ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 20

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 20

ชุดข้อมูลนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 20 (พ.ศ.1901-2000) โดยอักษรที่พบในช่วงนี้ได้แก่ อักษรขอมสุโขทัย อักษรไทยสุโขทัย อักษรธรรมล้านนา อักษรฝักขาม อักษรไทยน้อย อักษรขอมอยุธยา และอักษรไทยอยุธยา

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2564 01:09:56 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2565 18:13:53 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกแสดงผลกรรมนำสู่นิพพาน

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึก เนื่องจากกลางส่วนของศิลาจารึกชำรุดหักหายไป ข้อความไม่ต่อเนื่องกันเท่าที่เหลือพอสรุปได้ คือ การบำเพ็ญธรรมเพื่อทำใจให้ตั้งอยู่ในทางที่ชอบที่ดี จนได้เห็นกระแสแห่งธรรม คือ “นิพพาน”

จารึกแสดงผลกรรมนำสู่นิพพาน, พร. 2, พร. 2, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดแพร่, ไทย, สุโขทัย, ครูบาอาจารย์, พุทธศาสนา, ธรรม, เนียรพาน, นิพพาน, บุญ, ผลกรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึก พ.ศ. 1914-1940, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1914-1940

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/136?lang=th

2

จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 3

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกด้านที่ 1 บอกนามผู้สร้างแผ่นทองคำนี้คือ ขุนศรีจูฬา ให้นามแก่บุคคลผู้หนึ่งคือ นายศรีกัณฐ ส่วนด้านที่ 2 บอกนามบุคคลคือ ขุนศรีรัตปัทราช

จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 3, จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 3, อย. 41, อย. 41, จารึกเลขที่ ข 60 (15), จารึกเลขที่ ข 60 (15), ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, กรุพระปรางต์วัดราชบูรณะ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ขุนศรีจูฬา ขุนศรีจุฬา ขุนศรีจูลา ขุนศรีจุลา นายศรีกัณฐนาม ขุนศรีรัตปัทราช, สุพรรณบัฏ, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างแผ่นทองคำ, บุคคล-ขุนศรีจูฬา, บุคคล-นายศรีกัณฐ, บุคคล-ขุนศรีรัตปัทราช, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/598?lang=th

3

จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 2

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกบอกนามผู้สร้างแผ่นทองคำนี้คือ ขุนไวทยาธิบดี ให้นามแก่บุคคลผู้หนึ่งคือ หมอมุก

จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 2, จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 2, อย. 40, อย. 40, จารึกขุนวัยทยาธิบดีให้นามหมอมุกข์, จารึกเลขที่ ข 40 (11), จารึกเลขที่ ข 40 (11), ทองคำ, พระพุทธรูปปรกโพธิ, ทับเกษตร, สมาธิ, ปางมารวิชัย, ทองคำ, กรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ขุนไวทยาธิบดี, หมอมุก, สุพรรณบัฏ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างแผ่นทองคำ, บุคคล-ขุนไวทยาธิบดี, บุคคล-หมอมุก, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/596?lang=th

4

จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 1

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกบอกนามผู้สร้างแผ่นทองคำนี้คือ ศรีจันทรภานุชัยวรรทธโหราธิบดี และนามบรรดาศักดิ์คือ กมรเตงธรรมาภินันทนาม

จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 1, จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 1, อย. 39, อย. 39, จารึกพระเจ้าศรีจันทรภานุ, กพช. 4, กพช. 4, จารึกเลขที่ พ. 4, จารึกเลขที่ พ. 4, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, กรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ศรีจันทรภานุชัยวรรทธโหราธิบดี, กมรเตงธรรมาภินันทนาม, กัมรเตงธรรมาภินันทนาม, สุพรรณบัฏ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างแผ่นทองคำ, บุคคล-ศรีจันทรภานุชัยวรรทธโหราธิบดี, บุคคล-กมรเตงธรรมาภินันทนาม, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/594?lang=th

5

จารึกแผ่นดีบุก วัดมหาธาตุ

ไทยอยุธยา

เป็นคำอุทิศส่วนกุศลจากการหล่อพระพุทธพิมพ์เท่าจำนวนวันเกิด การบูชาพระรัตนตรัย และการฟังพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ ให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย บิดา ญาติ และตนเอง โดยขอให้ตนได้ไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต เฝ้าพระศรีอารย์ และเมื่อพระองค์เสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก็ขอให้ตนได้มาเกิดในตระกูลกษัตริย์ มีปัญญารอบรู้ กล้าหาญ ฯลฯ และถึงแก่นิพพาน ตอนท้ายได้ระบุชื่อและอายุของผู้สร้างพระพิมพ์คือ พ่ออ้ายและแม่เฉา อายุ 75 ปี เนื้อหาในจารึกแผ่นนี้ทำให้ทราบถึงการสร้างพระพิมพ์ในสมัยอยุธยาว่านอกจากจะสร้างขึ้นเพื่อสืบทอดศาสนาแล้ว ยังมีขนบการสร้างให้มีจำนวนเท่ากับวันเกิดของตนเองดังเช่น พ่ออ้ายและแม่เฉา ซึ่งมีอายุ 75 ปี ได้ระบุจำนวนวันตามอายุของตนว่า “..ญิบหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยวัน..” จึงสร้างพระพิมพ์ตามจำนวนดังกล่าว (หากคำนวนตามความเป็นจริงแล้วจะพบว่าจำนวนวันเกินจากความเป็นจริงไปเล็กน้อย)

จารึกแผ่นดีบุก วัดมหาธาตุ, หลักที่ 42 จารึกแผ่นดีบุกภาษาไทย วัดมหาธาตุ, หลักที่ 42 จารึกแผ่นดีบุกภาษาไทย วัดมหาธาตุ, อย. 2, อย. 2, ดีบุก, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระปรางค์วัดมหาธาตุ, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, พ่ออ้าย, แม่เฉา, พระไมตรี, พระศรีอารย์, พระศรีสรรเพชญ์, พระพุทธเจ้า, สาธุชน, บาตร, จีพร, จีวร, พุทธศาสนา, หล่อพระพุทธพิมพ์, หล่อพระพุทธรูป, บูชาพระศรีรัตนตรัย, กัลปนา, บวช, ผนวช, พระพิมพ์, นิรพาน, นิพพาน, อธิษฐาน, กุศล, ไตรภพ, ดุสิตคัล, กษัตริย์ตระกูล, ทาน, ปราชญ์, ขพุงธรรมเทศนา, เกศ, บุญพระสัดปกรณาภิธรรม์, สัตปกรณาภิธรรม์,กเลส, กิเลส, อรหัต, พระอภิธรรม 7 คัมภีร์, พระอภิธรรม 7 คัมภีร์, สงสาร, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1917, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1, วัตถุ-จารึกบนดีบุก, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-พ่ออ้าย, บุคคล-แม่เฉา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1917 (โดยประมาณ)

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/672?lang=th

6

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 2

ไทยอยุธยา

พุทธศักราช 1956 เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์และครอบครัวร่วมกันสร้างพระทอง พระเงิน และพระดีบุก

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 2, จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 2, ชน. 6, ชน. 6, จารึกเลขที่ 46/2499, จารึกเลขที่ 46/2499, หลักที่ 51 จารึกลานเงินอักษร และภาษาไทย, หลักที่ 51 จารึกลานเงินอักษร และภาษาไทย, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์, ปู่เจ้าสิงหนท, เจ้าเมือง, แม่นางสร้อยทอง, ย่าออกศรี, ย่าพระ, ย่าแม้น, แม่เอาว์, แม่สาขา, พ่อสามน้อย, แม่วัง, ปู่ญิ, พ่อไสย, แม่เพง, ชาวเจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, บรรจุพระธาตุ, เนียรพาน, นิพพาน, จัตตวารศก, จัตวาศก, เดือนสิบออกใหม่, วันพฤหัสบดี, พระทอง, พระเงิน, พระดีบุก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1956, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1956

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/655?lang=th

7

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 1

ไทยอยุธยา

พ.ศ. 1956 เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ และครอบครัว ได้บรรจุพระธาตุ และถวายสิ่งของมีค่าต่างๆ รวมถึงผู้คนแก่วัด

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 1, จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 1, หลักที่ 50 จารึกอักษรไทย ภาษาไทยบนลานเงินแผ่นที่ 2, หลักที่ 50 จารึกอักษรไทย ภาษาไทยบนลานเงินแผ่นที่ 2, จารึกลานเงิน อักษรและภาษาไทย, ชน. 5, ชน. 5, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์, แม่นางสร้อยทอง, ย่าออกศรี, แม่อาม, แม่น้อย, พ่องั่ว, เจ้าเมือง, แหวน, ผ้าสนอบลาย, เสื้อ, สไบ ,ผ้าเช็ดหน้า, แท่งเงิน, พุทธศาสนา, บรรจุพระธาตุ, กัลปนา, นิพพาน, จัตวาศก, ออกใหม่, วันพฤหัสบดี, พระพิมพ์, พระทอง, พระเงิน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1956, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1956

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/652?lang=th

8

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1

ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของสมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1, จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1, พจ. 1, พจ. 1, จารึกวัดมหาธาตุ, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จบพิตร, สมเด็จพระสังฆราชบพิตร, พระคุรุ, เจ้าเถรพุทธสาคร, พระวรประสิทธิ, ธรรมโมลี, พุทธศาสนา, พุทธฎีกา, สุพรรณบัฏ, พระราชโองการ, มะแมนักษัตร, ปีมะแม, นวมีโรจ, กัตติก, พุธวาร, วันพุธ, ศุภมหุรดี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1959, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรุูปสี่เหลียม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลียมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1959

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/584?lang=th

9

จารึกเจ้าเถรคิริสัทธา

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงเจ้าเถรคิริสัทธาว่าได้อัญเชิญพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และอุบาสกอุบาสิกาให้ร่วมกระทำการอะไรบางอย่างซึ่งในจารึกมิได้ระบุไว้

จารึกเจ้าเถรคิริสัทธา, กท. 54, กท. 54, จารึกเลขที่ 51/2499, จารึกเลขที่ 51-2499, พ.ศ. 1958, พุทธศักราช 1958, พ.ศ. 1958, พุทธศักราช 1958, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระเป็นเจ้า, เจ้าเถรเทวคิริสัทธา, ภิกษุสงฆ์, สามเณร, บาสก, บาสี, บาเทพรังส, บาติวง, บายรัตน, บาศรีพงส, บาเท, บาแปด, บาเพง, บาไส, ชินบท, ชิไสย, ชิสามไสชวจ, ชิบวจสปาโค, โนท, บาน, บานพระปาะ, ชิบวจสตาปยาต, ชิแจม, ชิบวจส, พุทธศาสนา, เดินอกใหม่, เดือนออกใหม่, นิรวาร, นิพพาน, วันประหัสบดี, วันพฤหัสบดี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1958, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-เจ้าเถรคิริสัทธา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1958

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/581?lang=th

10

จารึกเจ้าหมื่นงั่วเชียงของ

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 1988 เจ้าหมื่นงั่วเชียงของได้ร่วมกับข้าราชบริพารสร้างวิหาร และสมเด็จพระมหาราชกับพระมหาเทวีได้พระราชทานอนุญาตให้มหาเถรพุทธคำเพียรเจ้าสร้างพระอุโบสถ และเมื่อสร้างแล้วเสร็จ ทรงประกาศว่า หากผู้ใดได้มาครองเมืองนี้และปรารถนาซึ่งนิพพาน ขอจงดูแลรักษาพระพุทธรูปไว้ให้ดี

ชม. 3 จารึกเจ้าหมื่นงัวเชียงแปงวิหาร, ชม. 3 จารึกเจ้าหมื่นงัวเชียงแปงวิหาร, ชม. 3 จารึกเจ้าหมื่นงั่วเชียงของ พ.ศ. 1988, ชม. 3 จารึกเจ้าหมื่นงั่วเชียงของ พ.ศ. 1988, ชม. 3, ชม. 3, 1.4.1.1 เชียงของ พ.ศ. 1988, 1.4.1.1 เชียงของ พ.ศ. 1988, พุทธสถานเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 1988, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างวิหาร, เรื่อง-การสร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าหมื่นงั่วเชียงของ, บุคคล-มหาเถรพุทธคำเพียรเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

ไม่พบจารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 1988

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12911?lang=th

11

จารึกเจ้าวัดบริพารภิกษุ

ธรรมล้านนา,ไทยอยุธยา

ข้อความจารึกเล่าว่า เมื่อท่านเจ้าวัดบริพารภิกษุได้เป็นเจ้าอาวาสมาได้สี่ปีเศษ นายญี่งามและคณะได้ร่วมกันบรรจุพระธาตุ 3 แห่ง ที่บลังรุ้งแห่งหนึ่ง บลังเกตแห่งหนึ่ง และนิรันตะแห่งหนึ่ง ในที่นี้ยังไม่อาจสรุปได้แน่นอนว่า ที่กล่าวว่าบรรจุพระธาตุ 3 แห่งนั้น หมายถึงบรรจุพระธาตุ 3 องค์ลงในที่สามแห่งของพระเจดีย์เดียวกัน หรือ บลังรุ้ง บลังเกต และนิรันตะ เป็นชื่อเรียกเจดีย์แต่ละองค์

หลักที่ 294 จารึกเจ้าวัดบริพารภิกษุ, หลักที่ 294 จารึกเจ้าวัดบริพารภิกษุ, สท. 54, สท. 54, เลขที่ 28/2526, เลขที่ 28/2526, ทองคำ, แผ่นทองคำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, เจ้าวัดบริพารภิกษุ, เจ้าอาวาส, นายญี่งาม, พุทธศาสนา, บ่ลังรุ้ง, บ่ลังเกต, บลังรุ้ง, บลังเกต, นางเอดพี่ทุย, มหาเถรพี่นาง, กองบุญ, พี่น้องนางอุต, พ่อเอต, ทายก, เจดีย์, บรรจุพระธาตุ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1999-2005, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, วัตถุ-จารึกบนแผ่นทอง, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง สุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, เรื่อง-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศักราช 1999-2005

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/40?lang=th

12

จารึกเจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์

ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของพระรัตนโมลีศรีไตรโลกย์

จารึกเจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์, กท. 55, กท. 55, จารึกเลขที่ 4/6, จารึกเลขที่ 4/6, พ.ศ. 1986, พุทธศักราช 1986, พ.ศ. 1986, พุทธศักราช 1986, ม.ศ. 1365, มหาศักราช 1365, ม.ศ. 1365, มหาศักราช 1365, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระวรประสิทธิ, เจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์, เจ้านิสัย, พุทธศาสนา, รัตนนาม, สุพรรณบัฏ, ปีกุน, กุนนักษัตร, ษัษฐีเกต, ปุษย, พฤหัสบดี, อายุ-จารึก พ.ศ.1986, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2, วัตถุ-จารึกบนแผ่นทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-พระรัตนโมลีไตรโลกย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1986

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/586?lang=th

13

จารึกเจ้ามหาเทวีสร้างพระพุทธรูป

ฝักขาม

เจ้ามหาเทวีผู้เป็นมหาอุบาสิกาได้สร้างพระพุทธรูปพระองค์นี้ ด้วยความปรารถนา คือ ขอให้มั่นในศีล 5 และ ศีล 8, ชนะแล้วด้วยเบญจสาธารณะ และได้ถึงซึ่งนิพพานอันเป็นเลิศ

จารึกเจ้ามหาเทวีสร้างพระพุทธรูป, จารึกแผ่นทองจั๋งโก๋ พระพุทธรูปคอระฆัง พระธาตุหริภุญชัย ด้านทิศเหนือ, ลพ. 46, ลพ. 46, โลหะ, แผ่นทองจั๋งโก๋บุพุทธปฏิมากร ปางลีลา, ด้านทิศเหนือ, คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย, วัดพระธาตุหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้ามหาเทวี, เจ้าพระญา, สองพี่น้อง, มหาอุบาสิกา, สงฆ์, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระศรีอารย์, พระเจ้ากือนา, เจ้าท้าวมหาพรหม, พระนางจิตรา, สำนักเจ้าอาริยไมตรย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, รูปพระพุทธสุวรรณปติมา, สงสาร, เบงจศีล, อัษฏางคิกศีล, เบญจศีล, อัษฎางคิกศีล, เบงจาสาทารันนะ, เบญจสาธารณะ, บรดํโมส, มหาเนียรพาน, มหานิพพาน, ปถโมกษ์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นทองจั๋งโก๋, ลักษณะ-จารึกรูปพระปฏิมากรปางลีลา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้ามหาเทวี

ด้านทิศเหนือ คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2027?lang=th

14

จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 2

อาหรับ

จารึกข้อความสรรเสริญพระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า ไซนุลอาบิดีน

จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 2, จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 2, 1575/38 (3), 1574/38 (2), กรุวัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ณัฏฐภัทร จันทวิช, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 1963-2012

อาหรับ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18788?lang=th

15

จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 1

อาหรับ

จารึกข้อความสรรเสริญพระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า ไซนุลอาบิดีน

จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 1, จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 1, 1574/38 (2), 1574/38 (2), กรุวัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ณัฏฐภัทร จันทวิช, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 1963-2012

อาหรับ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18785?lang=th

16

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม

จีน

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็ง โดยชาวจีนแซ่ตั้ง แซ่เอี้ยและแซ่อื่นๆ ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20-22

จีน

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1956?lang=th

17

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ ในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ

จีน

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็งด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา

จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ไต้เหม็ง, พระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20-22

จีน

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1954?lang=th

18

จารึกออกศรีไตร

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงบุคคลนามว่า ออกศรีไตร และญาติ ที่ได้ทำบุญด้วยการบรรจุพระทอง พระเงิน พระธาตุ หัวแหวน และดอกไม้ ลงในสถูปเจดีย์

จารึกออกศรีไตร, ชน. 12, ชน. 12, จารึกวัดส่องคบ, ลานเงินแผ่นที่ 8, ลานเงินแผ่นที่ 8, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, ออกศรีไตร, พระญาติ, หัวแหวน, ดอกไม้, พุทธศาสนา, บรรจุพระพุทธรูป, บรรจุพระธาตุ, นิพพาน, บุญ, สวรรค์สมบัติ, นิพพานสถาน, ปีใหเล้า, พระทอง, พระเงิน, พระธาตุ, ธา, พระธรรมคัมภีร์, กุศลผลบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระเจดีย์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ออกศรีไตร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/591?lang=th

19

จารึกสิรินันทะ

ขอมอยุธยา

จารึกนี้มีข้อความที่ บุคคลนามว่า สิรินันทะ กล่าวถึงตนเองว่าเป็นปราชญ์ และได้สร้างพระพุทธรูปดีบุกไว้เป็นจำนวนมาก ท้ายจารึกเป็นข้อความที่สิรินันทะอธิษฐาน ขอให้ตนเองได้รับสิ่งที่ตนเองปรารถนา อันเนื่องมาจากผลบุญที่ได้กระทำนั้น

จารึกสิรินันทะ, อย. 22, อย. 22, หลักที่ 43 จารึกลานเงินอักษรขอม ภาษามคธ หลักที่ 43 จารึกลานเงินอักษรขอม ภาษามคธ, จารึกสิรินันทสัทธัมมทายกสร้างพระพุทธรูปดีบุก, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดมหาธาตุ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, สิรินันทะ, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, บริจาคทาน, สร้างพระพุทธรูปดีบุก, ผลบุญ, ภพ, กิเลส, ศีล, สมบัติ, กุศล, โทษ, อนาคตกาล, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-สิรินันทะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/601?lang=th

20

จารึกสองแคว

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ศิลาจารึกหลักนี้ชำรุดมาก อ่านได้น้อยคำ ในตอนต้นมี จ.ศ. 766 ปีวอก ตอนปลายมีชื่อพระธรรมราชา เห็นจะเป็นพระธรรมราชาที่ 3 มูลเหตุที่ได้จารึกก็ไม่ปรากฏ หรือจะปรากฏก็อ่านไม่ได้ คำจารึกที่เหลืออยู่บ้างเล็กน้อยอ่านพอได้ใจความว่า เป็นเรื่องท่านเจ้าพันสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ในเมืองเชลียง เมืองสองแคว เมืองเชียงใหม่ และเมืองสุโขทัย

ศิลาจารึกสองแคว พุทธศักราช 1947, ศิลาจารึกสองแคว พุทธศักราช 1947, สท. 10, สท. 10, หลักที่ 10 ศิลาจารึก จ.ศ. 766 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 10 ศิลาจารึก จ.ศ. 766 จังหวัดสุโขทัย, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถ, วัดบวรนิเวศวิหาร, กรุงเทพฯ, ไทย, สุโขทัย, ท่านเจ้าพัน, มหาเถร, ภิกษุ, เจ้าธรรมราช, พระโพธิสัตว์, สาธุชน, ผ้าเช็ดหน้า, เงิน, ผ้าขาวแก้ว, เมืองเชลียง, สองแคว, เมืองเชียงใหม่, พุทธศาสนา, ตำหนัก, พิหาร, วิหาร, ศาลา, กระลาอุโบสถ, พระเจดีย์, พระมหาธาตุ, การบูชา, บวช, ปีวอก, วันศุกร์, วันกาบสัน, อาทิตย์, เพ็ญ, อรัญวาสี, จังหัน, พระธาตุ, พระพุทธรูป, บุญ, อนุโมทนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1947, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-ท่านเจ้าพัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1947

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/212?lang=th

21

จารึกวิหารหลวงวัดมหาธาตุ

ขอมสุโขทัย

เป็นคำกล่าวนมัสการพระรัตนตรัย

จารึกวิหารหลวงวัดมหาธาตุ, สท. 20, สท. 20, ศิลา, ใบเสมา, วิหารหลวงวัดมหาธาตุ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, พระอรหันต์, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, สาวก, ภิกษุ, พระตถาคตเจ้า, เทวดา, พุทธศาสนา, พระธรรม, ปัญญา, กุศล, คุณ, เทยยะ, พระธรรมขันธ์, ธาตุ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/175?lang=th

22

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ

ไทยสุโขทัย

ด้านที่ 1 เป็นคำสรรเสริญรอยพระพุทธบาท ที่พระยาลือไทยธรรมราชาที่ 1 ได้ประดิษฐานไว้บนยอดเขาสุมนกูฏ ด้านที่ 2 เป็นเรื่องทำการสักการะบูชา ในเวลาที่ได้แห่รอยพระพุทธบาทขึ้นบนเขาสุมนกูฏ ด้านที่ 3 ชำรุดเสียหายมาก แต่ยังอ่านได้พระนาม พระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช พระธรรมราชาองค์นั้น เป็นพระโอรสของพระยาลือไทยธรรมราชาที่ 1 ตามที่กล่าว ในตอนปลายคำจารึกนี้คือ ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 15 มีความปรากฏว่า “พระองค์ได้ขึ้นมานบพระบาทลักษณ อันตนหาก (เดิมศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ อ่านว่า “อันตนชนก” แต่ภายหลังศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ได้ตรวจสอบใหม่พบว่า คำที่ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ อ่านว่า “อันตนชนก” นั้น ที่ถูกควรอ่านว่า “อันตนหาก” เพราะตัวอักษรในจารึกเขียนเช่นนั้น ฉะนั้นที่ ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ กล่าวว่าเป็นจารึกของพระโอรสของพระยาลือไทยธรรมราชาที่ 1 นั้นจึงคลาดเคลื่อนควรเป็นจารึกของพระยาลือไทยเอง) ประดิษฐานแต่ก่อนเหนือจอมเขาสุมนกูฏ” ในคำจารึกด้านที่ 3 ยังมีเรื่องราวที่พอจะอ่านได้ คือพระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ได้เสด็จไปปราบปรามหัวเมืองข้างทิศตะวันออกถึงแม่น้ำสัก แล้วเสด็จขึ้นมาประทับอยู่สองแคว (เมืองพิษณุโลก) 7 ปี ข้างปลายด้านที่ 3 นี้กล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัยที่แผ่ออกในแผ่นดินนั้น คำจารึกด้านที่ 4 เป็นเรื่องพระธรรมราชาที่ 1 เสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฏพร้อมกับชาวเมืองต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับกรุงสุโขทัยครั้งนั้น ได้นมัสการพระพุทธบาทและโปรดให้จารึกศิลาหลักนี้ขึ้น

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ, สท. 9, ศิลาจารึกภูเขาสุมนกูฏ จังหวัดสุโขทัย, สท. 9 ศิลาจารึกภูเขาสุมนกูฏ จังหวัดสุโขทัย, จารึกหลักที่ 8, จารึกหลักที่ 8, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, หินทรายแปร, หลักรูปใบเสมา, เขาพระบาทใหญ่, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ศรีสุริยพงศธรรมราชาธิราช, พระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช. เจ้าพระยาผากอง, พระยาท้าวฟ้าง้อม, จักรพรรดิราช, เศรษฐี, พระสัก, พระพุทธเจ้า, ชาวสระหลวง, กัลปพฤกษ์, หมาก, ไพรยา, ดอกไม้, พระศรีมหาโพธิ, หวาย, ปลา, ไต้, เทียน, ประทีบ, ธูปหอม, ธงปฎาก, ขันหมาก, ขันพลู, พิณ, ฆ้อง, กลอง, พวงมาลัย, จอมเขาสุมนกูฏบรรพต, ลังกาทวีป, เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, เมืองสองแคว, เมืองน่าน, เมืองพลัว, สระหลวง, ปากยม, พระบาง, ชากังราว, สุพรรณภาว, นครพระชุม, เมืองพาน. เมืองราด, เมืองสะค้า, เมืองลุมบาจาย, พนัง, ทำนบกั้นน้ำ, น้ำน่าน, เมืองปัว, สคา, สะค้า, พุทธศาสนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, สาธุการบูชา, ราชาภิเษก, ระบำ, เต้น, การทำบุญ, การจารจารึก, รอยตีน, รอยพระพุทธบาท, เทพดา, เทวดา, สมบัติ, ปีกุน, สังขยา, อนุโมทนา, หินแลง, ไร่นา,ธรรม, พระบาทลักษณ์, พระศรีบาทลักษณ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1912, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระยาลิไทย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-รอยพระพุทธบาท, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระยาลิไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1912

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/201?lang=th

23

จารึกวัดเก้ายอด

ฝักขาม

ข้อความที่จารึกนี้กล่าวถึง คือ การอุทิศส่วนกุศลในการสร้างวัดเก้ายอด ถวายแด่เจ้าเหนือหัวผู้ครองเมืองเชียงใหม่ในสมัยนั้น คือ พระเจ้าสามฝั่งแกน กล่าวถึงเจ้าสี่หมื่นพยาว (เมืองพะเยา) ให้คนมาฝังจารึกในวัดเก้ายอด บ่งบอกอาณาเขตของวัด โดยเอาบ้านพระยาร่วงและบ้านหมอช้างเป็นแดน จากข้อความเหล่านี้ จึงแน่ใจได้ว่า จารึกหลักนี้เป็นของที่อยู่ประจำกับวัดเก้ายอด และวัดนี้จะต้องอยู่ในเขตจังหวัดพะเยาปัจจุบันนี้อีกด้วย เพราะการอ้างถึง บ้านพระยาร่วงนั้นคงจะเป็นบริเวณที่ตั้งของวัดพระยาร่วง ในจังหวัดพะเยา ที่แห่งนี้ ได้ค้นพบจารึกศิลาจารึกกล่าวถึงวัดพระยาร่วง ซึ่งปัจจุบันนี้เรียกกันว่า วัดบุญนาค

จารึกวัดเก้ายอด, ลพ. 27, ลพ./27, พช. 11, 338, ลพ. 27, ลพ./27, พช. 11, 338, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ผ้าขาว, นักบุญ, เจ้าเหนือหัวเจ้าพระยาเติม, มหาเทวี, ลุงเจ้าโถด, พันยี่, มหาเถร, เจ้าวัด, ชาวเจ้า, ชีบามหาเถร, หมื่นแมนแสนเขาเฒ่าเมือง, ผู้เฒ่าผู้แก่, พันนาม่วง, เจ้าสี่หมื่นพะเยา, พระพุทธเจ้า, พันนาเชียงดี, สังฆเถรา, พระภิกษุ, หมาก, เบ้, เบี้ย, จังหัน, คือเวียง, คูเมือง, บ้านพญาร่วง, บ้านหมอช้าง, สุมกลาด, หมู่ตลาด, บ้านเก้ายอด, แดนขรางไม้, ถ้ำ, พุทธศาสนา, วิหาร, ชายคาวิหาร, สร้างวัด, ฝังจารึก, ฝังหิน, ปีระวายสี, ปีรวายสี, อนาบุญ, กุศล, วันตก, วันออก, แท่น, พายใต้, รางไม้, เทวดา, สัตว์ดิรัจฉาน, นรก, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1955, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาสามฝั่งแกน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 1955

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2011?lang=th

24

จารึกวัดอโสการาม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 กล่าวถึงสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์ พระอัครมเหสี สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงมีพระราชศรัทธาประดิษฐานพระสถูปไว้ในวัดอโสการาม ด้านที่ 2 ท่านกวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก ได้รจนาเป็นภาษาบาลี กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลในวัดอโสการาม และการตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ความเป็นผู้ที่สมบูรณ์ด้วยรูป ยศ และอายุของสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์

จารึกวัดอโสการาม, สท. 26, สท. 26, ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย จากวัดอโสการาม สุโขทัย, ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษามคธ จากวัดอโสการาม สุโขทัย, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, หินแปร, แผ่นรูปใบเสมา, วัดสลัดได, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์อรรคราชมเหสี, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, พระศรีมหาโพธิวงศ์กมลญาณ, เจ้าญาณวังสราชบัณฑิต, เจ้าศรีวัง, เจ้าสังขสร, พระมหาพุทธสาคร, พระมหาเถรสรภังคเถร, เสด็จแม่อยู่หัว, มหาวันรัตนเถร, พ่ออยู่หัว, พระศรีธรรมราชมารดา, พระยาลิไทย, พระะมหาธรรมราชาธิราช (ผู้หลาน), พระอโศก,ชายา, ธรรมกถึก, สมวัด, กับปิการพยาบาล, ประธาน, นายเชียงศรีจันท์, เสด็จพระมหาสวามีเจ้า, สมเด็จพ่อออก, สมเด็จพระราชเทวี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราชพระศรีธรรมราชมารดา, ญาติกุล, ท้าวพระยา, สาธุชน, พระพุทธเจ้า, พระมหากษัตริย์พระมารดา, พระศรีธรรมราชมาดา, มเหสี, พระจอมนระ, พระราชาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระราชา, พระสงฆ์, พระราชบุตร, พระเชษฐา, พระอโศก, บัณฑิต, ญาณวงศ์, ศรีวงศ์, สังขสร, พนักงานชาวประโคม, บุรุษ, ศรีจันทร์, พระภิกษุ, สมณะ, พระเถระ, สรภังคะ, พระสวามี, มารดาบิดา, พระพุทธเมตไตรย, พุทธบริษัท, ผู้ยากจน, พระศรีมหาโพธิ์, สารภี, บุนนาค, พิกุล, มะม่วง, ขนุน, มะขวิด, มะพร้าว, เมล็ดข้าวสาร, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ผลึกรัตน, พิกุล, ข้าว, เครื่องเคาะจังหวะ,พาทย์, แตร, สังข์, ปี่, กลองใหญ่, กังสดาลใหญ่, ข้าวเปลือก, อาหารกัปปิยภัณฑ์, นิจภัต, น้ำ, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, เมืองนครไทย, เมืองวัชชะปุร, ดอยอุ้ย, แม่น้ำพิง, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุร, เมืองลักขะ, แม่น้ำยม, ลังกา, ปราการ, สะพาน, ถนน, ท่งชัย, ทุ่งชัย, ศรีจุฬาวาส, พระธรรมราชบูรณ์, รัฐมณฑล, รัฐสีมา, แควน้อย, เมืองลักขะ, เมืองแสน, เมืองสร้อย, คู, มหาสมุทร, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, สถูป, กุฎี, กุฏิ, ปราการ, สะพาน, ถนน, วิหาร, มณฑป, เจดีย์, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, ศีลวิสุทธาวาส, พระอาราม, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานครรภพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานข้าพระ, ประดิษฐานนา, ผนวช, บวช, สงสการ, สังสการ, กัลปนา, การบำเพ็ญบุญ, สถาปนารัฐสีมา, สวดพระบาลีล การบริจาคทรัพย์, ฉลองอโสการาม, บริจาคทาน, ปีเถาะ, พระมหาธาตุเจ้า, พระพุทธรูป, นักษัตรผัคคุณมาส, ฤกษ์มหุรดี, ปัญจพิธกัลญาณี, ศีลพร, ปิฎกไตร, ไตรปิฎก, นา, เกวียน, สวน, สูปพยัญชนาการ, บาตร, สำรับ, ศีลมรรยาทวัตตปฏิบัติ, กรรม, ผลานิสงส์, โกฏฐาสบุญ, ทุกภยันตราย, สุข, พระราชกุศล, อนาคต, เลขวัด, พระรัตนตรัย, บุญสมภาร, วันอังคาร, ปีวอก, ศิลป, บุญสมภาร, เทวดา, พระพุทธ, พระธรรม, พระบรมธาตุ, สีแก้วผลึก, สีดอกพิกุลแห้ง, พระธาตุในพระสถูป, วันศุกร์, กำแพง, โกฏฏิ, ปัจจัย, บุญกรรม, อุปัททวะ, สวรรค์, บุญญานุภาพ, ภาวนา, รูป, ยศ, อายุ, ทรัพย์สมบัติ, กองทรัพย์, ภพ, วัฏฏสงสาร, สัมโพธิ, ราชสมบัติ, ปูชนียวัตถุ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, บาลีสันสกฤต, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-อายุ พ.ศ. 1942, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, บุคคล-สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์, บุคคล-กวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1942

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/235?lang=th

25

จารึกวัดหินตั้ง

ไทยสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึก ได้กล่าวถึงพระมหาธรรมราชาผู้ปู่ กระทำหอมาฬก(พลับพลา ปะรำ โรงพิธี) พระมหาธาตุเจ้า และการบำเพ็ญกุศลในการสร้างถาวรวัตถุ และวัตถุอื่นๆ ในพระพุทธศาสนา

จารึกวัดหินตั้ง, สท. 37, สท. 37, ศิลาจารึก อักษรและภาษาไทย, หลักที่ 95 ศิลาจารึกวัดหินตั้ง, หลักที่ 95 ศิลาจารึกวัดหินตั้ง, ศิลาจารึกวัดหินตั้ง พุทธศตวรรษที่ 20, ศิลาจารึกวัดหินตั้ง พุทธศตวรรษที่ 20, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดหินตั้ง, ไทย, สุโขทัย, มหาธรรมราชาผู้ปู่, ท่านเถรสวร, อุบาสกชี, ท่านมหาเถรทรกรรมพรต, ดาบสเทียน, แม่ครัว, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าสงฆ์, เชียงไส, ภิกษุ, พระศรีมหาโพธิ์, พระมหาโพธิ์, ทอง, จีพอร, จีวร, พระพิมพ์, อิฐ, ดอกไม้เงิน, ดอกไม้ทอง, ประทีป, กากเยีย, สนับเชียง, สวนหมาก, พุทธศาสนา, หอมาฬกพระมหาธาตุเจ้า, กุฎี, กุฏิ, พระไตรโลก, ปั้นอิฐรองดินพระปรางค์, ปลูกพระศรีมหาโพธิ์, ซ่อมพระเจ้า, ซ่อมพระพุทธรูป, ปั้นอิฐรองดินพระปรางค์, ก่อพระเจดีย์, สังสการ, บุญ, ตำลึง, เบี้ย, ปี, เดือน, ดวง, ก้อน, จังหัน, พระพุทธรูป, พรรษา, พระมหาชาติ, สมวัด, เลขวัด, นา, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอมาฬก, บุคคล-พระมหาธรรมราชา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอมาฬก, บุคคล-พระมหาธรรมราชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/233?lang=th

26

จารึกวัดหลวง (หนองคาย)

ไทยน้อย

เจ้าไชยมหาราช เจ้าเมืองเชียงทอง ได้มีศรัทธาให้ที่กับวัด ตามแบบโบราณกาลที่พระยาแสนได้กระทำไว้ก่อนหน้านี้

นค. 9, นค. 9, จารึกวัดหลวง, พ.ศ. 1957, พุทธศักราช 1957, พ.ศ. 1957, พุทธศักราช 1957, จ.ศ. 776, จุลศักราช 776, จ.ศ. 776, จุลศักราช 776, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดหลวง, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จพระยาแสน, พระยาปาก, ท้าวมาลุนขุนมาใหม่, สมเด็จเจ้าพระยาไชยมหาราช, ห้วยหลวงจันทบุรี, บ้านเพา, เชียงทอง, พุทธศาสนา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ทำทาน, สาบาน, นักษัตร, ปีกาบสง้า, ปีกาบสะง้า, ปีกาบซง้า, วันจันทร์, พระศรีรัตนตรัย, พระอาชญา, แผ่นธรณี, ไร่นา, ดินดาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 1957, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาท, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหลวง หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงทอง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงทอง-เจ้าไชยมหาราช, บุคคล-เจ้าไชยมหาราช

แปะติดกับฐานชุกชีพระประธานในพระอุโบสถวัดหลวง ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 1957

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2381?lang=th

27

จารึกวัดส่องคบ 4

ขอมอยุธยา

เป็นรายนามผู้มาร่วมทำบุญ

จารึกวัดส่องคบ 4, จารึกวัดส่องคบ 4, ชน. 7, ชน. 7, จารึกเลขที่ 50/2499, จารึกเลขที่ 50/2499, ลานเงินแผ่นที่ 4, ลานเงินแผ่นที่ 4, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, ปู่ไส, อ้ายมวย, นางติ, อารัตน, อ้ายโจม, แม่แจชา, นายพันเมข, แก้วอาม, แม่นาง, อ้ายจัง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, บัณฑิตพุต, โยหอม, เจ้าแม่เวง, แม่ขอ, แม่อก, แม่เอต, อ้ายดีเทพ, สามไกร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/588?lang=th

28

จารึกวัดส่องคบ 3

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

พ่อยี่และแม่สร้อย มีศรัทธาสร้างเจดีย์ขึ้นองค์หนึ่ง มีการบรรจุพระทอง พระเงินและพระดีบุกรวมถึงทรัพย์สิ่งของอื่นๆ อีกหลายอย่าง นอกจากนี้ยังให้หลานบวชเป็นภิกษุและลูกชายบวชสามเณร โดยตั้งความปรารถนาให้ตนได้พบพระศรีอารย์ บรรลุโสดาปัตติผล และเข้าสู่นิพพาน ฯลฯ

จารึกวัดส่องคบ 3, จารึกวัดส่องคบ 3, จารึกอักษรไทย ภาษาไทย บนลานเงิน แผ่นที่ 1 พ.ศ. 1916, จารึกอักษรไทย ภาษาไทย บนลานเงิน แผ่นที่ 1 พ.ศ. 1916, หลักที่ 44 จารึกลานเงินอักษร และ ภาษาไทย, หลักที่ 44 จารึกลานเงินอักษร และ ภาษาไทย, ชน. 4, ชน. 4 , พ.ศ. 1976, พุทธศักราช 1976, พ.ศ. 1976, พุทธศักราช 1976 , เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า , เจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท , ไทย, อยุธยา, เจ้าสัทธรรมมหาเถรศาสนา, มหาอุบาสกอุบาสิกาญาติกา, พ่อยี่ตัดผม, แม่สร้อย, พระบาสกบาสิกา, พระทองยา, พระศรีอาริยไมตรีโพธิสัตว์, เจ้าสุนทร, พ่อรัตน์, แม่เทศ, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารย์, พระพุทธเจ้า, สงฆ์, ภิกษุ, สามเณร, เงิน, ทอง, ผ้าผ่อน, ผ้าเช็ดหน้า, ผ้ากะแส, ผ้ากระแสง, ผ้ากรรแสง, สไบ, ผ้ากำม้า, ผ้าขาวม้า, ธงปฏาก, พุทธศาสนา, กุฏิ, พิหาร, วิหาร, อุบาสก, อุบาสิกา, พระเจดีย์, ศาลา, เสาธง, ทำบุญ, จำศีล, ภาวนา, บวช, ก่อพระเจดีย์, นิพพาน, พระพุทธรูป, พระทอง, พระเงิน, พระดีบุก, โสดาปัตติผล, กรรม, ทาน, โทศก, นักษัตรปีจอ, ตรีศก, ออกใหม่, พฤหัสบดี, ศอก, อาหาร, ปรีชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1976, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-อุปสมบท, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พ่อยี่, บุคคล-แม่สร้อย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1976

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/661?lang=th

29

จารึกวัดส่องคบ 2

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการร่วมประดิษฐานประธาตุ บรรจุพระพุทธรูปที่ทำด้วยเงินและทอง

จารึกวัดส่องคบ 2, จารึกวัดส่องคบ 2, ชน. 8, ชน. 8, จารึกเลขที่ 49/2499, จารึกเลขที่ 49/2499, จารึกลานเงินแผ่นที่ 5, จารึกลานเงินแผ่นที่ 5, จารึกลานเงินวัดส่องคบ, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, พระคงคา, แม่สันแก้ว, พ่อสาม, แม่เพ็ญ, เจ้าเถรเทพย์, พ่ออยู่, ผู้เฒ่า, เจ้ากู, ผ้า, เสื้อ, แหวนทอง, หัวแหวนทองฟ้า, พุทธศาสนา, เจดีย์, พระธาตุ, พระมหาธาตุ, จรองพระมหาธาตุ, ฉลองพระมหาธาตุ, ฉลองพระธาตุ, บรรจุเจดีย์, พระพิมพ์, พระทอง, พระเงิน, พระพุทธรูป, สวรรค์, กุศล, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/624?lang=th

30

จารึกวัดส่องคบ 1

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงเจ้าเมืองนามว่า ขุนเพชญสาร ที่ได้ทำบุญด้วยการบริจาคข้าวของเงินทอง และข้าทาสจำนวนมากแก่วัด

จารึกวัดส่องคบ 1, จารึกวัดส่องคบ 1, ชน. 13, ชน. 13, จารึกเลขที่ 44/2499, จารึกเลขที่ 44/2499, หลักที่ 48 จารึกลานทองวัดส่องคบ, หลักที่ 48 จารึกลานทองวัดส่องคบ, ลานเงินแผ่นที่ 9, ลานเงินแผ่นที่ 9, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, กษัตริย์, พระศาสดาบพิตร, พระพุทธเจ้า, พระธรรมอริยสงฆ์ เจ้าเมืองขุนเพชญสาร พระมหาเถรศีลคำคำพีรย, ครูเจ้า, ออกศรีมาดา, พนิดา, แม่นางสร้อยทอง, มหาพนิดาพิจิตร, แม่นางศรีมูล, แม่นางพัว, ชาวแม่, พระสงฆ์, ขุนหลวงพระศรีแก้ว, แม่นางจกง, เจ้าชาวทานบาเรือง, ชาวเจ้า, พ่อตาแม่ยาย, อ้ายแก้ว, พ่อไว, ชียี่, เพชศักดิ์, อ้ายเจ้ายี่, กะอีลัง, กะอามน้อย, อามเสน, ชีอ้าย, ยี่ช้าง, พระมหาเถรธรรมบุตร, เจ้าสามีหรพงศ์, ปู่สิธ, พระพุทธศรีอาริยไมตรี, ปิ่นเกล้า, ทองมกุฎ, ผ้าขาว, พิจิตรพัสตร์, ผกาแก้วเกด, กรุงไชยสถานนาม, ศรีสุพรรณภูมิ, ศรีอโยธยา, นครพระราม, พุทธศาสนา, สถานบากุลเทพ, กุฏิพิหาร, วิหาร, พระดิษฐานพระธาตุ, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระศรีรัตนธาตุ, บวช, ทำบุญ, มาร, ดิน, ฟ้า, พระยศ, พระเกียรติ, พระคุณ, โลกากร, ปริญามหาเพียร, มหาศรัทธา, ปีชวด, นักษัตรสัมฤทธิศก, ไพสาข, วันอาทิตย์, เอกาทศเกต, กุศล, ทาน, เรือน, ตำลึง, บุญ, อสงไขยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1951, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระรามราชาธิราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เจ้าสามีหรพงศ์, บุคคล-ขุนเพชญสาร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพรกศรีราชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมือแพรกศรีราชา-ขุนเพชญสาร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1951

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/578?lang=th

31

จารึกวัดสรศักดิ์

ไทยสุโขทัย

ได้กล่าวถึงนายอินทรศักดิ์ขอที่ดินจากเจ้าท่านออกญาธรรมราชาเพื่อสร้างอาราม

จารึกวัดสรศักดิ์, สท. 25, สท. 25, หลักที่ 9 ก., หลักที่ 9 ก., หลักที่ 49 ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์, หลักที่ 49 ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์, ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ พุทธศักราช 1960, ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ พุทธศักราช 1960, พ.ศ. 1960, พุทธศักราช 1960, พ.ศ. 1960, พุทธศักราช 1960, จ.ศ. 779, จุลศักราช 779, จ.ศ. 779, จุลศักราช 779, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, จ.ศ. 778, จุลศักราช 778, จ.ศ. 778, จุลศักราช 778, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, ม.ศ. 1334, มหาศักราช 1334, จ.ศ. 1334, จุลศักราช 1334, หินชนวน, แผ่นรูปไบเสมา, ตระพังสอ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, นายอินทรสรศักดิ์, ออกญาธรรมราชา, นายสังฆการี, พระมาตุจฉา, พ่ออยู่หัวเจ้า, แม่อยู่หัวเจ้า, ออกญาธรรมราชา, พ่อมหาเถรเจ้า, มหาเถรธรรมไตรโลกคจุนวาจารญาณทัสสี, ธรรมไตรโลกสุนทราจารย์, ธรรมไตรโลกคุณวาจารย์, เจ้าพระยาหลาน, วัดตระกวน, พระมหาเถรเจ้า, สานุศิษย์, พระสงฆ์สบสังวาส, พระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช, พระมาตุราช, พระมาตุจฉาเจ้า, มหาอุบาสิกา, บพิตร, เจ้าสามเณร, เจ้าภิกษุ, นายสรศักดิ์, พระศรีอาริยไมตรีโพธิสัตว์, ช้างเผือก, ดอกไม้, ตำบลดาวขอน, วัดตระกวน, วัดสรศักดิ์, ตำบลบ้านสุกพอมน้อย, บ้านไผ่ล้อม, บ้านหอด, ตำบลบ้านสุกพอมน้อย, บ้านวังดัด, บ้านป่าขาม, บ้านตาลโจะ, บ้านหนองบัวหลวง, บ้านละกันน้อย, บ้านละกันหลวง, บ้านดุง, หนองยางน้อย, หัวฝาย, หมู่อีสาน, พุทธศาสนาศาสน, อาราม, กุฎี, กุฏิ, พระวิหาร, หอพระ, หัวฝายสองวาย, มหาเจดีย์, ตำหนักหัวสนามเก่า, วัดสรศักดิ์, หมู่วัดพายัพ, วัด, ปิดทอง, ฉลองมหาเจดีย์, เอาพรรษา, จำพรรษา, ปีมะโรง, สัปต, จัตวาริศก, วันพฤหัสบดี, เดือนห้า, ขึ้นห้าค่ำ, มะโรงนักษัตร, จัตวาริศก, เดือนหกเพ็ง, ไตรปิฎก, พระศาสน์, วอกนพศก, ปีวอก, ปีระกา, ระกาสัมฤทธิศก, ทาน, นา, วาย, อากร, พระเจ้าหย่อนตีน, พระเจ้าจงกรม, พระพุทธรูป, เบี้ย, จาริกวัตร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1960, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-นายอินทรศักดิ์, บุคคล-ออกญาธรรมราชา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศักราช 1960

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/128?lang=th

32

จารึกวัดพระยืน

ไทยสุโขทัย

ข้อความที่จารึก คำขึ้นต้นของจารึกด้านที่ 1 บรรทัดแรก เป็นคำนอบน้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยภาษาบาลี ข้อความต่อจากนั้นไปเป็นภาษาไทย กล่าวถึงพระนามกษัตริย์แห่งราชวงศ์มังรายบางพระองค์ ได้กล่าวถึงมูลเหตุที่ไปอาราธนาพระสุมนมหาเถร จากนครสุโขทัย มาเผยแพร่พระพุทธศาสนายังล้านนา ในปี พ.ศ. 1912 และได้นิมนต์ท่านมาอยู่ที่วัดพระยืน ในหริภุญไชยนคร คือ จังหวัดลำพูน และได้กล่าวสรรเสริญเกียรติคุณแห่งพระมหาเถร ด้านที่ 2 กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัดพระยืน รวมทั้งพระเจดีย์ที่มีพระพุทธรูปสมัยหริภุญไชย ประดิษฐานประทับยืนอยู่ในซุ้มคูหา

จารึกวัดพระยืน, ลพ. 38, ลพ. 38, หลักที่ 62 ศิลาจารึกวัดพระยืน จังหวัดลำพูน, หลักที่ 62 ศิลาจารึกวัดพระยืน จังหวัดลำพูน, พ.ศ. 1913, พุทธศักราช 1913, จ.ศ. 732, จุลศักราช 732, พ.ศ. 1913, พุทธศักราช 1913, จ.ศ. 732, จุลศักราช 732, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, จ.ศ. 731, จุลศักราช 731, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, จ.ศ. 731, จุลศักราช 731, หินดินดาน, หินชนวนสีเทา, แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระยืน, จังหวัดลำพูน, ตำบลเวียงยอง, ไทย, สุโขทัย, เจ้าท้าวสองแสนนา, พระยากือนา, พระยาธรรมิกราช, พญาธรรมิกราช, พระยาผายู, พระยาคำฟู, พระยามังราย, พระสุมนเถร, พญามหาธรรมิกราช, พระมหาเถร, มหาสุมนเถร, ศิษย์, อริยสงฆ์, พญาธรรมิกราชบริพาร, ราชโยธามหาชนพลลูกเจ้าขุนลูกมนตรี, สงฆ์, อาจารย์เถ้าแก่, สัปปุรุษ, เจ้าเมือง, สัปปุริส, อุบาสก, อุบาสิกา, นักปราชญ์, กระทงข้าวตอกดอกไม้, ขันคำ, ขันทอง, ไม้ไต้, เทียน, พาทย์, พิณ, ฆ้อง, กลอง, ปี่สรไน, ปี่ไฉน, พิสเนญชัย, ทะเทียด, สรเทียด, กาหล, แตรงอน, แตรสังข์, กังสดาล, มรทงค์, กระยาทาน, ปี่เสนง, ปี่แสนง, ปี่แขนงอัฐบริขาร, จตุปัจจัย, ระฆังวงเดือน, ตะโพน, ดงเดือด, สนั่นดง, หินแลง, น้ำสุคนธศรีสินธุธารา, สุพรรณภาชน์, เครื่องบูชา, อัฐบริขาร, อัสสบริสการ, นครสุโขทัย, นครหริภุญชัย, กุมกาม, เชียงใหม่ , มหาไพชยนต์ปราสาท, พุทธศาสนา, พระพีหาร, พระวิหาร, พระพิหาร, กุฏิ, กุฎี, สถานอาวาส, ปราสาท, สำนักพระมหาเถร, พระธาตุวันลุน, การทำบุญทำทาน, บวช, การสรงพระธาตุ, การบูชาพระธาตุ, ปารประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อ, พระเศลาจารึก, พระศรีรัตนตรัย, ศีลาจารบุญสมภาร, อรรถธรรม, จตุราบายนรก, สวรรค์, จำศีล, เพียรภาวนา, ปีระกา, เดือนเจียง, วันศุกร์, เดือนยี่, ออกสามค่ำ, วันกาบเส็ด, วันไทย, วันเม็ง, เดือนสาม, แรมสี่ค่ำ, ปีจอ, เดือนหก, วันพฤหัสบดี, ทาน, พระพุทธรูปยืน, บุรนรรพสุ, จิตรฤกษ์, บุญ, ธรรม, เดือนเจียง, ลัคนา, มหามงคล, บัลลังก์, บุรนรรพสุ, ปาฏิหาริย์, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1913, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้ากือนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระยืน ลำพูน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ล้านนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์หริภุญไชยนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, บุคคล-พระสุมนมหาเถร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดพระยืน ตำบลเวียงยอง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศักราช 1913

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/188?lang=th

33

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3)

ขอมสุโขทัย

พระมหาธรรมราชาที่ 3 กษัตริย์ผู้ครองเมืองสุโขทัย ทรงมีพระบรมราชโองการในที่ประชุมฯ ให้สถาปนาพระบรมครูติโลกดิลกฯ สังฆราชา มหาสามีเจ้า ขึ้นเป็น “สังฆปรินายกสิทธิ” มีอำนาจสิทธิ์ขาดในคณะอรัญวาสี และได้กล่าวถึงการแต่งตั้งพระมงคลวิลาสมหาเถร เป็นเจ้าอาวาสในวัดกัลยาณวนาราม จึงได้มีวิวาทาธิกรณ์เกิดขึ้น ด้วยเหตุนี้ พระมหาธรรมราชาที่ 3 เจ้าเมืองสุโขทัย จึงมีพระราชโองการในที่ประชุมพร้อมด้วยพระราชมารดา หมู่เสนาอำมาตย์ราชบัณฑิตและภิกษุสงฆ์ทั้งหลายทรงตั้งพระบรมครูสังฆราช คือตัวท่านให้เป็นสังฆปรินายกทั้งพระราชทานอำนาจสิทธิ์ขาด ที่จะระงับอธิกรณ์ต่างๆ ได้เองในคณะอรัญวาสี ด้วยได้รับราชอำนาจดังกล่าวมา พระบรมครูจึงได้ตั้งพระมงคลวิลาสมหาเถรเป็นเจ้าอาวาสในวัดกัลยาณวนาราม อีกครั้งหนึ่งได้โดยเรียบร้อย

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3), จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3), สท. 8, สท. 8, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3) จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3) จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 3 พุทธศักราช 1949, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 3 พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1931, พุทธศักราช 1931, จ.ศ. 750, จุลศักราช 750, พ.ศ. 1931, พุทธศักราช 1931, จ.ศ. 750, จุลศักราช 750, หินทราย, รูปใบเสมาล ฐานพระเจดีย์, วัดบวรนิเวศฯ กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, ตัณหังกรมหาเถร, เวสสภูมหาเถร, มงคลวิลาสมหาเถร, สารีบุตรมหาเถร, พุทธวังศมหาเถร, มหาธรรมราชาธิราชผู้หลาน, ศรีธรรมราชมารดา, ปู่พระยา, นักปราชญ์, นายสวรปรัชญา, บาธรรมไตรโลก, ราชามาตย์, ขุนสุคนธรสราชมนตรี, นายเพนีพมูยราชศาสตร์, สงฆ์, สังฆราชญาณรุจีมหาเถร, ไตรปิฎกมหาเถร, พุทธวังศเถร, มหาอาริพงศเถร, บาญาณคันธิก, บาสวรเทพ, บาราหุล, บาญาณวิลาส, ธมรังสีมหาเถร, สุโพธานันทมหาเถร, ภิกษุบริษัท, สุมงคลมหาเถร, เขมมงคลมหาเถร, ธรรมโฆสมหาเถร, ญาณคัมภีร์มหาเถร, สมณเทพมหาเถร, พุทธวิลาสมหาเถร, สุริยามหาเถร, รามรังสีมหาเถร, ธรรมเสนาบดีมหาเถร, ปัญญาธิกมหาเถร, สุพรรณสยามมหาเถร, อานนทมหาเถร, อรรคญาณมหาเถร, ธรรมกิตติเถร, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคันธวนวาสีธรรมกิตติสังฆราชามหาสวามีเจ้า, บา, ขุน, สังฆราช, สังฆปรินายก, สงฆ์, มหาธรรมราชาธิราช, ศรีราชมาดา, ภิกษุ, กัลยาณวนาวาส, สวรรคารามบรรพต, ทะเลฉาง, พระพิหารสีมากระลาอุโบสถ, พระวิหารสีมากระลาอุโบสถ, เสมา, อรัญญวาสี, ปีจอ, สุขบริโภค, อธิกรณ์, คามวาสี, พระพุทธรูป, เดือนอ้าย, วันอาทิตย์, ประถมยาม, อายุ-จารึก พ.ศ. 1949, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระมงคลวิลาสมหาเถร, บุคคล-พระมหาธรรมราช, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1949

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/210?lang=th

34

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 2)

ขอมสุโขทัย

พระมหาธรรมราชาผู้ปู่ (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ให้อาราธนาพระมหาสมณเถระ มาที่วัดป่าแดง และได้กล่าวถึงการบูชาพระมหาธาตุ การเข้าอยู่จำพรรษาในวัดป่าแดง การไปเมืองเหนือของพระมหาสมณเถระ เมื่อ จ.ศ. 731 (พ.ศ. 1912)

จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2, จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2, สท. 7, สท. 7, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 พุทธศักราช 1949, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, จ.ศ. 724, จุลศักราช 724, จ.ศ. 724, จุลศักราช 724, พ.ศ. 1906, พุทธศักราช 1906, พ.ศ. 1906, พุทธศักราช 1906, จ.ศ. 725, จุลศักราช 725, จ.ศ. 725, จุลศักราช 725, พ.ศ. 1907, พุทธศักราช 1907, พ.ศ. 1907, พุทธศักราช 1907, จ.ศ. 726, จุลศักราช 726, จ.ศ. 726, จุลศักราช 726, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, จ.ศ. 731, จุลศักราช 731, จ.ศ. 731, จุลศักราช 731, หินทราย, แผ่นรูปใบเสมา, ฐานพระเจดีย์, วัดบวรนิเวศฯ กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระมหาธรรมราชาผู้ปู่, พระมหาธรรมราชา ที่ 1, พระมหาธรรมราชาที่ 1, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระยาลือไทย, พระเจ้าลือไทย, มหาสมณเถร, พล, พระพุทธเจ้า, เจ้ากู, วัดป่าแดง, เมืองสุโขทัย, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, อาวาสสุมม่วง, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, ปีขาล, ปีเถาะ, ปีมะโรง, ปีมะเส็ง, ปีระกา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1912, อายุ-จารึก พ.ศ. 1949, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระมหาสมณเถระ, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1949

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/208?lang=th

35

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 1)

ขอมสุโขทัย

เมื่อ จ.ศ. 705 (พ.ศ. 1886) ครั้งท่านยังเป็นศิษย์พระพระมหากัลยาณเถระ เจ้าอาวาสวัดป่าแดง จนเมื่อ จ.ศ. 723 พระมหากัลยาณเถระอาพาธหนัก และทราบว่าจะต้องถึงมรณภาพแน่นอน จึงให้ภิกษุสงฆ์มาประชุมกันและถามที่ประชุมว่าจะเห็นพระเถระรูปใดที่สมควรจะรับตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าแดงแทนได้ ที่ประชุมได้อุปโลกตัวท่านให้เป็นเจ้าอาวาสแทน และเวลาที่พระธรรมราชาที่ 1 เจ้าเมืองสุโขทัย ได้เสด็จมากระทำสักการะบูชาพระศพพระมหากัลยาณเถระ ก็ได้ทรงตั้งให้ท่านเป็นเจ้าอาวาสในวัดป่าแดงอีก และให้เป็นเจ้าคณะในอรัญญวาสีด้วย นอกจากนี้ในปี จ.ศ. 721-722 (พ.ศ. 1902-1903) พระธรรมราชาที่ 1 ทรงนำพลไปเมืองแพร่

จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1, จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1, สท. 6, สท. 6, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 พุทธศักราช 1949, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1886, พุทธศักราช 1886, พ.ศ. 1886, พุทธศักราช 1886, จ.ศ. 705, จุลศักราช 705, จ.ศ. 705, จุลศักราช 705, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, จ.ศ. 719, จุลศักราช 719, จ.ศ. 719, จุลศักราช 719, พ.ศ. 1902, พุทธศักราช 1902, พ.ศ. 1902, พุทธศักราช 1902, จ.ศ. 721, จุลศักราช 721, จ.ศ. 721, จุลศักราช 721, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, จ.ศ. 723, จุลศักราช 723, จ.ศ. 723, จุลศักราช 723, หินทราย, แผ่นรูปใบเสมา, ฐานพระเจดีย์, วัดบวรนิเวศฯ กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระมหาธรรมราชาผู้ปู่, พระมหาธรรมราชา ที่ 1, พระมหาธรรมราชาที่ 1, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระยาลือไทย, พระเจ้าลือไทย, พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า พระสังฆปรินายก, พระมหากัลยาณเถระ, ภิกษุสงฆ์, ชีผ้าขาว, พระมหาเถร, มหาสมณเถร, พล, พระพุทธเจ้า, เจ้ากู, ผ้าสังฆาฏิ, เมืองศรีสัชนาลัย, เมืองแพร่, วัดป่าแดง, สุโขทัย, เมืองแพล, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, กุฎี, อาวาสสุมม่วง, กุฏิ, วัด, ป่าแดง, วัดป่าแดง, อาวาสธรรมารมณ์, อุปสมบท, บวช, สังสการ, คามวาสี, อรัญญวาสี, ปีมะแม, ปีระกา, ปีกุน, ปีฉลู, ปีขาล, ปีเถาะ, เดือนหกออก, วันอังคาร, พุทธฎีกา, พยาธิ, ศพ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1886, อายุ-จารึก พ.ศ. 1949, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระยางั่วนำถม, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระมหากัลยาณเถระ, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1949

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/206?lang=th

36

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 2

ไทยสุโขทัย

จารึกด้านที่ 1 กับด้านที่ 3 ชำรุด อ่านจับใจความไม่ได้ ส่วนด้านที่ 2 กับด้านที่ 4 นั้นพออ่านได้บ้าง ข้อความที่จารึก ได้กล่าวถึงพระมหาธรรมราชาที่ 1 ทรงสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ในป่ามะม่วง และทรงผนวช

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 2, จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 2, สท. 5, สท. 5, หลักที่ 7 จารึกวัดป่ามะม่วง อักษรไทย ภาษาไทย หลักที่ 2, หลักที่ 7 จารึกวัดป่ามะม่วง อักษรไทย ภาษาไทย หลักที่ 2, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 2 พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 2 พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, หินทรายแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ป่ามะม่วง, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระกัสสป, พระยาศรีสุริยพงศ์ธรรมราชาธิราช, พระยานาพดาล, ขสิณาสรพ, พระขีณาสพ, พระอารยกัสสป, พระเป็นเจ้า, ขุนมัลลราช, สงฆ์, สังฆราชา, มหาสมณลังกาทวีป, พระยาศรีสุริยพงศ์ธรรมราชาธิราช, พระยามหาธรรมราชาธิราช, พระพุทธเจ้า, โลงทอง, กุสินารนคร, ลังกาทวีป, ป่ามะม่วง, แผ่นดินป่าม่วง, พุทธศาสนา, กุฎีวิหาร, กุฏิวิหาร, เสมา, สีมากระลาอุโบสถ, บวช, การประดิษฐานสีมา, พระนิพพาน, พระไตรปิฎก, นรก, ศักราชปีฉลู, หนไทย, ปีรวงเป้า, ปีเถาะ, กัดเม้า, อมริดถสัญญา, อริฏฐสัญญา, มรณสัญญา, ธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1904, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1904

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/196?lang=th

37

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 1

ไทยสุโขทัย

คำจารึกภาษาเขมร กับคำจารึกภาษาไทยผิดกันบ้างเล็กน้อย ยกเป็นตัวอย่าง คำจารึกภาษาไทยไม่กล่าวถึง เรื่องพรญาฦาไทยเสด็จไปปราบจลาจลในเมืองสุโขทัย เมื่อ ม.ศ. 1269 และไม่กล่าวถึงเรื่องประดิษฐานรูปพระอิศวร พระนารายณ์ ในหอเทวาลัยป่ามะม่วง ส่วนเรื่องพระยารามราช คือ พ่อขุนรามคำแหง ได้ปลูกต้นมะม่วงมีแต่ในจารึกภาษาไทย ในคำเขมรไม่มี นอกจากนั้นคำจารึกทั้งสอง มีเนื้อความอย่างเดียวกันทุกๆ ประการ

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 1, อย. 1, อย. 1, (อย./1), (อย./1), หลักที่ 5 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง จังหวัดสุโขทัย ภาษาไทย อักษรไทย, หลักที่ 5 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง จังหวัดสุโขทัย ภาษาไทย อักษรไทย, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 1 พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 1 พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, วัดใหม่, ปราสาททอง, อำเภอนครหลวง, จังหวัดนครศรีอยุธยา, ไทย, สุโขทัย, พระพิษณุกรรม, พระยารามราช, พระยาลือไทย, พระยาศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระพิษณุกรรม, มหาสังฆราช, ท้าว, ไพร่ฟ้าข้าไท, ข้าเสิก, ข้าศึก, พระพุทธเจ้า, มหาสามีสังฆราช, ลูกเจ้าลูกขุน, เถรานุเถระ, ภิกษุสงฆ์, สามเณร, ดาบส, พระธรรมราชาที่ 1, พระธรรมราชที่ 1, พระศรีมหาโพธิ, มะม่วง, ไม้ม่วง, ปลา, มกุฏ, ขันศรีเศวตฉัตร, ดอกไม้, ไต้, เทียน, ผ้าบัญจรงค์, ผ้าเบญจรงค์, ทอง, เงิน, เบี้ยสิบล้าน, เบี้ย, หมาก, ผ้าจีวร, บาตร, หมอนนั่ง, หมอนนอน, ฟูก, พูก, ข้าว, กระยาทาน, เครื่องกระยา, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, เมืองศรีสัชนาลัย, นครพัน, ลังกาทวีป, เมืองฉอด, เมืองสุโขทัย, ป่าม่วง, เมืองฟ้า, พุทธศาสนา, สถูปเจดีย์, กุฎี, กุฏิพิหาร, กุฏิวิหาร, พระสัมฤทธิ์, พระศรีรัตนมหาธาตุ, พระพุทธรูปทอง, ราชมนเทียร, ราชมณเทียร, ปลูกไม้ม่วง, ปลูกมะม่วง, อภิเษก, ทำบุญ, ก่อสถูปเจดีย์, ปลูกพระศรีมหาโพธิ, ทำมหาทาน, ทำทาน, ฉลองพระพุทธรูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, ฉลองสดับธรรม, บวช, สมาทานศีล, พระไตรปิฎก, พระปิฎกไตร, กฎหมาย, หัวนอน, ตีนนอน, ยัดยัญ, ทศพิธราชธรรม, สิน, สงสาร, สังสาร, บุญ, ธรรม, ปีฉลู, ศีลาจาร, กษิณาศรพ, พระขีณาสพ, พีดาน, พิดาน, เพดาน, ตะวัน, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระพุทธรูปสำริด, พระสัมฤทธิ์, พระสำริด, ร้อย, วันพุธวาร, หนไท, รวงเป้า, ปุนัพสุนักษัตร, นิพพาน, พระพุทธรูปทอง, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1904, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกมะม่วง, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-16, ไฟล์; ST_002f1 และ ST_002f3)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1904

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/130?lang=th

38

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร)

ขอมสุโขทัย

ความในจารึกเป็นคำยอพระเกียรติของพญาฦาไทย (พระธรรมราชาที่ 1) ทั้งเพื่อจะให้เป็นที่ระลึก การที่พระองค์ทรงอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากลังการูปหนึ่ง มาที่เมืองสุโขทัยเมื่อ มหาศักราช 1283 (พ.ศ. 1905) และการซึ่งพระองค์ได้ทรงพระราชศรัทธา ออกทรงผนวช ข้อความนี้จะได้เรียบเรียงและจารึกลงในศิลา ในปีเดียวกับปีที่มีงานสมโภชนั้นๆ หรือจะได้จารึกต่อมาภายหลัง ก็ไม่สามารถจะทราบได้ เพราะด้านที่ 3 ของศิลานั้นได้ลบเลือนไปเสียแทบสิ้นแล้ว ด้านที่ 1 ในตอนต้นกล่าวถึงเรื่องพญาฦาไทยเสด็จออกจากเมืองศรีสัชนาลัย ไปปราบจลาจลในเมืองสุโขทัย เมื่อ ม.ศ. 1269 (พ.ศ. 1890) ที่เกิดจลาจลนั้นเห็นจะเป็นด้วยเหตุ พญาเลอไทย พระชนกพึ่งสิ้นพระชนม์ครั้งนั้น เมื่อได้เมืองแล้ว พญาฦาไทยได้ทำพระราชพิธีราชาภิเษกในกรุงสุโขทัย ตอนที่ 2 เป็นคำยอพระเกียรติของพญาฦาไทยธรรมราชา ตอนนี้ชำรุดเสียหายมาก แต่สันนิษฐานได้บ้าง เพราะในศิลาจารึกภาษาไทย (หลักที่ 5) มีเนื้อความอย่างเดียวกัน ข้างสุดท้ายด้านที่ 1 กล่าวถึงเรื่องประดิษฐานรูปพระอิศวร พระนารายณ์ พระ (คเณศ) ในเทวาลัยมหาเกษตรที่ป่ามะม่วง ด้านที่ 2 ตอนต้นเป็นคำสรรเสริญพระปัญญาของพญาฦาไทยทรงรู้ศิลปานุศิลทั้งปวง และได้แก้ไขศักราช ตอนที่ 2 กล่าวถึงงานรับพระมหาสามีสังฆราช และการซึ่งพญาฦาไทยได้ทรงผนวช ด้านที่ 3 ชำรุดเหลือที่จะอ่านได้ ด้านที่ 4 เป็นข้อความตักเตือนสัตบุรุษ ให้รีบเร่งทำบุญกุศล และข้างสุดท้ายกล่าวถึงคาถา ซึ่งพระมหาสามีสังฆราชได้จารึกไว้ในป่ามะม่วง (คือหลักที่ 6)

หลักที่ 4 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษาเขมร, หลักที่ 4 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษาเขมร, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร พุทธศักราช 1904, สท. 3, สท. 3, สท./3, สท./3 , พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, พ.ศ. 1283, พุทธศักราช 1283, พ.ศ. 1890, พุทธศักราช 1890, พ.ศ. 1890, พุทธศักราช 1890, ม.ศ. 1269, มหาศักราช 1269, พ.ศ. 1269, พุทธศักราช 1269, หินแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, ปราสาทเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระอิศวร, พระมเหศวร, พระวิษณุ, พระวิษณุกรรม, พระพิษณุกรรม, พระบาทกมรเดงอัญฦาไทยราช, พระบาทกมรเตงอัญฦาไทยราช, พระบาทกัมรเดงอัญฦาไทยราช, พระบาทกัมรเตงอัญฦาไทยราช, พระบาทกมรเดงอัญศรีรามราช, พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช, พระบาทกัมรเดงอัญศรีรามราช, พระบาทกัมรเตงอัญศรีรามราช, พ่อขุนรามคำแหง, พลพยุหเสนา, พลโยธา, ไพร่พล, พญาฦๅไทย, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระธรรมราชาที่ 1, พระธรรมราชาที่ 1, พระมหาสามี, สังฆราช, สัตรู, ศัตรู, พระบิดา, พระอัยกา, กษัตริย์, พระบาทกมรเดงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกัมรเดงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกัมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, สมณะ, พราหมณ์, ดาบส, นักพรต พระมหาเถร, พระภิกษุสงฆ์, พระมหาสามีสังฆราช, พระพุทธเจ้า, โลกาจารย์กฤตยา, สมเด็จบพิตร, ราชบัณฑิต, นายช่าง, พระเถรานุเถร, สามเณร, ประชาชน, กัลปพฤกษ์, นาคราช, หมาก, ดอกไม้, มกุฏ, มงกุฎ, พระขรรค์ชัยศรี, เศวตฉัตร, ข้าวตอก, เทียน, ธูป, พวงดอกไม้, ผ้าเบญจรงค์, ทอง, เงิน, เบี้ย, จีวร 4, หมอนนอน, หมอนนั่ง, เสื่อ, กระยาทาน, บริขาร, พระแสงอาญาสิทธิ์, เมืองศรีสัชนาลัย, พระวิสัย, เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, ป่ามะม่วง, ลังกาทวีป, นครพัน, เมืองฉอด, เมืองเชียงทอง, เมืองบางจันทร์, เมืองบางพาน, เมืองบางพาร, ทางหลวง, พระราชมรรคา, ทางสวรรค์, พระราชมณเทียร, ปราสาทราชมณเทียรทอง, ปราสาททอง, พุทธศาสนา, พราหมณ์, ฮินดู, ถนน, พระเจดีย์, รูปพระอิศวร, รูปพระวิษณุ, หอเทวาลัยมหาเกษตร, พระพุทธรูปสำริด,พระมหาธาตุ, พระพุทธรูปทอง, พระราชมนเทียร, ศิลาจารึก, กฏิวิหาร, พัทธสีมา, อภิเษก, การประดิษฐานเทวรูป, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การบูชา, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, พระพรรษา, การทำทาน, การทำมหาทาน, การฉลองพระพุทธรูป, ฟังธรรม, การสมาทานศีล, การบวช, การจารศิลาจารึก, พระไตรปิฎก, ชั่ง, ล้าน, กระแส, บาดพจุะ, ปีกุน, วันศุกร์, พระบัณฑูร, ประตู, ไอสูรยาธิปัตย์, สังสารทุกข์, ปีฉลู, ปุรวาษาฒนักษัตรฤกษ์, เพดาน, ไตรมาส, พระพุทธรูปสำริด, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระวินัย, พระอภิธรรม, เพทศาสตราคม, ความยุติธรรม, โชยติศาสตร์, ดาราศาสตร์, ปี, เดือน, สุริยคราส, จันทรคราส, อธิกมาส, วันวาร, ปฏิทิน, พระกรณียกิจ, ราชสมบัติ, ศีล, ศิลาจาร, พระขีณาสพล ทราย, วันเพ็ญ, พระราชทรัพย์, วันพุธ, ปุนัสสุฤกษ์, ดาบสเพศ, พระเนตรพระพุทธรูปทอง, จักรพรรดิสมบัติ, อินทรสมบัติ, พรหมสมบัติ, ไตรสรณาคมณ์, แผ่นดินไหว, มหัศจรรย์, บุญ, บาป, พระคาถา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1890, อายุ-จารึก พ.ศ.1904, อายุ-จารึก พ.ศ.1905, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พญาเลอไทย, บุคคล-พระมหากัลยาณเถระ, บุคคล-พญาฦาไทย, บุคคล-พระธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พญาเลอไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1904

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1329?lang=th

39

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาบาลี)

ขอมสุโขทัย

ด้าน 1 เรื่องพญาฦๅไทย (พระมหาธรรมราชาที่ 1) เสด็จออกบรรพชา เมื่อวันพุธ แรม 8 ค่ำเดือน 12 พ.ศ. 1905 ด้าน 3 เป็นคำสรรเสริญและยอพระเกียรติคุณพญาฦๅไทย

จารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาบาลี, สท. 4, สท. 4, หลักที่ 6 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษามคธ, หลักที่ 6 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษามคธ, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาบาลี พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาบาลี พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, หินแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, วัดป่ามะม่วง, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระอินทร์, พระพรหม, พญาฦๅไทย, พระธรรมราชาพระมหาธรรมราชาที่ 1, พระมหาธรรมราชาที่ 1, พระเวสสันดร, พระมโหสถ, พระสีลวราช, พระราชา, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระราชบิดา, เจ้านาย, อำมาตย์, ชาวเมือง, นางสนมกำนัลใน, นางสนมกำนันใน, พระสหาย, พระประยูรญาติ, พระโพธิสัตว์, พระมหาเถระ, สาธุชน, พระอเลขบุคคล, มุนี, พระเจ้าปัลลวะ, ปัลลวราช, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระศรีอริยเมตไตรย, พระพุทธเจ้า, พระอนุพุทธเจ้า, พระปัจจเจกพทธเจ้า, พระสาวกพุทธเจ้า, นักบวช, พระเจ้าจักรพรรดิ, นก, ครุฑ, นาค, ผ้ากาสาวพัสตร์, เครื่องบูชา, มุกดา, เงินยวง, พระกระยาหาร, สุธารส, ดอกบัว, จักรรัตนะ, ป่ามะม่วง, ราชมณเทียร, นันทนอุทยาน, พุทธศาสนา, ปรินิพพาน, วันพุธ, ทานบารมี, ปัญญาบารมี, ศีลบารมี, โหราศาสตร์, พยากรณ์, พระไตรปิฎก, โลกล ราชสมบัติ, เนกขัมมบารมี, จริยวัตร, พระธรณี, แผ่นดินไหว, ปาฏิหาริย์, อินทรีย์, ทรายสีขาว, ซากศพ, มรรค, กุศลธรรม, ปัญญา, บารมี, อมฤต, เทวดา, นางฟ้า, อายุ-จารึก พ.ศ. 1904, อายุ-จารึก พ.ศ. 1905, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พญาฦาไทย, บุคคล-พระมหาสามีสังฆราช, บุคคล-พญาฦาไทย, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1904

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/191?lang=th

40

จารึกวัดบูรพาราม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 ว่าด้วยพระราชประวัติพระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย นับแต่การประสูติ จบการศึกษาศิลปศาสตร์ การเสวยราชย์ การปราบดาภิเษก การขยายพระราชอาณาเขตไปยังทิศานุทิศ มีเมืองฉอด เมืองพัล ลุมบาจาย ยโสธร นครไทย เชียงดง เชียงทอง เป็นต้น จากนั้นกล่าวถึงสมเด็จมหาธรรมราชาธิราช เสด็จออกทรงผนวช และเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1951 นอกจากพระราชประวัติ ยังได้กล่าวถึงสายสัมพันธ์ราชสกุลแห่งพระราชวงศ์ การประดิษฐานพระมหาธาตุใน “บูรพาราม” การสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา ท้ายของด้านที่ 1 นี้กล่าวถึง สมเด็จพระราชเทวีเจ้าทรงกัลปนาอุทิศบุณยโกฏฐาส เพื่อทรงอุทิศส่วนพระราชกุศล ถวายแด่สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช สมเด็จพระศรีธรรมราชมาตาพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ มีสมเด็จปู่พระยา พ่อออก แม่ออก เป็นต้น ส่วนข้อความจารึกด้านที่ 2 กล่าวถึงพระเทวีสังฆมารดาและพระเทวี ร่วมกันบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวถึงพระราชประวัติพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงประสูติจากพระครรภ์พระศรีธรรมราชมารดา พระอัครมเหสีของ “สิริราชา” เมื่อเดือน 8 ศักราช 730 (พ.ศ. 1900)

หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, สท. 59, สท. 59, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, พุทธศักราช 730, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, จ.ศ. 758, จุลศักราช 758, จ.ศ. 758, พุทธศักราช 758, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, พุทธศักราช 770, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, พุทธศักราช 774, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, จ.ศ. 775, จุลศักราช 775, จ.ศ. 775, พุทธศักราช 775, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระศรีธรรมราชมารดา, สมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา, สมเด็จพระราชเทวีศรีจุฬาลักษณ์อัครราชมหิศีเทพยธรณีดิลกรัตนบพิตรเป็นเจ้า, สมเด็จรามราชาธิราช, ศรีธรรมาโศกราช, พระมหาอานนท์, สาธุชน, พระมุนี, พระศาสดา, พระทศพล, พระเทวีสังฆมารดา, พระเทวีศรีจุฬาลักษณ์, อัครมเหสี, พระราชบิดา, สิริราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, นางเทวนารีอัปสร, พระนางพิมพา, พระนางมหามายา, พระนางจันทิมา, พระนางสรัสวดี, พระสงฆ์, พระราชบุตร, กนิฏฐกะ, พระญาณคัมถีรเถระ, โชติปาละ, พระเถระ, พระฏิปิฎกาจารย์, เทวมงคล, พระธรรมกรรมกะ, พระอินทโฆสะ, บัณฑิต, พระปาลีติตะ, บุรุษ, สามเณร, พระภิกษุ, อุบาสก, พระสารีบุตรปิยทัสสะ, พระจันทิยยภุยยะ, พระพุทธปาลสิริวังสะรับ, ลวะ, เหมะ, พระสลิสรานันทเถระ, ประมุข, พระติโลกติลกรตนสีลคันธารวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสมณะ, พระสมณินทัสสเถระ, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, พระกันโลง, ปราชญ์, ท้าวพระยา, บาทบริจาริการัตนชายา, สมเด็จรามราชาธิราชบรมนารถบุตร, พระนุช, ศรีธรรมาโศกราช, อาจารย์, อินทรโฆรสราชบัณฑิต, รัชตะ, บาไปรียะ, พระมหาอานนท์, ปู่พระยาพ่อออก, ภัษฎราธิบดี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, ญาติ, พระยาสามนตราช, เลือง, ต้นโพธิ, มะพร้าว, มะขามป้อม, ต้นพิกุล, มะม่วง, สมอ, บุนนาค, กากะทิง, สาระภี, กอปทุม, เมล็ดถั่ว, ทองคำ, แก้วผลึก, สังข์, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ดอกพิกุล, ข้าวเปลือก, ผ้าหนังสัตว์, ภิกษา, บาตร, จีวร, ไม้เท้า, ที่นอน, ข้าวสารสาลี, กระยาทาน, เมืองฉอด, เมืองพัล, ลุมบาจาย, ยโสธร, นครไทย, เชียงดง, เชียงทอง, ปกกาว, ศรีสัชชนาลัย, กรุงสุโขทัย, รัฐกาว, รัฐชวา, เมืองพระบาง, เมืองนครไทย, เมืองเพชรบูรณ์, เมืองไตรตรึงส์, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุระ, เมืองเชียงแสน, แม่น้ำพิงค์, แม่น้ำโขง, เกาะลังกา, คู, กำแพง, สะพาน, เกาะสิงหล, แดนพัล, สาย, ริด, เมืองสุโขทัย, ท่งไชย, ทุ่งไชย, ฝั่งของ, ฝั่งโขง, เมืองพัน, ทุ่งชัย, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, ปุพพาราม, ห้องพระธาตุ, พระเจดีย์, พระวิหาร, พระพิหาร, พระอุโบสถ, อาราม, บูรพาราม, พระมหามณฑปเจดีย์, คันธวนวาส, พระพุทธเจดีย์, วัดอโสการาม, วัดศีลวิสุทธาวาส, การอภิเษก, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, สร้างศาลา, สถาปนาพระเถระ, บวช, ผนวช, บรรพชา, อุปสมบท, บำเพ็ญมหาทาน, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, กัลปนา, สัตว์โลก, ทศพลญาณ, ธรรม, อนันตญาณ, มาร, เสนามาร, โอฆะสงสาร, สรรพัญญุตญาณ, นรก, คนธชาติ, ราคะ, ศิลป, ธุรบัญญัติ, ทุกข์, ภพ, สุข, ธรรมนาวา, โมหะ, พระพุทธพจน์, พุทธธรรม, ศีล, ปัญญา, กุศลกรรมบท 10, กุศลกรรมบท 10, บุญ, ทักขิไณยบุคคล, พระรัตนตรัย, รัชสมบัติ, ทิศอุดร, ทิศอิสาน, ทิศทักษิณ, ทิศบูรพา, ทิศอาคเนย์, ทิศพายัพ, ปีฉลู, ปีมะโรง, มะโรงนักษัตร, วันพฤหัสบดี, ศีล, ยศ, ขัตติยา, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระธาตุ, ปาฏิหาริย์, พระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, ที่นา, ทรัพย์, สมาธิ, ปัญญา, กุศล, วอกนักษัตร, ปีวอก, อาษาฒมาส, กลาศาสตร์, มูรฒรณรงค์, ฉลูนักษัตร, ปีฉลู, ราชสมบัติ, ออกใหม่, ปัญจพิธ, กัลญาณี, ญาณคัมถีร์, ศีลวัตร์, กรรม, กรยาการ, โกฏฐาส, พระราชกุศล, กระยาการ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7 : ประมวลจารึกที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, 2) ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2566

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 ตุลาคม 2566)

พุทธศตวรรษ 20

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/254?lang=th

41

จารึกวัดตาเถรขึงหนัง

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึกในส่วนภาษาบาลี เป็นคำกล่าวนมัสการพระรัตนตรัย และคำไหว้อาจารย์ ส่วนจารึกภาษาไทย ได้กล่าวถึงสมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา และสมเด็จมหาธรรมราชาธิบดี ราชโอรส ขึ้นเสวยราชย์ในนครศรีสัชนาลัยสุโขทัย ตลอดถึงการอาราธนาสมเด็จพระมหาศรีกิรติ จากพชรบุรีศรีกำแพงเพชร มาสร้าง “ศรีพิจิตรกิรติกัลยาราม” และสมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา ปลูกพระศรีมหาโพธิ

จารึกวัดตาเถรขึงหนัง, สท. 16, สท. 16, หลักที่ 8 ค, หลักที่ 8 ค, หลักที่ 46 ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง, หลักที่ 46 ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง, ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง พุทธศักราช 1947, ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง พุทธศักราช 1947, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, พ.ศ. 1943, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, พุทธศักราช 1943, จ.ศ. 762, จุลศักราช 762, พ.ศ. 1943, พุทธศักราช 1943, จ.ศ. 762, จุลศักราช 762, พ.ศ. 1946, พุทธศักราช 1946, จ.ศ. 765, จุลศักราช 765, พ.ศ. 1946, พุทธศักราช 1946, จ.ศ. 765, จุลศักราช 765 , หินชนวน , แผ่นรูปใบเสมา จารึกวัดตาเถรขึงหนัง วัดตาเถรขึงหนัง, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, วัดศรีพิจิตรกิรติกัลยาราม, ไทย, สุโขทัย , พระพุทธเจ้า, พระสงฆ์, อาจารย์, ศัตรู, สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดามหาดิลกรัตนราชนาถกรรโลง, สมเด็จมหาธรรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, กษัตริย์, สมเด็จพระมหาศรีกิรติ, สมเด็จแม่, เจ้าเหง้าพุทธางกูรพันลอก, อริยะ, เจ้ามหาสัปปุรุษ, แม่ออก, พระศรีมหาโพธิ, พระพฤกษาธิบดีศรีมหาโพธิ, นครศรีสัชนาลัยสุโขทัย, พชรบุรีศรีกำแพงเพชร, พระบาง, หนอง, ห้วย, แพร่, พุทธศาสนา, ศรีพิจิตรกิรติกัลยาราม, พระราชสีมา, พระอาวาสอาสน์, ศักราช 762, นาคนักษัตร, ปีมะโรง, ศักราช 765, ปีมะแม, เดือนอ้าย, แปดค่ำ, วันพฤหัสบดี, ศักราช 766, มักกฏนักษัตร, ปีวอก, พระธรรม, พระรัตนตรัย, พระชาณุยุคล, นาคนักษัตร, ปีมะโรง, มหามไหสวริยอัครราช, ปีมะแม, เดือนอ้าย, ออกใหม่, วันพฤหัสบดีศรีทินพารกาล, อายุ-จารึก พ.ศ.1947, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, บุคคล-สมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิบดี, บุคคล-สมเด็จพระมหาศรีกีรติ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1947

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/121?lang=th

42

จารึกวัดตะพาน

ไทยอยุธยา

เจ้าเมืองทองและครอบครัวร่วมกันสร้างพระวิหาร โดยอาราธนาเจ้าเถรเทพเมาลีและพระสงฆ์ มาชุมนุมพระศรีรัตนมหาธาตุ มีการเชิญพระพุทธรูปสู่คูหาแก้วและถวายที่ดินแก่วัด ตอนท้ายอธิษฐานขอให้ได้พบพระศรีอาริย์ และฝากวัดแห่งนี้ไว้กับผู้ครองเมืองคนต่อไป

จารึกวัดตะพาน, สฎ. 5, สฎ. 5, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, จารึกวัดแวง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, หินทรายสีแดง, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, วัดตะพาน, อำเภอไชยา, จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไทย, อยุธยา, เจ้าเมืองทอง, แม่เจ้าคำศรี, เจ้าแม่ท้าวสร้อยทอง, เจ้าเถรเทพเมาลี, ขุนเลา, พระสงฆ์, ชาวเจ้า, เจ้าศรัทธาธิก, พ่อผู้เฒ่า, องค์นางเมืองผู้เฒ่า, ลูกเจ้า, ขุน, อุบาสก, อุบาสิกา, ท่านเจ้าเมือง, ขุนเลา, พระยาเจ้า, เจ้าท้าว, ท้าวเหม, ขุนน้อย, พ่อแม่ญาติกา, สรรเพชญ, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารยเมตไตรย์, เงิน, ดอกไม้, พุทธศาสนา, พระพิหาร, พระวิหาร, วัดแวง, พระคูหาแก้ว, ฉลองบุญธรรม, พระพุทธรูป, บุญ, จังหัน, ไศวรรย์สมบัติ, ไอศวรรย์สมบัติ, วันพุธ, พระศรีรัตนธาตุ, นา, สิ่งสิน, ชั่ง, กุศลผลบุญ, จำศีลภาวนา, พระราชสมบัติ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-เจ้าเมืองทอง, บุคคล-เจ้าเถรเทพเมาลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1935-1970

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/658?lang=th

43

จารึกวัดช้างล้อม

ไทยสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึก ได้กล่าวถึงพนมไสดำออกบวชในสุมม่วง การประดิษฐานพระพุทธปฎิมา การสร้างหอพระปิฎกธรรม การปลูกพระศรีมหาโพธิ ตลอดจนการบำเพ็ญกุศล และการสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา

จารึกวัดช้างล้อม, สท. 18, สท. 18, หลักที่ 106 ศิลาจารึกวัดช้างล้อม, หลักที่ 106 ศิลาจารึกวัดช้างล้อม, คำอ่านศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดช้างล้อม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดช้างล้อม พุทธศักราช 1927, ศิลาจารึกวัดช้างล้อม พุทธศักราช 1927, พ.ศ. 1927, พุทธศักราช 1927, พ.ศ. 1927, พุทธศักราช 1927, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดช้างล้อม, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, ไทย, สุโขทัย, พนมไสดำ, มหาสังฆราชาสุกลุม, สมเด็จมหาธรรมราชา, มหาเถรพุทธสาคร, มหาเถรอนุราธ, พระยาศรีเทพาหูราช, ข้าพระ, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ภิกษุ, เถรานุเถระ, เจ้าไทย, ไพร่ฟ้า, มหาเทวี, ชี, เจ้าพรมไชย, เถรเทพเมาลี, ท้าวพระยา, สาธุสัตบุรุษ, พระศรีมหาโพธิ์, วัว, โคสิ่ง, ลวดเงิน, สาด, ผม, ผลึกรัตนแก้วเขียว, พันลุ, พลุ, ลูกพันลับ, ลูกพลับ, ลูกมะพลับ, ลูกพุทธรักษา, สร้อยทอง, ผ้าสนับเชิงอาธาร, พัดสวดธรรม, จรามขัน, ฟูก, หมอน, บังงา, ประทีป, ตีนเทียน, ประธูป, กระดิ่ง, ไหดิน, ดอกไม้, เต้าปูน, สลง, พาทย์, ฆ้อง, กลอง ,แตร, สังข์, เขาควาย, ทอง, เงิน, จีวร, สลกบาตร, บาตร, ผ้านบพระ, ตะไล, แว่น, ชามลาย, ชามเล็ก, ขันกินน้ำ, ขันเชิง, เบี้ย, ข้าว, เงิน, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระพุทธรูปสำริด, พระสัมฤทธิ์, พระสำริด, ธงปะฏาก, ธงเล็ก, สุมม่วง, สิงหล, รพูญ, ลำพูน, สุโขทัย, พุทธศาสนา, หอพระปิฎกธรรม, สำนัก, พระพิหาร, พระวิหาร, กุฏิชี, กุฏิพิหารสถานธรรม, กุฏิวิหารสถานธรรม, บวช, ผนวช, การประดิษฐานพระพุทธรูป, ประดิษฐ์สถาพุทธปฏิมา, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, เนียรพาน, นิพพาน, ปีชวด, พุทธพาร, วันพุธ, สงสาร, สังสารวัฏ, ไตรสรนาถ, ราชสมบัติ, บุญ, ปรโลก, ปีมะเส็ง, เทพดาสูร, เทวดาสูร, พระอภิธรรม, บวรณมี, ปุรณมี, ศีล, พระบดจีน, ศอก, พระหิน, พระศรีรัตนธาตุ, ปาฏิหาริย์, เรือน, จังหัน, ผีพ่อ, ผีแม่, ผีพี่อ้าย, ผีพี่ยี่, ผีพี่เอื้อย, ผีลูก, ผีหลาน, ผีตะไภ้, ทาน, ตำลึง, เกวียน, กุศล, ตระกูลพงศาคณาพนม, กฤดาธิการ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1927, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรอยพระพุทธบาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอพระปิฎกธรรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธประติมา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, บุคคล-พนมไสดำ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1927

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/250?lang=th

44

จารึกวัดกำแพงงาม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 กล่าวถึง เจ้าไทยออกบวชในพระพุทธศาสนา และการบูชาพระเจดีย์ธาตุและพระบาทลักษณ์ จะต้องชำระล้างร่างกายให้สะอาดเสียก่อน ด้านที่ 2 กล่าวถึง พระนิพพานและชื่อพรหมโลกชั้นต่างๆ

จารึกวัดกำแพงงาม, สท. 13, สท. 13, ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย และอักษรขอมภาษาบาลี สมัยสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดกำแพงงาม พุทธศักราช 1893, ศิลาจารึกวัดกำแพงงาม พุทธศักราช 1893, หลักที่ 291 จารึกวัดกำแพงงาม, หลักที่ 291 จารึกวัดกำแพงงาม, พ.ศ. 1955, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 1955, พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 1955, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 1955, พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, ม.ศ. 1284, มหาศักราช 1284, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, ม.ศ. 1905, มหาศักราช 1905, แผ่นหินดินดาน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดกำแพงงาม, ตำบลสวน, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลบ้านกล้วย, ไทย, สุโขทัยล อินทรา, พรหม, เจ้าไทย, กุมาร, พระพุทธเจ้า, เจ้าเถรสัทธรรมธารารัตนาจารย์, ขุนมนตรีครูบา, อรหันต์, พระปัจเจก, พุทธศาสนา, พระเจดีย์ธาตุ, บวช, พระบาทลักษณ์, ถนน, ปีขาล, อุทร, เดือนสาม, วันพุธ, มาฆนักขัตฤกษ์, ธรรมพระวิฎกตรัย, ธรรมพระปิฏกตรัย, พระไตรปิฏก, พระเจดีย์, จักรวรรดิราชสมมติ, เนียรพาน, นิพพาน, เทพดา, เทวดา, สุทสสี, สุทัสสี, สุทสสา, สุทัสสา, อตปปา, อตัปปา, อวิหา, สุทธาวาสา, อสญญีสตตา, อสัญญีสตตา, เวหปผลา, เวหัปผลา, สุพภกิณหกา, สุภกิณหากา, อปปมานสำ, อัปมานสุภา, ปริตตสุภา, ปริตตาสุภา, อาภสรา, อาภัสสรา, อปปมานาภา, อุปมานสุภา, ปริตตาภา, มหาพรหมา, พรหมปโรหิตา, พรหมปุโรหิตา, พรหมปาริสชชา, พรหมปาริสัชชา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1955-2079, อายุ-จารึก-พ.ศ. 1955, อายุ-จารึก พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, สมัย-จารึกสมัยสุโขทัย วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1955-2079

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/266?lang=th

45

จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 5

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 5, จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 5, ชม. 61, ชม. 61, พุทธศตวรรษ 20, พุทธศตวรรษ 20, โบราณสถานเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17811?lang=th

46

จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 4

ฝักขาม

จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์

จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 4, จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 4, ชม. 60, ชม. 60, พุทธศตวรรษ 20, พุทธศตวรรษ 20, โบราณสถานเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17809?lang=th

47

จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 3

ฝักขาม

จารึกชำรุด พบข้อความคล้ายชื่อบุคคลไม่ปะติดปะต่อ

จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 3, จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 3, ชม. 59, ชม. 59, พุทธศตวรรษ 20, พุทธศตวรรษ 20, โบราณสถานเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17807?lang=th

48

จารึกลานเงินเสด็จพ่อพระยาสอย

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึกด้านที่ 1 กล่าวถึงเสด็จพ่อพระยาสอยฯ และการเสวยราชย์ ด้านที่ 2 กล่าวถึงสมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลีฯ และการประดิษฐานผอบพระรัตนธาตุเจ้า น่าเสียดายปลายของลานเงินได้ชำรุดขาดหายไป ทำให้ข้อความจารึกไม่ต่อเนื่องกัน

หลักที่ 292 จารึกลานเงินเสด็จพ่อพระยาสอย, หลักที่ 292 จารึกลานเงินเสด็จพ่อพระยาสอย, จารึกสมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลี, กพ. 5, กพ. 5, เลขที่ 36/6, เลขที่ 36/6, พ.ศ. 1963, พุทธศักราช 1963, ม.ศ. 1342, มหาศักราช 1342, พ.ศ. 1963, พุทธศักราช 1963, ม.ศ. 2342, มหาศักราช 1342, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์เก่าหน้าวัดพระยืน, กำแพงเมืองเก่าด้านตะวันออก, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, สุโขทัย, เสด็จพ่อพระยาสอย, พระมหามุนีรัตนโมลีเป็นเจ้า, เงิน, ทอง, บุรีศรีกำแพงเพชร, พุทธศาสนา, ปรางค์, คูหา, การประดิษฐานพระธาตุ, ปีชวด, วันศุกร์, ไทยรวงมุต, อาษาฒออกใหม่, พุทธรักษา, ธรรมรักษา, พระสังฆรักษา, สุพรรณบัฏ, โมกษนิรพานสถาน, สงคราม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึก พ.ศ. 1963, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานผอบพระรัตนธาตุเจ้า, บุคคล-พระยาสอย, บุคคล-สมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลีฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1963

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/42?lang=th

49

จารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ

ไทยอยุธยา

ขุนศรีรัตนากรและครอบครัวได้ร่วมกันสร้างพระพิมพ์ขึ้นจำนวน 76,152 องค์ โดยถวายอานิสงส์แด่พระรามาธิบดี พระศรีราชาธิราช ญาติพี่น้อง โยมอุปัฏฐาก พระสงฆ์และนักธรรมทั้งหลายให้ไปสู่นิพพาน ส่วนตน (ขุนศรีรัตนากร) ขอไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต และได้เฝ้าพระศรีอารย์ นอกจากนี้ยังมีการแสดงความปรารถนาอีกหลายอย่าง เช่น ขอให้ฉลาดเหมือนพระมโหสถ กล้าหาญเหมือนพระราม สามารถให้ทานได้เหมือนพระเวสสันดร สามารถระลึกชาติได้ เป็นต้น และสุดท้ายขอให้ตนถึงแก่นิพพาน อนึ่ง แนวความคิดดั้งเดิมในการสร้างพระพิมพ์นั้น เกิดขึ้นในประเทศอินเดีย โดยสร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกในการไปบูชาสังเวชนียสถานทางพุทธศาสนา 4 แห่ง ได้แก่ สถานที่ประสูติ (สวนลุมพินี) ตรัสรู้ (พุทธคยา) ปฐมเทศนา (สารนาถ) และปรินิพพาน (กุสินารา) ต่อมากลายเป็นวัตถุที่คนยากจนนิยมสร้างไว้เพื่อบูชา หลังจากนั้นได้เกิดความเชื่อที่ว่าพุทธศาสนาจะเสื่อมลงในพุทธศักราช 5000 ตามคัมภีร์ของลังกา จึงได้มีการสร้างพระพิมพ์และจารึกคาถาเย ธมฺมา ซึ่งเป็นหัวใจพุทธศาสนาขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยมีการฝังพระพิมพ์ไว้ตามเจดีย์ต่างๆ หากพุทธศาสนาเสื่อมไป ไม่มีใครรู้จักหลักธรรมต่างๆ อีก เมื่อมาพบพระพิมพ์เหล่านี้ ก็อาจมีการฟื้นฟูศาสนาขึ้นใหม่ แต่ในปัจจุบันพระพิมพ์กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คนนิยมมีไว้เป็นเครื่องราง ของขลัง เพื่อป้องกันอันตรายต่างๆซึ่งต่างไปจากแนวคิดเดิม

หลักที่ 41 จารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ, หลักที่ 41 จารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ, อย. 9, อย. 9, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, กรุฐานพระปรางค์วัดมหาธาตุ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, พระกามเทพ, ขุนศรีรัตนากร, สรณ์สรรเพชญ์, สมเด็จพระพุทธเจ้า, สมเด็จพระรามาธิบดี, สมเด็จพระศรีราชาธิราช, พวกญาติ, พ่อออก, แม่ออก, พระไมตรี, พระศรีอารย์, มโหสถ, เวสสันดร, ชาวเจ้า, นักธรรม, พ่อขุน, บพิตร, พระศรีสรรเพชญ์, กษัตริย์, ท้าวมันธาตุ, ปราชญ์, พระมโหสถ์, ท้าวกิ่ง, ท้าวสุตโสม, ราม, พระเพศยันดร, มโหสถ, รชตบัตร, แผ่นเงิน, จีพร, จีวร, พุทธศาสนา, หล่อพระพิมพ์, นิรพานสถาน, นิพพานสถาน, สวรรค์, ดุสิต, พระพิมพ์, พระพุทธรูป, พระพุทธเจ้า, พระศรีสรรเพชญ์, สัปตรัตน, ทาน, ชาติสมร, สงสาร, สาธุ, ฟากฟ้า, อธิษฐาน, อรหัต, อรหันต์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ขุนศรีรัตนากร, บุคคล-พระรามาธิบดี, บุคคล-พระศรีราชาธิราช

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/648?lang=th

50

จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณิ

ไทยสุโขทัย,ธรรมล้านนา

พระมหาเถรจุฑามุณิ สร้างวิหาร ประดิษฐานพระธาตุ พระพุทธประติมา และพระอถารส

จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณิ, จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณี, สท. 52, สท. 52, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, ทองคำ, แผ่นลาน, ฐานพระประธาน, พระอุโบสถ, วัดมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระมหาเถรจุทามุณิ, เงิน, ทอง, เหียก, ดีบุก, งา, พุทธศาสนา, วิหาร, ปลูกพิหาร, ประดิษฐานพระธาตุ, ประดิษฐานพระพุทธรูป, โรงนักษัตร, ปีมะโรง, สุกราพาร, วันศุกร์, กรรดิการิกส, พระพุทธประติมา, พระอถารส, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1919, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, วัตถุ-จารึกบนแผ่นลาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธประติมา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1919

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/171?lang=th

51

จารึกรอยพระยุคลบาทวัดบวรฯ

ขอมสุโขทัย

“คำจารึกนั้นมีใจความว่า ครั้งแผ่นดินพระธรรมราชา (ที่ 2) (น่าจะเป็นพระมหาธรรมราชาที่ 3 ไสยลือไทย) พระวิทยาวงศ์มหาเถรได้นำแผ่นหินมายังเมืองสุโขทัย ครั้นมาในแผ่นดินพระธรรมราชาที่ 4 พระสิริสุเมธังกรสังฆนายก ผู้เป็นศิษย์ของพระสิริสุเมธังกรสังฆราช ได้สลักรอยพระพุทธบาททั้งคู่ลงบนแผ่นหินนั้น ตามแบบรอยพระพุทธบาทบนยอดเขาสมันตกูฏ ในลังกาทวีป เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 6 ขึ้น 4 ค่ำ พระพุทธศักราช 1970 ข้าพเจ้า (ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์) สงสัยว่า พระสิริสุเมธังกรสังฆนายก หรือพระสิริสุเมธังกรสังฆราชองค์ใดองค์หนึ่งจะเป็นองค์เดียวกันกับพระมหาเมธังกรเถร ซึ่งในหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวไว้ว่า พระมหาเมธังกรนั้นเป็นชาวเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 1966 ได้ไปถึงลังกาทวีปพร้อมด้วยภิกษุ 32 องค์ และเวลากลับมาจากลังกาแล้ว ได้ตั้งคณะสิงหลภิกาขึ้นในเมืองไทยทั่วไป”

จารึกรอยพระยุคลบาทวัดบวร ฯ, สท. 24, สท. 24, หลักที่ 12 ศิลาจารึกรอยพระพุทธบาทวัดบวร ฯ, หลักที่ 12 ศิลาจารึกรอยพระพุทธบาทวัดบวรฯ, ศิลาจารึกรอยพระพุทธบาทวัดบวรฯ พุทธศตวรรษที่ 20, ศิลาจารึกรอยพระพุทธบาทวัดบวรฯ พุทธศตวรรษที่ 20, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, หินชนวน, แผ่นสี่เหลี่ยมสลักรอยพระยุคลบาท, วัดบวรนิเวศวิหาร, จังหวัดกรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระศรีศักยมุนีโคตมสัมพุทธเจ้า, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระมหาธรรมราชาที่ 4, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระมหาธรรมราชาที่ 4, พระสิริสุเมธังกรสังฆนายก, พระสิริสุเมธังกรสังฆราช, พระธรรมราชาธิราช, พระสังฆนายก, อรรคอุปัฏฐาก, พระศรีสุริยวงศ์วงศ์บรมบาล มหาธรรมราชธิราช, พระราชโอรส, พระธรรมราชาธิราช, สมเด็จสรรเพชญ์, สมเด็จพระบรมโลกนาถ, พระวิทยาวงศ์มหาเถร, พระวรชนก, พระบรมบาลธรรมราช, สมเด็จพระมหามุนินทร์, พระสมณะ, สมเด็จพระโลกนาถเจ้า, พระยาไสยลือไทย, รัตนะ, พระจักร, รัตนมกุฏ, สุโขทัย, ชัยนาทบุรี, เขาสมันตกูฏ, ทวีป, เมืองสุโขทัย, เขาสุมนกูฏ, พุทธศาสนา, รัตนเจดีย์, ปรินิพพาน, พระคุณสมุทัย, พระสัพพัญยุตญาณ, ปีมะเมีย, พระคุณธรรม, คิมหฤดู, ไพสาขมาส, ศุกลปักษ์, จตุตถดิถี, ครุวาร, พระอาทิตย์อุทัย, โรหินีฤกษ์, สาทิโยคย์, อรัญญวาสี, ศีล, ญาณ, บ่อแก้ว, พระญาณ, รอยพระบาทจำลอง, จิตรกรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-รอยพระพุทธบาท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระธรรมราชาที่ 2, บุคคล-พระธรรมราชาที่ 2, บุคคล-พระสิริสุเมธังกรสังฆนายก, บุคคล-พระสิริสุเมธังกรสังฆราช

วัดบวรนิเวศวิหาร แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558)

พุทธศักราช 1970

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/218?lang=th

52

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึกด้านยาว บรรทัดที่ 1 ได้จารึกพระนามอดีตพระพุทธเจ้า 13 พระองค์ ด้านยาว บรรทัดที่ 2 ได้กล่าวถึงการจำหลักลายพระพุทธบาทลักษณ์ และจำนวนน้ำหนักของโลหะที่ใช้หล่อ ตลอดจนค่าบำเหน็จของช่าง ส่วนด้านยาว บรรทัดที่ 3 จารึกนามพระมหาสาวก 20 องค์ ด้านข้างจารึกนามพระมหาสาวกและนามเทวดา 2 องค์ คือ วิรุณหกราชและธัฏฐรัฏฐราช

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ, กพ. 10, กพ. 10, หลักที่ 52 จารึกบนรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ, หลักที่ 52 จารึกบนรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ, โลหะ, สัมฤทธิ์, สำริด, แผ่นรูปรอยพระพุทธบาท, วัดเสด็จ, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, สุโขทัย, พระปทุมุตตระ, พระนารทะ, พระปทุมะ, พระพุทธอโนมทัสสี, พระพุทธโสภีตะ, พระพุทธเรวัตตะ, พระสุมนธีระ, พระพุทธสุมังคละ, พระโกญฑัญญะ, พระทีปังกระ, พระสรณังกระ, พระพุทธเมธังกระ, พระพุทธตัณหังกระ, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, พระสรรเพชญ, ช่างหล่อ, สาคโต, สุคโต, โสภัทโท, ปภังกระ, สมิทธี, โลลุทธายี, กาฬทายี, อุทายี, ควัมปติ, สิมพลี, อุปาลี, ภัททรชิ, อัสสชิ, วักกลิ, ปุณณเถระ, พระภารัทวาชะ, พระสุภูตะ, อังคุลิมาละ, นาคเถระ, รัฏฐปาละ, พระมหาโกญฑัญญเถระ, พระกุมารกัสสปะ, พระกัสสปเถระ, คยานันที, อุรุเวฬกัสสปะ, วิรุณหกราชะ, ธัฏฐรัฏฐราชะ, พระขัตตคามะ, พุทธสาวก, พระมหาสาวก, พระอดีตพุทธ, ทอง, เงิน, พุทธศาสนา, ลายบาทลักษณ์, พระบาท, บำเหน็จ, ตำลึง, เทวดา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-รอยพระพุทธบาท

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/167?lang=th

53

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดศรีชุม

ขอมสุโขทัย

กล่าวถึงพรหมโลก 16 ภูมิ

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดศรีชุม, สท. 47, สท. 47, ศิลา, รูปรอยพระพุทธบาท, วัดศรีชุม, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, พรหมโลก, ปาริสัชชา, ปุโรหิตา, มหาพรหมา, เวหัปผลา, ปริตตาภา, อัปปมาณาภา, อาภัสสรา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, จารึกอักษรขอมสุโขทัย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, จารึกภาษาบาลี, จารึกบนศิลา, จารึกที่รอยพระพุทธบาท, จารึกวัดศรีชุม, จารึกพบที่สุโขทัย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกในพระพุทธศาสนา, พรหมโลก 16 ชั้น, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/169?lang=th

54

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดชมภูเวก

ขอมอยุธยา

คำจารึกเป็นคาถานมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้ซึ่งสัจจญาณ กิจจญาณ และกตญาณ

หลักที่ 85 จารึกรอยพระพุทธบาทวัดชมภูเวก, หลักที่ 85 จารึกรอยพระพุทธบาทวัดชมภูเวก, นบ. 1, นบ. 1, ศิลา, ประเภทหินชนวน, รูปรอยพระพุทธบาท, วัดชมภูเวก, ตำบลท่าทราย, จังหวัดนนทบุรี, ไทย, อยุธยา, พระพุทธเจ้า, พระทศพล, พระมุนี, พระตถาคต, พระมหาธมณะ, พุทธศาสนา, ตรัสรู้, สัจจญาณ, ทุกข์, พระนิพพาน, นิโรธ, กิจญาณ, สมุทัยสัจ, มรรคสัจ, ทุกขสัจ, ปหานธรรม, ญาณ, กตญาณ, ทุกโขทยสัจ, กิจจญาณ, ทุกขอริยสัจ, ธรรม, ตถญาณ, ราคะ, ตัณหา, อริยสัจ, ธรรม, มรรค, เหตุ, เยธัมมา, เยธรรมมา, คุณธรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดชมภูเวก นนทบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระพุทธเจ้า

วัดชมภูเวก ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/606?lang=th

55

จารึกมหาเถรฯ สร้างพระพุทธรูป

ฝักขาม

เจ้ามหาเถรได้สร้างพระพุทธรูปพระองค์นี้ ด้วยความปรารถนาที่จะได้ถึงซึ่งนิพพาน

จารึกมหาเถรฯ สร้างพระพุทธรูป, จารึกแผ่นทองจั๋งโก๋ พระพุทธรูปคอระฆัง พระธาตุหริภุญชัย ด้านทิศตะวันออก, ลพ. 47, ลพ. 47, โลหะ, แผ่นทองจั๋งโก๋บุพุทธปฏิมากร ปางถวายเนตร, ด้านทิศตะวันออก, คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย, วัดพระธาตุหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถร, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, บุญ, คุณ, เนียรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, งานเกี่ยวกับจารึก, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นทองจั๋งโก๋, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้ามหาเถร

ด้านทิศตะวันออก คอระฆังพระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2029?lang=th

56

จารึกมงคลบนรอยพระพุทธบาท

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงเรื่องมงคล 108 ที่ปรากฏบนรอยพระบาทของพระพุทธเจ้า

จารึกมงคลบนรอยพระพุทธบาท, กท. 57, กท. 57, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระศาสดา, พระพุทธเจ้า, พระเจ้าจักรพรรดิ์มหาราช, พระอาจาริยเจ้า, เสนา, พระยาเนื้อทราย, พระยาสีหราช, กินนร, กินรี, พระยาปักษี, พระยาจรเข้, พระยาเสือโคร่ง, สังข์ทักษิณาวัตร, ปลาทอง, รูปสวัสดิกะ, ดอกไม้กรอง, ดอกพุดซ้อน, พระแท่นอาสนะ, ขอช้าง, โตมร, หอก, เศวตฉัตร, พระขรรค์, กำหางนกยูง, ผ้าโพกศีรษะ, เชือกแก้ว, พัดขนทรายแก้วมณี, พวงดอก, จักร, มะลิ, บัวหลวง, บัวแดง, บัวเขียว, บัวขาว, บัวเผื่อน, หม้อใส่น้ำ, ภาชนะใส่น้ำ, บัลลังก์แก้ว, ธงชัย, เก้าอี้แก้วสถานที่: ภูเขาสิเนรุ, ภูเขาไกรลาส, ปราสาท, มหาสมุทร, จักรวาล, ป่าหิมพานต์, ทวีปใหญ่, แม่น้ำใหญ่, สระใหญ่, พุทธศาสนา, มงคล 108, มงคล 108, สวัสดิกะ, พระอาทิตย์, พระจันทร์, ฉันท์, ปัฐยาวัต, พุทธปาทลักขณะ, พุทธบาทลักษณะ, รอยพระพุทธบาท, นางฟ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, จารึกอักษรขอมอยุธยา, จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, จารึกภาษาบาลี, จารึกบนแผ่นเงิน, จารึกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จารึกที่รอยพระพุทธบาท, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, จารึกในพระพุทธศาสนา, มงคล 108 ในรอยพระพุทธบาท, จารึกสมัยอยุธยท

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/608?lang=th

57

จารึกพระอภิธรรม

ขอมสุโขทัย

เป็นที่น่าสังเกตว่า การจารึกเป็นบรรทัดของศิลาจารึกพระอภิธรรม มีการตีกรอบเป็น 2 ชั้น กรอบชั้นใน ใจกลางของด้านที่ 1 จารึกบทมหาปัฏฐานของพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ กรอบชั้นนอกจารึกพระธรรมสังคณีล้อมรอบบทมหาปัฏฐาน โดยเริ่มต้นบทพระธรรมสังคณีที่บรรทัดในสุดของกรอบชั้นนอก ซึ่งติดกับบทมหาปัฏฐาน แล้วเดินบรรทัดเป็นรูป 4 เหลี่ยม ตามกรอบชั้นในเมื่อครบ 4 ด้านของกรอบก็ถือว่าเป็น 1 บรรทัด ฉะนั้นการเขียนคำอ่านในจารึกนี้ แต่ละบรรทัดจะใส่ ก. ข. ค. และ ง. ไว้เพื่อพิจารณาคำอ่านตามด้านทั้ง 4 ของกรอบ ข้อความของบทพระธรรมสังคณีในด้านที่ 1 ยังไม่จบ จึงมีต่อในด้านที่สอง แต่ด้านที่สองนี้ มีการจารึกธรรมดาคือ จากบรรทัดบนลงล่าง ส่วนคำจารึกตั้งแต่บรรทัดที่ 1 ถึงกลางบรรทัดที่ 14 มีข้อความซ้ำกันกับตอนกลางบรรทัดที่ 10 จนจบของด้านที่ 1 คือ ตั้งแต่ “สญฺโชนสมฺปยุตฺตา ฯลฯ โน จ สญฺโชนา” จากลักษณะของการจารึกเป็นกรอบโดยนำบทพระธรรมสังคณีห่อหุ้มเป็นกรอบล้อมรอบพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ บทมหาปัฏฐาน เข้าใจว่าผู้จารึกคงจะแฝงไว้ด้วยความหมายอันลึกซึ้งเกี่ยวกับเนื้อความของอภิธรรม หรือที่เรียกกันว่า แฝงไว้ด้วยปรัชญาธรรม บทมหาปัฏฐานเป็นบทที่กล่าวถึงเหตุ บทธรรมสังคณีกล่าวถึงผลที่มาจากเหตุ ฉะนั้นผู้จารึกจึงถือเอาเหตุเป็นบทสำคัญ ผลจะดีหรือชั่ว อยู่ที่เหตุ เป็นการอธิบายขยายความบทพระพุทธพจน์ “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ํ ตถาคโต เตสญฺจโย นิโรโธจ เอวํ วาทีมหาสมโณ” นั้นเอง บทมหาปัฏฐาณอยู่ด้านในใจกลางของกรอบจารึก บทธรรมสังคณีห่อหุ้มไว้เป็นกรอบนอกเพราะผู้จารึกเห็นความสำคัญของเหตุ ประหนึ่งผู้เห็นเพชรเม็ดล้ำค่า จึงเอาผ้าหรือวัสดุอื่นห่อหุ้มถือประคับคองไว้เป็นอย่างดี เพราะกลัวตกหล่นจะได้รับความเสียหาย

จารึกพระอภิธรรม พุทธศตวรรษที่ 20, จารึกพระอภิธรรม พุทธศตวรรษที่ 20, สท. 19, สท. 19, หินดินดาน, แผ่นสี่เหลี่ยม, แม่น้ำโจน, อำเภอเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, บทมหาปัฏฐาน, พระธรรมสังคณี, พระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์, บทพระพุทธพจน์, ปัจจัย, โลภะ, โทสะ, โมหะ, อโลภะ, อโทสะ, อโมหะ, อารมณ์, รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส, รูปารมณ์, ฉันทะ, วิริยะ, จิตตะ, วิมังสา, อาวัชชนะจิต, ปัญจวิญญาณ, สัมปฏิจฉันนจิต, สันติรณจิต, โวฏฐวนจิต, อนันตรปัจจัย, จิต, เจตสิก, สหชาตรูป, ภูตรูป, อุปาทายรูป, กัมมัชรูป, วิบากขันธ์, ปฏิสนธิ, มหาภูตรูป, วิบากขันธ์, ภูตรูป, ปสาทรูป, วิญญาณ, นิสสยปัจจัย, หทยรูป, กรรม, กุศล, อกุศล, อาหาร, ผัสสาหาร, มโนสัญเจตนาหาร, วิญญาณาหาร, กวพิงการาหาร, อินทรีย์, อิตถินทรีย์, ปุริสินทรีย์, ฌาน, วิตก, วิจาร, ปิติ, เอกคคตา, โสมนัส, โทมนัส, อุเบกขา, สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ, สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ, สัมมาวายามะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ, สัมมัตตนิยม, มิจจฉัตตนิยม, มิจฉาทิฏฐิ, มิจฉาสังกัปปะ, มิจฉาวายามะ, มิจฉาสมาธิ, นามขันธ์, จักขวาทิวัตตถุ, วัตถุ, ปุเรชาตรูป, สหชาตรูป, รูปธรรม, นามธรรม, สหชาตอวิคตะ, ปุเรชาตอวิคตะ, ปัจฉาชาตอวิคตะ, อาหารอวิคตะ, อินทรียอวิคตะ, อัพยากฤต, สุขเวทนา, ทุกขเวทนา, อทุกขมสุขเวทนา, เจตนากรรม, ตัณหาทิฏฐิ, ลังกิเลส, อุเบกขาเวทนา, โสดาปัตติมรรค, จุติปฏิสนธิ, พระนิพพาน, เสขบุคคล, อเสขบุคคล, ปริตตะ, มหัคคตะ, อัปปมาณะ, มิจฉาสภาวะ, สัมมาสภาวะ, อธิบดี, สังขตะ, อาสวะ, อสังขตะ, โลกิยะ, โลกุตระ, สันดาน, สัญโญชน์, คันถะ, โอฆะ, โยคะ, นิวรณ์, ปรามาสะ, ทิฐิ, สมุฏฐาน, มหาภูตรูป, เจตนากรรม, ตัณหาทิฐิ, อุปาทาน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/125?lang=th

58

จารึกพระยาศรียศราช วัดหงส์รัตนารามฯ

ไทยสุโขทัย

ข้อความในจารึกหลักนี้ กล่าวถึง พระยาศรียศราช คือ เจ้าเมืองเฉลียง (ศรีสัชนาลัย-สวรรคโลก) และมีบทบาทต่อมาในประวัติศาสตร์การเมือง การสงครามและพุทธศาสนาในราชอาณาจักรสุโขทัย ยุคร่วมสมัยกับสมเด็จพระบรมราชาธิราช (เจ้าสามพระยา) แห่งกรุงศรีอยุธยา ดังที่ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร ได้สรุปไว้ในผลงานที่อ้างแล้วข้างต้นว่า “จารึกหลักนี้ยืนยันข้อความในตำนานมูลศาสนา วัดป่าแดง (เชียงตุง) ซึ่ง กล่าวว่า สมัยเจ้าสามพระยาสุโขทัยถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน มีพระยาบาล (บรมปาลมหาธรรมราชา) ครองพิษณุโลก พระยารามครองสุโขทัย พระยาเชลียงครองเชลียง และพระยาแสนสอยดาวครองกำแพงเพชร ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับปลีก เลขที่ 222, 2/ก, 104 มัดที่ 27 มีรายละเอียดว่า ตอนยกทัพไปพระยาเชลียงไว้เมืองสวรรคโลกแก่เจ้าราชศรียศ ผู้เป็นบุตร ส่วนตำนานมูลศาสนา ฝ่ายวัดสวนดอก (วัดยางควง เชียงตุง ต้นฉบับได้จากวัดบ้านเอื้อมลำปาง) กล่าวว่า เมื่อ พ.ศ. 1972 พระยาเมืองเชลียง ชื่อ ไสยศรียศ และจารึกสมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลี (ดู จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 หน้า 169) พ.ศ. 1963 กล่าวว่า เสด็จพ่อพระยาสอยเสวยราชย์ในบุรีศรีกำแพงเพชร ส่วนวันศุกร์ขึ้น 3 ค่ำ เดือนแปด ตรงกับวันรวงเม็ดและ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 1963”

จารึกพระยาศรียศราช วัดหงส์รัตนารามฯ, หลักที่ 293, หลักที่ 293, พ.ศ. 1966, พุทธศักราช 1966, พ.ศ. 1967, พุทธศักราช 1967, พ.ศ. 1966, พุทธศักราช 1966, พ.ศ. 1967, พุทธศักราช 1967, ทองเนื้อผสมนวโลหะ, ฐานของพระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิราบ, วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร, เขตบางกอกใหญ่, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระยาศรียศราช, เจ้านนทปัญญา, เจ้านันทปัญญา, พระเจ้า, ดอกหวาย, ปีเถาะ, สวน, ไร่, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประเสริฐ ณ นคร, ตำนานมูลศาสนา เชียงใหม่ เชียงตุง, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, ประเสริฐ ณ นคร, งานจารึกและประวัติศาสตร์ของ ประเสริฐ ณ นคร, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารรึก พ.ศ. 1966, จารึก พ.ศ. 1977, อายุ-จารึก พ.ศ. 1966, อายุ-จารึก พ.ศ. 1967, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำเนื้อผสมนวโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระยาศรียศราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชลียง

พระวิหารวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1966

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/269?lang=th

59

จารึกพระมหาเถรชัยโมลี

ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของพระมหาเถรชัยโมลี

จารึกพระมหาเถรชัยโมลี, สพ. 7, สพ. 7, จารึกเลขที่ 14/6, จารึกเลขที่ 14/6, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระรูป, จังหวัดสุพรรณบุรี, ไทย, อยุธยา, พระมหาเถรชัยโมลี, พระมหาเถรศรีราชโมลี, พุทธศาสนา, สุพรรณบัฏ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/610?lang=th

60

จารึกพระพุทธฎีกาสมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราช

ขอมสุโขทัย

เป็นสุพรรณบัฏของสมเด็จมหาเถรสารี

จารึกพุทธฎีกาสมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราช, กท. 56, กท. 56, จารึกเลขที่ 3/6, จารึกเลขที่ 3/6, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พ.ศ. 1990, พุทธศักราช 1990, ม.ศ. 1369, มหาศักราช 1369, พ.ศ. 1990, พุทธศักราช 1990, ม.ศ. 1369, มหาศักราช 1369, สมเด็จพระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช, พระราเมศวรราชสุจริตสรัทธา, สมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราชสังฆปรินายกดิลกรัตน, มหาสวามีบรมราชาจารย์, พระมหาเถรปริยทัศศี, สริสาริบุตร, ศรีสารีบุตร, มหาเถรสามี, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, พุทธติกา, พุทธฎีกา, พระพรรป, สุพรรณบัฏ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1990, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1990

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/123?lang=th

61

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด

ไทยสุโขทัย

ข้อความด้านที่ 1 ได้กล่าวถึงการทำสัตย์สาบานระหว่างผู้เป็นใหญ่ในกรุงสุโขทัย ด้านที่ 2 ได้กล่าวถึงสวรรค์ชั้นต่างๆ ด้านที่ 3 เป็นคำสาปแช่งผู้กระทำผิดคิดคด

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด, สท. 15, สท. 15, หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ (พ.ศ. 2515), หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ (พ.ศ. 2515), หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935, ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935, พ.ศ. 1935, พุทธศักราช 1935, พ.ศ. 1935, พุทธศักราช 1935, จ.ศ. 754, จุลศักราช 754, จ.ศ. 754, จุลศักราช 754, ม.ศ. 1314, มหาศักราช 1314, ม.ศ. 1314, มหาศักราช 1314, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปใบเสมา, ริมเสาเบื้องขวาหน้าวิหารหลวง, ด้านหลังวิหารสูง, วัดมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ศรี, อุมา, เทวากามเทพ, ยมบาล, มฤตยู, จตุโลกบาล, พรหมรูป, พระยาผู้ปู่, ปู่พระยา, ปู่พระยาคำฟู, พระยาผากอง, ปู่พระยาบาน, ปู่พระยารามราช, ปู่ไสสงคราม, ปู่พระยาเลอไทย, ปู่พระยางัวนำถม, ปู่พระยางั่วนำถม, ปู่พระยามหาธรรมราชา, พ่องำเมือง, พ่อเลอไทย, ปู่เริง, ปู่มุง, ปู่พอง, ปู่ฟ้าฟื้น, ปู่ขุนจิด, ขุนจอด, ปู่พระยาศรีอินทราทิตย์, ปู่ชระมื่น, ปู่เจ้าพระขพง, ปู่เจ้าพระขพุง, พระศรี, สมเด็จพระมหาเถรสังฆราชรัตนวงศาจารย์, พระมหาเถรธรรมเสนาบดี, เจ้าพระยาผู้หลาน, พระอรหันต์, พระปรัตเยกพุทธ, พระปัจจเจกพุทธ, มเหสูร, พระสทาศีล พระภีม, พระอรชุน, พระยุธิษถีร, ทีรฆนาม, รามปรสุ, รามลักษ์, พระศักดิ์, พระทีจนนทีสีนรบัณฑิตย์, พระพิรุณ, กุเวร, ขุนมนตรี, เสนาบดี, อมาตย์, นางเมือง, เทวทัต, ช้าง, ม้า, วัว, โค, กระบือ, ควาย, ถ้ำ, เขาพูคา, เขาผาดาน, หมื่นห้วยแสนดง, เขายรรยง, ลังกา, ชมพูท วีป, อมรโคยานี, อุตรกุรู, ภูไศล, คันธมาทน์, ไกรลาส, วิบุลบรรพต, วงกต ศาสนา: พุทธศาสนา, พระสถูป, กระประดิษฐานจารึก, ผีปู่ผาคำ, ผีชาวเลือง, เสื้อใหญ่, ผีบางพระศักดิ์, อารักษ์, อเวจีนรก, อากาสานัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ, กามาพจรหก, ดาวดึงส์, ดุสิตา, วอก, เต่าสัน, พฤหัสบดี, เต่าเม็ด, ปู่หลานสบถ, แม่พระศักดิ์พระสอ, เสื้อทานยอางพานสถาน, ผีบางพระศักดิ์, อบายเวทนา, มหาวิบาก, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, บาป, ปรโลก, โมกษ, นีรพาน, นิพพาน, ขอมปีวอก, ไทยปีเต่าสัน, ขอมวันพฤหัสบดี, ไทยวันเต่าเม็ด, ฤกษ์อุตรผลคุณ, พระเพลิง, อรรเธนทสูร, เทพดานพเคราะห์, ตารก, ภุชค, กินนร, กินรี, สรรพสิทธิ, รษีสิทธิ, พิทยาธร, ทศโลก, จตุรถเบญจมธยานสถาน, อากาสานัญจายตนะ, วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ, เนวสัญญานาสัญญายตนัง, กามาพจรหก, จาตุมหาราชิกา, ตาวติงสา, ยามา, ตุสสิตา, ดุสิดา, นิมมานรดี, ปรนิมมิตวสวดี, สวรรคมรรค, บาดาล, โลกธาตุ, จตุรภพ, สบบูรพวิเทหะ, พรหมรักษ์, ยักษ์กุมาร, หิมพานต์, สัปตคงคา, ปักษาปักษี, อิสันธร, สาบาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, จอายุ-จารึก พ.ศ. 1935, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน|, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1935

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/107?lang=th

62

จารึกป้านางคำเยีย

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ข้อความในจารึกอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย ได้กล่าวถึงป้านางคำเยียที่ได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ ในพระพุทธศาสนา ส่วนข้อความในจารึกอักษรขอมสุโขทัย ภาษาบาลี ได้กล่าวพรรณนาถึงลายลักษณ์ที่ปรากฏในพระบาททั้งสอง แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

จารึกป้านางคำเยีย, กท. 30, กท. 30, หลักที่ 130 ศิลาจารึกภูเขาไกรลาส สวนซ้าย, หลักที่ 130 ศิลาจารึกภูเขาไกรลาส สวนซ้าย, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทยสมัยสุโขทัย, พ.ศ. 1922, พุทธศักราช 1922, ม.ศ. 1301, มหาศักราช 1301, จ.ศ. 741, จุลศักราช 741, พ.ศ. 1922, พุทธศักราช 1922, ม.ศ. 1301, มหาศักราช 1301, จ.ศ. 741, จุลศักราช 741, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, เขาไกรลาส, สวนซ้ายในพระบรมมหาราชวัง, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, รูปมหาพรหม, ป้านางคำเยีย, เถรญี, มหาธรรมราชา, อ้ายอินท์, พี่อ้ายท่านพระศรีราชโอรส, เถรธรรมวิสาร, พระเป็นเจ้า, พระเยีย, ข้าไท, ตริปอง, เถรญี, งั้วช่างเขียน, ลุงขุน, อ้ายอินทร์, ภิกษุ, สงฆ์, เถรานุเถร, พระมเหสี, พระพุทธเจ้า, พระเจ้าจักรพรรดิ, บริวาร, มหาสังฆราชา, มหาเถร, พระมหาเถรสังฆราชา, เจ้าเมืองสุโขทัย, ช้าง, ม้า, ปลาทอง, จระเข้, ปลาฉลาม, ราชสีห์ทอง, เสือ, ม้าวลาหก, ช้าง, หงส์, นกจากพราก, พระยานาค, ช้างเอราวัณ, นกการเวก, แมลงภู่ทอง, ไก่เถื่อน, ไก่ป่า, นกกระเรียน, แมลงภู่ทอง, นกกระทาดงสิ่งของ: ฉัตร, ไตรจีวร, องค์บริขาร, พาทย์, พิณ, แตร, สังข์, เครื่องดนตรี, ข้าว, พัลลุ, พลุ, จักร, กง, ดุม, นางฟ้า, แว่นส่องหน้า, ดอกไม้กรอง, ขอช้าง, ปราสาท, นกพริก, ดอกพุดซ้อน, ร่มขาว, มีด, พระขรรค์ชัยศรี, ขั้วลูกตาล, พัด, หางนกยูง, ผ้าโพกหัว, ผ้าโพกศีรษะ, มกุฏ, บาตร, เรือทอง, ภาชนะ, เชือกแก้ว, ดอกบัวสาย, ดอกบัวเขียว, ดอกบัวแดง, ดอกบัวหลวง, ภาชนะใส่น้ำ, หม้อใส่น้ำ, ลูกโลก, ธงชัย, ธงปฏาก, เก้าอี้, ผ้าทองขนหางสัตว์, เมืองสุโขทัย, ทะเล, ภูเขาเมรุ, สระ, ภูเขาไกรลาส, พุทธศาสนา, กุฎี, พระพิหารสถาน, สถูป, เจดีย์, วัด, อาวาส, อุโบสถ, การบำเพ็ญกุศล, การทำทาน, การบำเพ็ญบุญ, การทำบุญ, การถวายข้าพระ, พระทศพิธธรรม, เบญจาคประดิษฐ์, พระพุทธรูปเจ้า, จังหัน, พยาบาล, ปีมะแม, วัยพุธ, หนไทย, วันเปิกสัน, พระธรรม, ทสชาติ, ทศชาติ, สวรรค์, นิรพานสถาน, พระบาท, ฟัน, ดาว, ดวงอาทิตย์, ดวงจันทร์, มหาทวีป, ราชาศัพท์, กินนร, กินนรี, นางกินนร, พรหมโลก, มงคล 108, มงคล 108, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ศิลปากร, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1922, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในสวนซ้าย พระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ป้านางคำเยีย, จารึกวัดตระพังช้างเผือก, epigraphic and historical studies, The Inscription of Vat Traban Jan Phoak

เขาไกรลาส สวนซ้ายในพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1922

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/92?lang=th

63

จารึกประดิษฐานพระธาตุ

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการประดิษฐานพระธาตุ

จารึกประดิษฐานพระธาตุ, กท. 59, กท. 59, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระเจ้ารัตนมาลา, อ้ายญิอัง, งัว, อัวน้อย, เอียยูงัว, อ้ายรัด, เจ้าสมินรัตนรังสี, ผ้าขาว, ผ้าเทศ, ผ้าชิพอร, ผ้าจีวร, เสื้อสะไบ, หัวแหวนมอน, พุทธศาสนา, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, พระจวงกรม, พระจงกรม, พระพิมพ์ญญายออกแก้ว, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/617?lang=th

64

จารึกนครชุม

ไทยสุโขทัย

พระยาฦๅไทยคือพระธรรมราชาที่ 1 ได้ประดิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุและได้ปลูกพระศรีมหาโพธิ ซึ่งได้มาจากลังกาทวีป เรื่องนี้มีในด้านที่ 1 ตั้งแต่บรรทัดที่ 1-14 และตั้งแต่บรรทัดที่ 15-63 กล่าวถึงเรื่องสัทธรรมอันตรธาน 5 และเป็นคำตักเตือนสัตบุรุษให้รีบเร่งทำบุญกุศลเมื่อพระพุทธศาสนายังมีอยู่ ตั้งแต่บรรทัดที่ 64 ถึงด้านที่ 2 เป็นคำสรรเสริญพระเจ้าธรรมราชาที่ 1 ว่าเป็นกษัตริย์ผู้ดำรงอยู่ในทศพิธราชธรรมและเป็นธรรมิกะมหาราช ที่สุดกล่าวถึงศิลาจารึกและรอยพระพุทธบาทต่างๆ ที่พระธรรมราชาทรงสร้าง ในหัวเมืองต่างๆ ในอาณาเขตของพระองค์

จารึกนครชุม, หลักที่ 3, หลักที่ 3, ศิลาจารึกนครชุม, กพ. 1, กพ./1, กพ./1, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, ม.ศ. 1279, มหาศักราช 1279, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, ม.ศ. 1279, มหาศักราช 1279, หินทรายแป้ง, หินดินดาน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระบรมธาตุ, จังหวัดกำแพงเพชร, ตำบลนครชุม, ไทย, สุโขทัย, พระยาลือไทยราช, พระยาลิไทย, พระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช, พระยามหาธรรมราชา, พระยาเลอไทย, พระยารามราช, พระพุทธเจ้า, ขุนมาราธิราช, พระเป็นเจ้า, เจ้าขุนพราหมณ์เศรษฐี, โหร, พระยาฤาไทย, ภิกษุ, สงฆ์, ชี, สมณะ, สาธุสัตบุรุษ, พระศรีอารยไมตรี,พระศรีอาริยเมตไตรย, เถร, มหาเถร, ท้าวพระยา, พระยาธรรมิกราช, ไพร่ฟ้าข้าไท, ปู่ครู, ผู้เถ้าผู้แก่, เจ้าเถิงสิงหล, พระศรีมหาโพธิ์, พระศรีมหาโพธิ, หมากพร้าว, หมากลาง, ปลา, ม้า, ช้าง, ข้าว, เกลือ, กระยาดงวาย, หมาก, ยาหยูก, ผ้าจีวร, ผ้าเหลือง, เมืองศรีสัชชนาลัย, เมืองสุโขทัย, เมืองนครชุม, ลังกาทวีป, เมืองเชียงทอง, เมืองคนที, พระบาง, เมืองบางพาน, เมืองบางฉลัง, เมืองฝาง, เมืองสระหลวง, จอมเขาสุมนกูฏบรรพต, ปากพระบาง, จอมเขานางทอง, ราชมณเทียร, ราชมณเฑียร, เมืองฟ้า, เมืองดิน, พิง, ป่า, แม่พิง, พุทธศาสนา, พระศรีรัตนมหาธาตุ, รัตนมาลิกมหาสถูป, พระสถูป, เจดีย์, การสถาปนาพระธาตุ, ราชาภิเษก, อภิเษก, การสวด, การจำศีล, การทำบุญ, การคล้องช้าง, เรือ, ปีระกา, เดือนแปดออก, วัศุกร์, หนไทย, กัดเล้า, บูรพผลคุณีนักษัตร, พระบาท, พระมหาธาตุ, พระธาตุ, สัพพัญญุตญาณ, ปีเถาะ, ปีวอก, เดือนหกบูรณมี, วันพระ, วันหนไทย, วันเตาญี, ปีกุน, พระปิฎกไตร, ธรรมเทศนา, พระมหาชาติ, ธรรมชาดก, พระอภิธรรม, พระปัฏฐาน, พระยมก, สิกขาบทสี่, ปีชวด, วันเสาร์, วันไทย, วันระวายสัน, ไพสาขฤกษ์, แผ่นดิน, เทพโลก, นาคโลก, หาว, สรรเพชญุตญาน, ไฟไหม้,พรหมโลก, บุญ, ธรรม, บาป, กรรม, นรก, ทาน, อัษฎางคิกศิล, พระปิฎกไตร, พระไตรปิฏก, ดาว, ลม, ไฟ, สกา, ศาสตร์, ยนตร์, ทศพิธราชธรรม, การค้าขาย, เหย้า, เรือน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1900, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแป้ง, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรอยพระพุทธบาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1900

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/183?lang=th

65

จารึกที่โรงเรียนแพร่พิริยาลัย (จารึกพรหมจินดาและเจ้าสมุทรมงคลรูจี)

ฝักขาม

ปี พ.ศ. 1999 ทอง, จ้าวหมื่น, หมู่หมอช่าง, ผ้าขาว และพ่อยูได้บริจาคเงิน 250 บาท เพื่อสร้างวัดแห่งนี้ พรหมจินดาได้ปิดทองพระพุทธรูปองค์ที่อยู่ทางซ้าย และท่านเจ้าสมุทรมงคลรูจีได้ปิดทองพระพุทธรูปองค์ที่อยู่ทางขวา

พย. 5 จารึกที่โรงเรียนแพร่พิริยาลัย (จารึกพรหมจินดาและเจ้าสมุทรมงคลรูจี) พ.ศ. 1999, พย. 5 จารึกที่โรงเรียนแพร่พิริยาลัย (จารึกพรหมจินดาและเจ้าสมุทรมงคลรูจี) พ.ศ. 1999, จารึกพรหมจินดาและเจ้าสมุทรมงคลรูจีสมุทรมงคลรูจี, หลักที่ 63 ศิลาจารึกที่โรงเรียนแพร่พิริยาลัย, หลักที่ 63 ศิลาจารึกที่โรงเรียนแพร่พิริยาลัย, พ.ศ. 1999, พุทธศักราช 1999, พ.ศ. 1999, พุทธศักราช 1999, จ.ศ. 818, จุลศักราช 818, จ.ศ. 818, จุลศักราช 818, จังหวัดแพร่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, จ้าวหมื่น, เจ้าหมื่น, หมอช่าง, พ่อยู, พรหมจินดา, เงิน, พุทธศาสนา, การสร้างวัด, ปิดทองพระพุทธรูป, เดือนหก, วันอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1999, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทองพระพุทธรูป, บุคคล-ทอง, บุคคล-จ้าวหมื่น, บุคคล-หมู่หมอช่าง, บุคคล-ผ้าขาว, บุคคล-พ่ออยู่, บุคคล-พรหมจินดา, บุคคล-ท่านเจ้าสมุทรมงคล

อาคารเจ้าหลวง โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ 152 ถนนยันตรกิจโกศล ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562)

พุทธศักราช 1999

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1944?lang=th

66

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ)

ไทยสุโขทัย

กล่าวถึงนามผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันสร้างพระพุทธรูป พร้อมทั้งระบุความปรารถนาแห่งตนให้ได้อานิสงส์แห่งการสร้างพระพุทธรูปนั้น เป็นผลบุญหนุนส่งให้ได้พบพระศรีอาริยเมตตรัย ซึ่งได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าต่อไปในอนาคต

หลักที่ 298 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ), หลักที่ 298 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, พระพุทธรูปสำริดประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, วัดลาวพันลำ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าญี่บุญ, นายญี่บุญ, แม่จัน, นางเริ่ม, นางไร, เจ้าไสอานนท์, สายใจ, นางยอด, พระศรีอาริยไมตรี, ลูกชาย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-นายญี่บุญ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 20 (ตอนต้น)

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/138?lang=th

67

จารึกฐานพระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา

ไทยสุโขทัย

แม่ศรีมหาตา สร้างพระพุทธรูป แล้วตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ขอให้ได้เป็นศิษย์แห่งพระศรีอาริยโพธิสัตว์

จารึกฐานพระพุทะรูปแม่ศรีมหาตา, กท. องค์ที่ 26, กท. องค์ที่ 26, จารึกบนฐานพระพุทธรูปที่กุฏิคณะ 15, จารึกบนฐานพระพุทธรูปที่กุฏิคณะ 15, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, กุฏิ น. คณะ 15, คณะ 15, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าแม่ศรีมหาตา, พระองค์เจ้าอยู่หัว, แม่พระพิลก, แม่ศรี, พระเจ้า, ศิษย์, พระศรีอาริย์โพธิสัตว์เจ้า, ข้าพระ, โสกโขไท, สุโขทัย, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, จังหัน, เบี้ย, ศอก, คืบ, นิ้ว, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-แม่ศรีมหาตา

กุฏิ น. คณะ 15 วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/101?lang=th

68

จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาเขียววัดข้าวสาร

ไทยสุโขทัย

เป็นจารึกสั้นๆ กล่าวถึง ชีผ้าขาวผู้หนึ่งชื่อ เวสสันดร (เพสสันดร) ขอบูชาพระรัตนตรัย

จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาสีเขียววัดข้าวสาร พุทธศตวรรษที่ 20, จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาสีเขียววัดข้าวสาร พุทธศตวรรษที่ 20, สท. 36, สท. 36, ศ.ก. 3 ท. 29, ศ.ก. 3 ท. 29, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปนั่ง, หลักที่ 90 ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูปนั่ง, หลักที่ 90 ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูปนั่ง, หินชนวน, สีเขียว, แผ่นหิน, ปลายมน, จำหลักรูปพระพุทธปฏิมากร, วัดข้าวสาร, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ชีผ้าขาวเวสสันดร, ชีผ้าขาวเพสสันดร, ชีปะขาวเวสสันดร, ชีปะขาวเพสสันดร, พระเทพาธิราช, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกที่จำหลักรูปพุทธปฏิมากร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระรัตนตรัย, บุคคล-เวสสันดร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 20

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/231?lang=th

69

จารึกฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

ไทยสุโขทัย

สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช้างค้ำ องค์ที่ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดช้างค้ำ องค์ที่ 3, นน. 15, นน. 15, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูปปางประทานอภัย, วิหารวัดพระธาตุช้างค้ำ, ตำบลในเวียง, จังหวัดน่าน, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, ปีมะเมีย, วันพุธ, บุญ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จารึกสมัยสุโขทัย, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, ศิลปากร, เมืองน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางประทานอภัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม

ในวิหารวัดพระธาตุช้างค้ำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 1969, 1970

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/86?lang=th

70

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าแสน

ไทยสุโขทัย

เมื่อพิจารณาข้อความในจารึก อาจให้ความหมายได้ว่า
1) พระพุทธรูปองค์นี้ พระเจ้าแสนเป็นผู้สร้าง
2) พระพุทธรูปองค์นี้ มีพระนามว่า พระเจ้าแสน
3) พระเจ้าแสนได้สร้างพระพุทธรูป เพื่อสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าแสน, กท. องค์ที่ 17, กท. องค์ที่ 17, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 17 ในวิหารคด, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 17 ในวิหารคด, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าแสน, พระเจ้าอคนี, พระเจ้าอัคนี, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเจ้าแสน

พระระเบียงวิหารคด วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/97?lang=th

71

จารึกฐานพระพุทธรูปพระนายคัมกอง

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึก กล่าวถึงพระนายคัมกองผู้พี่ และแม่อามศรีผู้น้อง เป็นผู้สร้างพระพุทธรูป

จารึกบนพระพุทธรูปพระนายคัมกอง, กท. (พระตำหนักวาสุกรี), จารึกบนฐานพระพุทธรูปในพระตำหนักสมเด็จฯ, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระตำหนักวาสุกรี, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระนายคัมกอง, แม่อามศรี, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, โสกโขทัย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระนายคัมกอง, บุคคล-แม่อามศรี

พระตำหนักวาสุกรี วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/99?lang=th

72

จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง

ไทยสุโขทัย

ผ้าขาวทอง (หมายถึงชีปะขาว) สร้างพระพุทธรูปเมื่อปี พ.ศ. 1965

จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง, กท. องค์ที่ 16, กท. องค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, ไทย, สุโขทัย, ผ้าขาวทอง, ชีปะขาว, พระแม่มูยเมีย, ยงลูก, ข้าพระ, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ผ้าขาวทอง

ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1965

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/80?lang=th

73

จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 2)

ไทยสุโขทัย

สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 2), จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 2), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 2, นน. 14, นน. 14, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูปปางลีลา, วิหารวัดพญาภู, จังหวัดน่าน, ตำบลในเวียง, ไทย, สุโขทัย, จารึกสมัยสมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, ปีมะเมีย, วันพุธ, บุญ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1969, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางลีลา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาภู น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย

วิหารวัดพญาภู (ด้านซ้ายองค์พระพุทธรูปประธาน) ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 1969, 1970

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/105?lang=th

74

จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 1)

ไทยสุโขทัย

สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม ผู้เสวยราชย์ในนันทปุร ได้สถาบกพระพุทธรูปจำนวน 5 องค์ เพื่อผดุงพระพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 1), จารึกฐานพระพุทธรูปปางลีลา วัดพญาภู (องค์ที่ 1), จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดพญาภู องค์ที่ 1, นน. 13, นน. 13, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, พ.ศ. 1970, พุทธศักราช 1970, พ.ศ. 1969, พุทธศักราช 1969, จ.ศ. 788, จุลศักราช 788, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดพญาภู, จังหวัดน่าน, ตำบลในเวียง, ไทย, สุโขทัย, จารึกสมัยสมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, พระศรีอาริยไมตรีเจ้า, พระศริอาริยไมตรีเจ้า, พระเป็นเจ้าห้าองค์, พระเจ้าห้าพระองค์, นันทปุร (เมืองน่าน), การสถาปนาพระพุทธรูป, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จารึกสมัยสุโขทัย, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1969, อายุ-จารึก พ.ศ. 1970, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางลีลา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพญาภู น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-สมเด็จเจ้าพระยาสารผาสุม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย

วิหารวัดพญาภู (ด้านขวาองค์พระพุทธรูปประธาน) ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 1969, 1970

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/103?lang=th

75

จารึกฐานพระพุทธรูปนายทิตไส

ไทยสุโขทัย

กล่าวถึง 2 พ่อลูก คือ นายทิตไส และนางทองแก้ว ผู้สร้างพระพุทธรูป

จารึกฐานพระพุทธรูปนายทิตไส, กท. องค์ที่ 15, กท. องค์ที่ 15, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 15 ในวิหารคด, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 15 ในวิหารคด, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, สุโขทัย, นายทิตไส, นายทิดไส, นางทองแก้ว, ข้าพระ, พระเจ้า, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, จังหัน, โพธิสมภาร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นายทิตไส, บุคคล-นางทองแก้ว, ไม่มีรูป

ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1965

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/78?lang=th

76

จารึกฐานพระพุทธรูปทิดไสหง

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึก ได้จารึกบอกนามผู้สถาบกพระพุทธรูป จำนวน 2 คน คือ ทิดไสหง และนางแก้ว

จารึกฐานพระพุทธรูปทิดไสหง, หลักที่ 37 จารึกบนฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สัมฤทธิ์, หลักที่ 37 จารึกบนฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สัมฤทธิ์, กพช. ล. 4044, กพช. ล. 4044, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, กระทรวงการคลัง, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, ทิดไสหง, นางแก้ว, พระเป็นเจ้า, พุทธศาสนา, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่กระทรวงการคลัง กรุงเทพมหานคร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิดไสหง, บุคคล-นางแก้ว

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/116?lang=th

77

จารึกคำปู่สบถ

ไทยสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึก ได้กล่าวถึงการกระทำสัตย์สาบานระหว่างพระยาลิไทยกับปู่พระยาเป็นเจ้า และได้กล่าวถึงความสามัคคีระหว่างเมืองแพร่ เมืองงาว เมืองน่าน และเมืองพลั่ว ว่าถ้าเมืองหนึ่งเมืองใดมีอันตรายเกิดขึ้น เมืองนอกนั้นจะต้องให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

จารึกคำปู่สบถ, นน. 1, นน. 1, หลักที่ 64, หลักที่ 64, ศิลาจารึกคำปู่สบถ, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, ใบเสมา, วัดช้างค้ำวรวิหาร, จังหวัดน่าน, วัดพระธาตุช้างค้ำ, ตำบลในเวียง, จังหวัดน่าน, ไทย, สุโขทัย, พระยาลิไทย, ปู่พระยาเป็นเจ้า, ปู่พระญา, ลูกท้าว, ลูกไท, เถรมหาเถร, เจ้าพระญา, พระยาฦาไทย, พยาน, สมเด็จปู่พระยา, มหาธรรมราชา, หลาน, ปลา, ยา, ข้าว, เมืองแพร่, เมืองงาว, เมืองน่าน, เมืองพลั่ว, เชลียง, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, จารึกภาษาไทย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกบนหินทราย, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ, จารึกพบที่น่าน, ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย, ประวัติศาสตร์เมืองแพร่, ประวัติศาสตร์เมืองงาว, ประวัติศาสตร์เมืองน่าน, ประวัติศาสตร์เมืองพลั่ว, ประวัติศาสตร์เมืองเชลียง, กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, การกระทำสัตย์สาบาน, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, วงศ์สุโขทัย, บ้านเมือง, ปรีชญาพล, พาหุพล, ประเพณี, จตุราบาย, ราชสีมา, ราชเสมา, ไศพาคม, ศาสตร์, โทษ, สาบาน, โมกขนิพพาน, โมกษนิพพาน, ทุษฐ์ยุด, กระทง, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, พระธรรมราชาที่ 1, ประเสริฐ ณ นคร, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุช้างค้ำ น่าน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-แพร่, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-งาว, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-น่าน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พลั่ว, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-เชลียง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน

วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/225?lang=th

78

จารึกคาถาหัวใจพระสูตร

ขอมสุโขทัย

เป็นคาถาหัวใจพระสูตร, คาถากาสลัก หรือ หัวใจคาถากาสลัก, คาถาหัวใจไตรสรณาคมน์, คาถาหัวใจกรณีย์

จารึกคาถาหัวใจพระสูตร, สท. 42, สท. 42, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ทุรชน, บัณฑิต, พระสงฆ์, พุทธศาสนา, ทีฆนิกาย, มัชฌิมนิกาย, สังยุตตนิกาย, อังคุตตรนิกาย, ขุททกนิกาย, คาถาหัวใจพระสูตร, หัวใจคาถากาสลัก, คาถาหัวใจไตรสรณาคมน์, คาถาหัวใจกรณีย์, บุญ, พุทธัง, ธัมมัง, สังฆัง, สรณังคัจฉามิ, พระพุทธ, พระธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/72?lang=th

79

จารึกคาถาหัวใจพระพุทธคุณ

ขอมสุโขทัย

เป็นคาถาหัวใจพระพุทธคุณ คาถาหัวใจพระอภิธรรม และหัวใจพระวินัย

จารึกคาถาหัวใจพุทธคุณ, สท. 55, สท. 55, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, พระอรหันต์, ศาสดา, มนุษย์, พุทธศาสนา, วิชชา, จรณะ, โลก, หัวใจพระพุทธคุณ, พระอภิธรรม, พระวินัย, เทวดา, พระธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/70?lang=th

80

จารึกคาถาป้องกันอสนีบาต

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึก ขึ้นด้วย “โอม” ตามแบบของคาถาอาคม แล้วกล่าวถึงนามของเทพทั้งห้า อันเป็นเครื่องป้องกันอันตราย แล้วขอให้อสนีบาตจงห่างไกลไปตกในที่อื่น

จารึกคาถาป้องกันอสนีบาต, จารึกคาถาป้องกันอสุนีบาต, จารึกวัดพระศรีมหาธาตุ, พล. 1, พล.1, พล./1, พล./1, ศิลาจารึกคาถาป้องกันอสนีบาต, หินแปร, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ, จังหวัดพิษณุโลก, ไทย, สุโขทัย, พระศิวะ, มุนี, วสุ, พสุ, พระวิษณุ, พระอังคีตย, พระพรหม, พระปุลลหะ, เทพฤษี, พระอมรุ, พราหมณ์, ฮินดู, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/68?lang=th

81

จารึกคาถานมัสการพระบรมสารีริกธาตุ

ขอมอยุธยา

เรื่องราวที่จารึกเป็นคาถานมัสการพระบรมสารีริกธาตุและพระธรรม

คาถานมัสการพระบรมสารีริกธาตุ, พระมหาโคดมสัมพุทธเจ้า, กุสินารา, พระธาตุ, พระอุณหิส, พระเขี้ยว, พระรากขวัญ, ธรรม, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระตถาคต, ปิฎก, ขันธ์ 5, ขันธ์ 5, นิพพาน, วินัยปิฎก, สุตตันตปิฎก, อภิธรรมปิฎก, พระธรรม, ลานดีบุก, พุทธศาสนา, อย. 42, อย. 42, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, พระพุทธรูป และพระพิมพ์ในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนดีบุก, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, ไม่มีรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

จากข้อมูลระบุว่าอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แต่เมื่อสำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565 ไม่พบจารึกดังกล่าว

พุทธศตวรรษ 20 (พ.ศ. 1967)

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/603?lang=th

82

จารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย

ฝักขาม

ข้อความจารึกขึ้นต้นด้วยการอภิวาทพระรัตนตรัย จากนั้นกล่าวลำดับราชวงศ์กษัตริย์ เริ่มต้นแต่พระยามังราย ดังนี้ มังราย, คราม, ท้าวแสนพู, คำฟู, ผายู, ท้าวกลินา (กือนา), เจ้าแสนเมืองมา จารึกได้บ่งถึง พระมหาเถรพุทธเสน ผู้เป็นประธานในการสร้างพระสุวรรณมหาวิหาร เจ้ามหาราชและมหาเทวีได้ถวายนา แก่พระสุวรรณมหาราช อีกทั้งยังกล่าวถึงหมู่บ้านและที่นา ที่เจ้าสี่หมื่นถวายไว้กับพระสุวรรณมหาวิหาร

ศิลาจารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย, ลพ. 9, ลพ. 9, ลพ./9, ลพ./9, พช. 341, พช. 341, 18, 18, หลักที่ 301 จารึกวัดสุวรรณมหาวิหาร, หลักที่ 301 จารึกวัดสุวรรณมหาวิหาร, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, จ.ศ. 764, จุลศักราช 764, จ.ศ. 764 จุลศักราช 764, พ.ศ. 1945, พุทธศักราช 1945, พ.ศ. 1945, พุทธศักราช 1945, ศิลา, หินทรายเนื้อหยาบ, สีน้ำตาล, รูปหลักสี่เหลี่ยมด้านเท่า, ปลายแหลม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: พระเจ้ามังราย, พระเจ้าคราม, ท้าวแสนภู, พระเจ้าแสนภู, แก้วผู้แก่นขสัตราธิราช, แก้วผู้แก่นกษัตราธิราช, พระเจ้าคำฟู, พระเจ้าผายู, ท้าวกลินา, ท้าวกือนา, พระเจ้ากลินา, พระเจ้ากือนา, พระเจ้าแสนเมิงมา, พระเจ้าแสนเมืองมา, นักบุญ, มหาเทวีผู้แม่, พญา, พ่อ, เจ้ามหาราช, เจ้าแม่ลูก, พระราชแม่ลูก, เจ้าสี่หมื่น, ภิกษุสงฆ์, ลูกวัด, พระเจ้า, พระพุทธเจ้าสิ่งของ: น้ำ, หมาก, หินเสมา, นครเชียงใหม่, เมิงพยาว, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, เมิงพะเยา, บ้าน, เรือน, จวา, ชวา, หลวงพระบาง, พุทธศาสนา, พระสุวรรณมหาวิหาร, ราชาภิเษกเอกจุฬา, ให้ทาน, สร้างวิหาร, สร้างมหาวิหาร, ผกาส, ประกาศ, แปลงเวียงเจ็ดริน, สร้างเวียงเจ็ดริน, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, ศีลสำมาธิ, ศีลสมาธิ, สุริยวงศ์พงศ์, ปีเต่าสง้า, ปีเต่าซง้า, ขอม, ปีมะเม, ปีมะเมีย, วันจันทร์, สมบัติ, สวรรค์, ไร่, พระพุทธรูป, ปีไทย, ปีรวงเหมา, ปีรวงเหมา, ปีรวงเม้า, กำไร, ตะวัน, วันจันทร์, จารึกอักษรฝักขาม, จารึก พ.ศ. 1954, จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, จารึกภาษาไทยเหนือ, จารึกราชวงศ์มังราย, จารึกล้านนา, จารึกบนหินทราย, จารึกรูปหลักสี่เหลี่ยม, ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยราชวงศ์มังราย, กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านนา, การสร้างวิหาร, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, จารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1954, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาสามฝั่งแกน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ล้านนา, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านนา, บุคคล-พระมหาเถรพุทธเสน, บุคคล-เจ้ามหาราช, บุคคล-มหาเทวี, บุคคล-เจ้าสี่หมื่น, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7 (กรุงเทพฯ : คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทยฯ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, 2534)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 1954

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1970?lang=th