านนา, สยาม, ไทย, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนปูนซีเมนต์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2480, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2471, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนปูนซีเมนต์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานจัน, บุคคล-อ้ายเสาร์, บุคคล-นางบัวผัด |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2480 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1604?lang=th |
164 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 4 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1290 ภิกษุนามว่าปัญญา พ่อหนานจันและแม่เขียวรวมถึงผู้มีศรัทธาทุกคน ร่วมกันหลอมทองโดยจ้างช่างน้อยหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นไว้ที่วัดควรค่าม้า เพื่อค้ำชูศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 4, ชม. 131, 221 วัดควรค่าม้า, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดควรค่าม้า 4, ชม. 131, 221 วัดควรค่าม้า, พุทธศักราช 2471, จุลศักราช 1290, พุทธศักราช 2471, จุลศักราช 1290, พ.ศ. 2471, จ.ศ. 1290, พ.ศ. 2471, จ.ศ.1290, ปีเปิกสี, ปีมะโรง สัมฤทธิ์ศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, วัดควรค่าม้า จังหวัดเชียงใหม่, ภิกษุปัญญา, ธุปัญญา, ตุ๊ปัญญา, พ่อหนานจัน, แม่เขียว, ช่างน้อย, ตระกูลเจ้าเจ็ดตน, พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, ล้านนา ศาสนาพุทธ, การหลอมทอง, การหล่อพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, ภิกษุปัญญา, ธุปัญญา, ตุ๊ปัญญา, พ่อหนานจัน, แม่เขียว, ผู้มีศรัทธา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดควรค่าม้า, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, จารึก พ.ศ. 2471, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2471, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดควรค่าม้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานจัน, บุคคล-แม่เขียว, บุคคล-ปัญญาภิกษุ |
วัดควรค่าม้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2471 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1632?lang=th |
165 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1256 (พ.ศ. 2437) นางขันแก้วและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523, นน. 50, จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523, นน. 50, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางขันแก้ว, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึก พ.ศ. 2437,ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางขันแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2437 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1826?lang=th |
166 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1233 (พ.ศ. 2414) พ่อแสนไชยนโรธาและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น? |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523, นน. 44, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523, นน. 44, จุลศักราช 1233, พุทธศักราช 2414, จุลศักราช 1233, พุทธศักราช 2414, จ.ศ. 1233, พ.ศ. 2414, จ.ศ. 1233, พ.ศ. 2414, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พ่อแสนไชยนโรธา, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2414 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1820?lang=th |
167 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1249 (พ.ศ. 2430) พระสงฆ์นามว่าอภิวงศ์ นางขอดแก้ว แม่เฒ่าดีและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ตนถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523, นน. 49, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523, นน. 49, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, อภิวงศ์, นางขอดแก้ว, แม่เฒ่าดี, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2430, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิวงศ์(พระสงฆ์), บุคคล-นางขอดแก้ว, บุคคล-แม่เฒ่าดี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1931?lang=th |
168 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 315/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1228 (พ.ศ. 2409) หนานอุตตมะ บ้านดอน รวมทั้งลูกหลานและญาติทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อเป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน |
อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานอุตตมะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2409 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1835?lang=th |
169 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1256 (พ.ศ. 2437) ภิกขุยาตวิคลไชและมารดาชื่อว่านางคำผา รวมทั้งแม่เอื้อย พี่น้องและลูกหลานทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523, นน. 51, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523, นน. 51, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, จ.ศ.1256, พ.ศ. 2437, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ภิกขุยาตวิคลไช, นางคำผาง, แม่เอื้อย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2437, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ภิกขุยาตวิคลไช, บุคคล-นางคำผาง, บุคคล-แม่เอื้อย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2437 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1828?lang=th |
170 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1230 (พ.ศ. 2411) พระสงฆ์นามว่า กาวิไชย พร้อมทั้งมารดาและพี่น้องทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พ่อซึ่งมีชื่อว่า หนานไช และขอให้ได้ถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523, นน. 41, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523, นน. 41, จุลศักราช 1230, พุทธศักราช 2411, จุลศักราช 1230, พุทธศักราช 2411, จ.ศ. 1230, พ.ศ. 2411, จ.ศ. 1230, พ.ศ. 2411, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ธุเจ้ากาวิไชย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กาวิไชย(พระสงฆ์), บุคคล-หนานไช, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2411 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1811?lang=th |
171 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523 |
ธรรมล้านนา |
หนานอภิวังสะและภรรยาชื่อว่านางบัวเรียมและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เมื่อจุลศักราช 1259 (พ.ศ. 2440) โดยขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523, นน. 52, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523, นน. 52, จุลศักราช 1259, พุทธศักราช 2440, จุลศักราช 1259, พุทธศักราช 2440, จ.ศ. 1259, พ.ศ. 2440, จ.ศ.1259, พ.ศ. 2440, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานอภิวังสะ, นางบัวเรียม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2440, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานอภิวังสะ, บุคคล-นางบัวเรียม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2440 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1854?lang=th |
172 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1249 (พ.ศ. 2430) พระสงฆ์นามว่าอภิวงศ์ นางขอดแก้ว แม่เฒ่าดีและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ตนถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมาวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523, นน. 47, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมาวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523, นน. 47, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา , เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, อภิวงศ์, นางขอดแก้ว, แม่เฒ่าดี, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2430, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิวงศ์ (พระสงฆ์), บุคคล-นางขอดแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2430 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1830?lang=th |
173 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2523 |
ธรรมล้านนา |
หนานธนสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เมื่อจุลศักราช 1287 (พ.ศ. 2468) |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2523, นน. 53, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2513, นน. 53, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จ.ศ. 1287, พ.ศ. 2468, จ.ศ.1287, พ.ศ. 2468, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหาพรหมสุรธาดา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานธน, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2468, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจุบัน-จารึกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หนานธน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2468, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 7, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6-7, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานธน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2468 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1842?lang=th |
174 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1292 (พ.ศ. 2473) นางจันดีพร้อมทั้งสามีและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น โดยอุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดานามว่าตันไชและแก้ววัณณา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523, นน. 54, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523, นน. 54, จุลศักราช 1292, พุทธศักราช 2473, จุลศักราช 1292, พุทธศักราช 2473, จ.ศ. 1292, พ.ศ. 2473, จ.ศ.1292, พ.ศ. 2473, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหาพรหมสุรธาดา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางจันดี, ตันไช, แก้ววัณณา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2378, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2473, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 7, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-นางจันดี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2473 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1844?lang=th |
175 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523 |
ธรรมล้านนา |
พระสงฆ์นามว่าอภิไชยและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยขอให้ได้ขึ้นสวรรค์และถึงแก่นิพพาน |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523, นน. 43, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523, นน. 43, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ธุนายอภิไชย, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิไชย(พระสงฆ์), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิไชย(พระสงฆ์), เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2412 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1813?lang=th |
176 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1235 (พ.ศ. 2416) หนานมโนและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523, นน. 46, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523, นน. 46, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, พ.ศ. 2416, จ.ศ.1235, จ.ศ. 2416, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานมโน, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดีประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2416, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-หนานมโน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2416 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1822?lang=th |
177 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1231 (พ.ศ. 2412) หนานนางและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พ่อแม่นามว่า ปู่ขอร และนางน้อย ขอให้ได้ขึ้นสวรรค์ชั้นดาวดึงส์และถึงสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523, นน. 42, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523, นน. 42, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, จ.ศ.1231, พ.ศ. 2412, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานนาง, ปู่ขอร, นางน้อ, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานนาง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2412 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1815?lang=th |
178 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 1247 (พ.ศ. 2428) สุริยภิกขุและญาติพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปและทำพิธีพุทธาภิเษกเพื่อค้ำชูพุทธศาสนา |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 (นน. 33, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 (นน. 33), นน. 33, นน. 33, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, สุริยภิกขุ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-สุริยภิกขุ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2428 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1824?lang=th |
179 |
จารึกฐานพระบรมรูปทรงม้า |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงประวัติการสร้างพระบรมรูปทรงม้า เพื่อประกาศพระเกียรติยศ ในวโรกาสที่ทรงครองราชสมบัติครบ 40 ปี ใน พ.ศ. 2451 |
จารึกที่ฐานพระบรมรูปทรงม้า, หลักที่ 244 จารึกบนแผ่นทองสัมฤทธิ์, หลักที่ 244 จารึกบนแผ่นทองสัมฤทธิ์, พ.ศ. 2451, หินชนวน สีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ฐานพระพุทธรูปทรงม้า หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม แขวงดุสิต เขตดุสิต กทม., สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ฐานพระพุทธรูปทรงม้า หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม แขวงดุสิต เขตดุสิต กุงเทพมหานคร, พุทธศาสนา |
ฐานพระบรมรูปทรงม้า ลานพระราชวังดุสิต หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 2451 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1102?lang=th |
180 |
จารึกซุ้มน้ำพุวงเวียนต้นโพธิ์ |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พ.ศ. 2448 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ มกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินจากมณฑลพายัพมาถึงเมืองกำแพงเพชร ทอดพระเนตรโบราณสถานหลายแห่ง โดยประทับแรมที่พลับพลาบริเวณวัดชีนางเการิมลำน้ำปิงฝั่งเหนือ นอกเมืองกำแพงเพชร เป็นเวลา 2 คืน ต่อมาในพ.ศ. 2450 เสด็จมาทอดพระเนตรโบราณสถานอีกครั้งหนึ่ง และทรงตั้งพลับพลาประทับแรม 3 คืน ในที่เดิม |
ชื่อจารึก : จารึกซุ้มน้ำพุวงเวียนต้นโพธิ์, หลักที่ 237 ศิลาจารึก ซุ้มน้ำพุวงเวียนต้นโพธิ์, หลักที่ 237 ศิลาจารึก ซุ้มน้ำพุวงเวียนต้นโพธิ์ ศักราช : พ.ศ. 2450, พ.ศ. 2450วัตถุจารึก : หินปูน สีเทาลักษณะวัตถุ : แผ่นหินรูปใบเสมา อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5) แห่งราชวงศ์จักรี, ร. 5 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร. 6, รัชกาลที่ 6, ร. 6, สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร สถานที่ : ซุ้มน้ำพุวงเวียนต้นโพธิ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ศาสนา : พุทธศาสนาเหตุการณ์สำคัญ : ประพาส, ตั้งพลับพลา, ประทับแรมอื่นๆ : โบราณสถาน, เมืองกำแพงเพชร |
ซุ้มน้ำพุวงเวียนต้นโพธิ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร |
พุทธศักราช 2450 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/876?lang=th |
181 |
จารึกคำโคลง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
โคลงบทที่ 1 กล่าวถึง การปฏิสังขรณ์พระปรางค์วัดมหาธาตุซึ่งแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2446 โคลงบทที่ 2 กล่าวถึง ที่มาของนามพระพุทธรูป “ปรากรมมุนี” และการสร้าง โคลงบทที่ 3 กล่าวถึงความงามของพระปรางค์วัดมหาธาตุ ซึ่งมนุษย์และเทวดาทั้งหลายต่างมานมัสการ |
จารึกบนแผ่นหินอ่อน วัดมหาธาตุฯ พิษณุโลก, หลักที่ 184 จารึกบนแผ่นหินอ่อน, หลักที่ 148 จารึกบนแผ่นหินอ่อน, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 5), ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พุทธศาสนา, มหาธาตุ, พระปรางค์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สมคิด จิระทัศนะกุล, วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, อายุ-จารึก พ.ศ. 2446, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระพุทธชินราช, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระปรากรมมุนี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก |
พุทธศักราช 2446 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1237?lang=th |
182 |
จารึกการสร้างวิหารวัดพระแก้วดอนเต้า |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2452 เจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิตย์ ผู้เป็นเจ้าครองนครลำปาง กับจองคำแดงและภรรยาคือแม่จันทร์ พร้อมด้วยบรรดาญาติและน้องชื่อคำจ่ามกับนายฮ้อยหง่วยสิน ได้ร่วมกันบริจาคทรัพย์ทรัพย์สร้างพระวิหารหลังนี้ไว้เพื่อประดิษฐานพระพุทธปฏิมากร |
ลป. 18 จารึกการสร้างวิหารวัดพระแก้วดอนเต้า พ.ศ. 2460, ลป. 18 จารึกการสร้างวิหารวัดพระแก้วดอนเต้า พ.ศ. 2460, พ.ศ. 2460, พุทธศักราช 2469, พ.ศ. 2460, พุทธศักราช 2469, จ.ศ. 1289, จุลศักราช 1279, จ.ศ. 1289, จุลศักราช 1279, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2452, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-เจ้าบุญวาทย์วงศ์, บุคคล-ชองคำแดง, บุคคล-แม่จันทร์, บุคคล-คำจ่าม, บุคคล-หม่องหง่วยสิน |
ด้านซ้ายของมณฑปปราสาททรงตรีมุข วัดพระแก้วดอนเต้า ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2460 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18161?lang=th |
183 |
จารึกการสร้างทุงศิลา |
ธรรมล้านนา |
เมื่อปี พ.ศ. 2469 ธุเจ้าอภิวงศา เจ้าอาวาส พ่อเลี้ยงแสนเทพพร้อมด้วยภริยาและบุตร ผู้ใหญ่น้อยพรมเสนา ท่านหนานไชยอาจารย์ หนานอภิวงศาพร้อมด้วยภริยา หนานกาวีพร้อมด้วยภริยา ตลอดจนศรัทธาบ้านนาเวียงทั้งหลายได้พร้อมใจกันสร้างทุงศิลา 2 ผืน เพื่อบูชาแก่พระมหาชินธาตุเจ้า |
ลป. 17 จารึกการสร้างทุงศิลา พ.ศ. 2469, ลป. 17 จารึกการสร้างทุงศิลา พ.ศ. 2469, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, พ.ศ. 2469, พุทธศักราช 2469, จ.ศ. 1289, จุลศักราช 1289, จ.ศ. 1289, จุลศักราช 1289, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2469, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุลำปางหลวง ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างทุงหิน, บุคคล-ธุเจ้าอภิวงศา, บุคคล-พ่อเลี้ยงแสนเทพ, บุคคล-ผู้ใหญ่น้อยพรมเสนา, บุคคล-ท่านหนานไชยอาจารย์, บุคคล-หนานอภิวงศา, บุคคล-หนานกาวี |
หน้าวิหารพระพุทธ วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2469 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18145?lang=th |
184 |
จารึกการปฏิสังขรณ์ศาลาวัดพระธาตุลำปางหลวง |
ธรรมล้านนา |
เมื่อปี พ.ศ. 2456 พระครูธรรมจินดามุนีเจ้าคณะใหญ่เมืองนครลัมพางเจ้าอารามวัดสวนดอกบุปปาวรารามได้เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วยพระครูเจ้าคณะทุกแขวง เจ้าหัวหมวดทุกองค์ เจ้าอธิการทุกวัดกับลูกศิษย์ ร่วมกับพระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิตผู้เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมด้วยเจ้าพระยาสุวันทราชเสนาหลวงประจำเมืองนครลัมพางและเจ้าสวาริด เจ้าบุรี เจ้าราชบุตร เจ้าราชปกิตตวงษา เจ้านายท้าวพระยาข้าราชการตลอดจนบุตราบุตรีราษฎรชายหญิงพร้อมกันปฏิสังขรณ์ศาลาส่วนระเบียงที่ล้อมรอบพระธาตุเจ้าวัดลัมพางหลวงจตุรทิศทั้ง 4 ขึ้น เพื่อถวายเป็นพระกุศลแด่พระองค์มหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวองค์เสวยราชสมบัติขอให้พระองค์พ้นจากภัยและมีพระชนมายุยืนยาว |
ลป. 13 จารึกการปฏิสังขรณ์ศาลาวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2456, ลป. 13 จารึกการปฏิสังขรณ์ศาลาวัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2456, พ.ศ. 2456, พุทธศักราช 2456, พ.ศ. 2456, พุทธศักราช 2456, จ.ศ. 1275, จุลศักราช 1275, จ.ศ. 1275, จุลศักราช 1275, วัดพระธาตุลำปางหลวง ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, วันอังคาร, วันดับเม็ด, ปีกาเปล้า, ไทยดับเหม้า, อนาคตวรพุทธศาสนา, พระครูธรรมจินดามุนี, เมืองนครลัมพาง, เจ้าอารามวัดสวนดอกบุปปาวราราม, พระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิต, เจ้าพระยาสุวันทราช, เสนาหลวง, เจ้าสวาริด, เจ้าบุรี, เจ้าราชบุตร, เจ้าราชปกิตตวงษา, ปฏิสังขรณ์ศาลา, ระเบียง, พระมหาชินธาตุเจ้า, พระองค์มหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระครูธรรมจินดามุนี, พระครูลักขิตตคุณ, พระธรรมเสนาวัดคลีชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2456, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-เจ้าแก้วนวรัฐ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, บุคคล-พระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิต, บุคคล-เจ้าพระยาสุวันทราช, บุคคล-เจ้าสวาริด, บุคคล-เจ้าบุรี, บุคคล-เจ้าราชบุตร, บุคคล-เจ้าราชปกิตตวงษา, บุคคล-พระครูธรรมจินดามุนี, บุคคล-พระครูธรรมจินดามุนี, บุคคล-พระครูลักขิตตคุณ, บุคคล-พระธรรมเสนา |
จากการสำรวจเมื่อ 27 กรกฎาคม 2560 ไม่พบจารึกดังกล่าว |
พุทธศักราช 2456 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18134?lang=th |
185 |
จารึกกังสดาล |
ฝักขาม |
ในปี พ.ศ. 2403 กัญจนมหาเถรเจ้าวัดป่าเมืองแพร่เป็นประธานทายกฝ่ายใน และ เจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่เป็นประธานทายกฝ่ายนอก พร้อมทั้งทายกทายิกาทั้งฝ่ายในฝ่ายนอก ร่วมกันหล่อกังสดาลไว้ ณ วัดพระสิงห์ เวียงเชียงใหม่ เพื่อไว้เป็นเครื่องบูชาพระธาตุอันตั้งไว้ในเมืองหริภุญไชย |
ลพ. 40, ลพ. 40, จารึกกังสดาล, หลักที่ 79 จารึกบนฆ้องวัดพระธาตุ จังหวัดลำพูน, หลักที่ 79 จารึกบนฆ้องวัดพระธาตุ จังหวัดลำพูน, พ.ศ. 2403, พุทธศักราช 2403, พ.ศ. 2403, พุทธศักราช 2403, จ.ศ. 1222, จุลศักราช 2403, พ.ศ. 2403, พุทธศักราช 2403, ฆ้อง, วัดพระธาตุหริภุญไชย, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เค้า, ประธาน, ศรัทธาภายใน, ศรัทธาภายนอก, ทายกทายิกา, ศรัทธาฝ่ายใน, ศรัทธาฝ่ายนอก, เครื่องบูชาทานชื่อ, เวียงเชียงใหม่, เมืองหริภุญไชย, พุทธศาสนา, วัดพระสิงห์, พระธาตุเจ้า, หล่อกังสดาล, ปีกดสัน, ออก, วันอังคาร, กัญจนมหาเถรเจ้าวัดป่าเมืองแพร่, หน่วย, พระวัสสา, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, จารึกอักษรฝักขาม, จารึก พ.ศ. 2403, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนฆ้อง, จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย, จารึกพบที่ลำพูน, จารึกล้านนา, กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านนา, การหล่อกังสดาล, ประวัติวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, จารึกในหอกังสดาล วัดพระธาตุหริภุญไชย, ความเป็นอยู่และประเพณี, พิธีกรรมทางพุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2403, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, ลักษณะ-จารึกบนฆ้อง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดพระสิงห์ เชียงใหม่, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อกังสดาล, บุคคล-กัญจนมหาเถร, บุคคล-เจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2508) |
หอกังสดาล วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2403 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2023?lang=th |