ชุดข้อมูลจารึกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 10-12
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบในช่วงพุทธศตวรรษที่ 10-12 (พ.ศ. 901-1200) ส่วนมากที่พบจะเป็นอักษรพราหมณี สมัยราชวงศ์คุปตะ และอักษรปัลลวะ
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองพรหมทิน) |
ปัลลวะ |
เหรียญเงินนี้ มีสัญลักษณ์มงคล 3 อย่างคือ ด้านหน้าเป็นรูปสังข์ ล้อมรอบด้วยจุดไข่ปลาส่วนด้านหลังเป็นรูปศรีวัตสะ และทางด้านซ้ายของศรีวัตสะมีสัญลักษณ์คล้ายรูปกากบาท ซึ่งน่าจะเป็นสัญลักษณ์แทนรูปบัลลังก์ (ภัทรบิฐ) หรือ ทัมรุ (กลอง 2 หน้า) แต่อย่างไรก็ตาม สัญลักษณ์คล้ายกากบาทนี้ อ. ก่องแก้ว วีรประจักษ์ ได้อธิบายโดยอ้างอิงบทความของ ศ. ยอร์ช เซเดส์ ใน Inscriptions du Cambodge เล่ม 3 ว่า อาจหมายถึงจำนวนเลข 10 สิ่งที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งคือ ทางด้านขวามือของรูปศรีวัตสะก็น่าที่จะมีสัญลักษณ์มงคลอีกรูปหนึ่ง แต่อาจลบเลือนไป ทั้งนี้เนื่องจาก เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับเหรียญเงินอื่นๆ ด้านที่มีรูปศรีวัตสะแล้ว จะพบว่าทางด้านซ้ายและขวาของรูปศรีวัตสะ จะนิยมทำรูปสัญลักษณ์ไว้ด้วยกันทั้ง 2 ข้าง เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ของภาพ “รูปศรีวัตสะ” เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึง “ที่ประทับของศรี” เทพีศรีเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์และความรุ่งเรือง ศรีวัตสะจึงเป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระศรี หรือพระลักษมีที่ทรงอยู่ในรูป “คช-ลักษมี” โดยมีองค์ประกอบคือ พระลักษมีประทับนั่งบนดอกบัวตรงกลาง ทางด้านซ้ายและขวาของพระองค์จะมีช้าง 2 เชือก เทน้ำรดพระเศียรของพระองค์ รูปศรีวัตสะบนเหรียญเงินนี้ น่าจะเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ และความมั่งคั่งของรัฐที่ประทานโดยพระศรี “รูปบัลลังก์” หรือ “ภัทรปิฏะ” หรือ “ภัทรบิฐ” เป็นสัญลักษณ์ 1 ใน 108 มงคล ของอินเดียโบราณ รูปบัลลังก์ที่พบส่วนใหญ่บนเหรียญเงินทวารวดีนั้น นิยมทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในรูปสี่เหลี่ยมจะทำเป็นกากบาทไว้ แต่อย่างไรก็ตาม รูปลักษณะเช่นนี้ก็สามารถมองเป็นทัมรุ (กลอง 2 หน้า) ได้เช่นกัน ด้านล่างของรูปศรีวัตสะมีจารึกอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต แต่ว่ารูปอักษรนั้น จารึกแบบตัวกลับด้าน แสดงว่าประโยชน์ของเหรียญเงินนี้นั้น อาจใช้เป็นที่ประทับตราเพื่อประโยชน์บางประการ เนื่องจากเมื่อนำเหรียญเงินด้านที่มีจารึกนี้ไปประดับลงบนดินเหนียวแล้ว ก็จะได้ข้อความที่สมบูรณ์ว่า “ลพฺธวร” หรือ “ผู้ได้รับประโยชน์” นอกจากนี้ การเขียนอักษรตัวกลับที่ปรากฏอยู่บนเหรียญนี้ ทำให้เกิดแนวคิดการสังเกตรูปรอยหอยสังข์ ซึ่งอยู่อีกด้านหนึ่งของเหรียญจะเห็นว่ามีลักษณะเป็นเส้นเหมือนสระอุ ที่เป็นสระลอยหัวกลับ ซึ่งเขียนอยู่ภายใต้เส้นสามเส้นเป็นรูปโค้งเกลียวก้นหอย และมีจุดกลมๆ อยู่ตรงกลางข้างบน รูปที่ปรากฏบนเหรียญนั้นคือ เครื่องหมายของ “โอม” ที่แฝงอยู่ภายในรูปหอยสังข์อันแสดงถึงความเป็นมงคล เป็นที่รวมแห่งความเจริญหรือคุณความดีต่างๆ สำหรับความหมายของรูปสังข์นั้นคือ เป็นสัญลักษณ์ของน้ำ ซึ่งเป็นบ่อเกิดของความอุดมสมบูรณ์เป็นหนึ่งในสมบัติ 8 ประการ (อัษฏนิธิ) ของพระนางศรีลักษมี ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ และต่อมาก็เป็นสมบัติของเทพกุเวร (เทพแห่งความมั่งคั่ง) ในประเทศอินเดีย สัญลักษณ์รูปสังข์มักปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์สมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) และสมัยหลังในความหมายว่าเป็นสังข์ของพระวิษณุ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า “รูปสังข์” ที่ปรากฏบนเหรียญหมายถึงความมั่งคั่งที่ประทานโดยศรี ซึ่งพำนักอยู่ในพระมหากษัตริย์ที่มีทศพิธราชธรรม โดยจะนำความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์มาสู่บ้านเมืองที่พระองค์ปกครอง สัญลักษณ์รูปสังข์ปรากฏไม่มาก มักพบบนเหรียญโบราณของอินเดีย และมักไม่ปรากฏเดี่ยวๆ แต่จะปรากฏร่วมกับสัญลักษณ์อื่นๆ เท่าที่พบก็ปรากฏเป็นสัญลักษณ์ประกอบรูปดอกบัว บนเหรียญของพวกกทัมพะกษัตริย์พื้นเมืองของอินเดียใต้ และต่อมาก็ปรากฏบนด้านหลังของเหรียญรูปวัว ของกษัตริย์ราชวงศ์ปัลลวะ (พุทธศตวรรษที่ 11-15) จากลักษณะเหรียญที่มีตัวอักษรเว้าโค้งลงเล็กน้อยเหมือนท้องกะทะ สันนิษฐานว่า คงทำขึ้นเพื่อความสะดวก สำหรับใช้เป็นด้านที่มีการกดทับบ่อยๆ ฉะนั้นเหรียญอันนี้จึงน่าจะใช้เป็นแม่พิมพ์สำหรับกดทับดินเหนียว หรือวัตถุอื่นที่ใช้เป็นอุปกรณ์ในการกดประทับตรา เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น อาจจะใช้เป็นเครื่องหมายตอบรับแทนใบเสร็จ หรือใบรับรองหรือเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ในการรับส่งวัสดุสิ่งของ ทั้งนี้เพื่อมุ่งประโยชน์ในการค้าขาย หรือแลกเปลี่ยนสิ่งของเป็นต้น อีกประการหนึ่ง อาจใช้เป็นเครื่องหมายในการผ่านด่านหรือผ่านทาง เพื่อการสัญจรไปมาระหว่างสถานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ทำนองเดียวกับหนังสือเดินทางในปัจจุบัน |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองพรหมทิน), จารึกบนเหรียญเงินประทับตรารูปสังข์ ศรีวัตสะ สวัสดิกะ ทัมรุ (บัณเฑาะว์), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 5 (เมืองพรหมทิน),จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 5 (เมืองพรหมทิน), ลบ. 21, ลบ. 21, จารึกเมืองพรหมทิน 3, จารึกเมืองพรหมทิน 3, เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, บ้านพรหมทินใต้, ตำบลหลุมข้าว, อำเภอโคกสำโรง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, หอยสังข์, ศรีวัตสะ, ภัทรบิฐ, ภัทรปิฏะ, ฑมรุ, กลองสองหน้า, กลองบัณเฑาะว์, ตรงใจ หุตางกูร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, ภูธร ภูมะธน, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ศิลปวัฒนธรรม, เมธินี จิระวัฒนา, ศิลปากร, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, จารึกบนเหรียญเงิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/699?lang=th |
2 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 3) |
ปัลลวะ |
ถึงแม้ว่าจะมีรูปแม่วัวกับลูกวัวเหมือนกัน แต่คำจารึกของเหรียญเงินนี้ แตกต่างไปจาก จารึกอักษรปัลลลวะบนเหรียญเงิน 1 (นครปฐม), 4 (บ้านคูเมือง), 7 (ดงคอน 1), 12-14 (คอกช้างดิน 1-3) และ 15 (คูบัว) คือ เหรียญอื่นๆ มีคำจารึกว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” แต่เหรียญเงินนี้มีคำจารึกว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรเทวีปุณฺย” แปลว่า “พระเทวีของพระเจ้าทวารวดีผู้มีบุญ” ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 3), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 3), จารึกบนเหรียญเงินประทับตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางซ้ายและลูกวัว-อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต, ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 9, จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 9, เหรียญตรารูปแม่วัวและลูกวัวหันหน้าไปทางซ้าย/จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤตวัตถุจารึก: เงินลักษณะวัตถุ: เหรียญรูปกลมแบนสถานที่พบ: แหล่งโบราณคดีเมืองดงคอน อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท บ้านดงคอน ตำบลดงคอนอาณาจักร: ทวารวดีบุคคล: ศรีทวารวดีสัตว์: วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/709?lang=th |
3 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 2) |
ปัลลวะ |
คำจารึกของเหรียญเงินนี้ยังไม่ได้อ่านและแปล แต่สันนิษฐานเบื้องต้นว่าน่าจะจารึกด้วยอักษรปัลลวะ เนื่องจากเป็นเหรียญรุ่นเดียวกันกับเหรียญรูปโคอื่นๆ ซึ่งใช้อักษรปัลลวะ ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุก อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 2), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 2), จารึกบนเหรียญเงินประทับตรารูปวัวมีโหนกและลูกวัว-อักษรปัลลวะ, ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 8 (ดงคอน 2), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 8 (ดงคอน 2), เหรียญตรารูปวัวมีโหนกและลูกวัว/จารึกอักษรปัลลวะ (ตัวกลับ)วัตถุจารึก: เงินลักษณะวัตถุ: เหรียญรูปกลมแบนสถานที่พบ: แหล่งโบราณคดีเมืองดงคอน อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาทอาณาจักร: ทวารวดีบุคคล: ศรีทวารวดีสัตว์: วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/707?lang=th |
4 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 1) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรี ทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 1), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (เมืองดงคอน 1), จารึกบนเหรียญเงินประทับตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางขวาและลูกวัว-อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต, จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 7 (ดงคอน 1), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 7 (ดงคอน 1), เหรียญตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางขวาและลูกวัว/จารึกอักษรปัลลวะภาษาสันสกฤต วัตถุจารึก: เงินลักษณะวัตถุ: เหรียญรูปกลมแบนสถานที่พบ: แหล่งโบราณคดีเมืองดงคอน อำเภอสรรคบุรี อำเภอชัยนาท บ้านดงคอน ตำบลดงคอนอาณาจักร: ทวารวดีบุคคล: ศรีทวารวดีสัตว์: วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรทวารวดี, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/705?lang=th |
5 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 3) |
ปัลลวะ |
“ลวปุระ” เป็นชื่อของเมืองโบราณ ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 3), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 12 (อู่ทอง 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 12 (อู่ทอง 3), Silver coin from Uthong, Lavapura coin, จารึกบนเหรียญเงินพบที่เมืองอู่ทอง, เงิน, เหรียญทรงกลมแบน, เมืองโบราณอู่ทอง, อำเภออู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ลวปุระ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1007?lang=th |
6 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 2) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรี ทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปหม้อปูรณฆฏะนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “ปูรณฆฏ หรือ กมัณฑลุ หรือ กลศ จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์และสัญลักษณ์ของศิริ ตามความเชื่อของชาวอินเดียทุกศาสนา ปูรณฆฏะ คือ หม้อน้ำที่มีพันธุ์พฤกษาหรือไม่มีพันธุ์พฤกษา กมัณฑลุ คือ หม้อน้ำมีพวย และ กลศ คือ หม้อน้ำไม่มีพวย” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 2), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 2), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 11 (อู่ทอง 2), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 11 (อู่ทอง 2), เหรียญเงิน (รูปปูรณกลศ), เหรียญทวารวดี, เหรียญเงินสมัยทวารวดี, จารึกทวารวดี, เหรียญตรารูปปูรณกลศ, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี, เงิน,เหรียญรูปกลมแบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, หม้อปูรณกลศ, หม้อปูรณฆฏะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/713?lang=th |
7 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 1) |
ปัลลวะ |
เหรียญเงินมีจารึกว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” แปลว่า พระเจ้าศรีทวารวดี ผู้มีบุญอันประเสริฐ อีกด้านหนึ่งเป็นรูปแม่วัวกับลูกวัว ซึ่งเหมือนกันกับเหรียญเงินที่พบได้ในหลายๆ จังหวัดที่อยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี เช่น นครปฐม สุพรรณบุรี ลพบุรี เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รูปแม่วัวกับลูกวัวนี้ เหมือนกันกับ “จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 1 (นครปฐม)” มาก ซึ่งอาจมาจากพิมพ์เดียวกันก็เป็นได้ คำจารึกที่ว่า “ศฺรี ทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 1), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 1), จารึกบนเหรียญเงินประทับตรารูปแม่วัวและลูกวัว (อู่ทอง 1), จารึกบนเหรียญเงินประทับตรารูปแม่วัวและลูกวัว (อู่ทอง 1), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 10 (อู่ทอง 1), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 10 (อู่ทอง 1), เหรียญเงินทวารวดี, เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรทวารวดี, ตรงใจ หุตางกูร, J. Boisselier, Arts Asiatique, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรทวารวดี |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/711?lang=th |
8 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 3) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุก อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 3), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 1 (นครปฐม), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 1 (นครปฐม), นฐ. 8, นฐ. 8, เหรียญเงินมีจารึก, เหรียญตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางด้านซ้ายและลูกวัว, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี, silver medal-2nd type, เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, ฐานเจดีย์เก่า ห้วยจระเข้ เขตวัดพระประโทน ตำบลเนินหิน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, วัว, โค, ตรงใจ หุตางกูร, J. J. Boeles, The Journal of the Siam Society, I-Tsing, The Buddhist Religion as practised in India and the Malay Archipelago (A.D. 671-695), trans. J. Takakusu from Nam-Hai-Kia-Kui-Lai-Huab-Tung, จอง บัวเซอลีเย่, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปากร, ฉวีวรรณ วิริยะบุศย์, เหรียญกระษาปณ์ในประเทศไทย, ยอร์ช เซเดส์, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, เมธินี จิระวัฒนา, ศิลปากรม, ผาสุก อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, ฮุยลิบและงั่นจง, ประวัติพระถังซัมจั๋ง, เคงเหลียน สีบุญเรือง, ไต้ถังซือเอ็งยี่ซัมจั๋งฮวบซือตึ่ง, จารึกบนเหรียญเงิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/691?lang=th |
9 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 2) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรี ทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปหม้อปูรณฆฏะนั้น ศ. ดร. ผาสุก อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “ปูรณฆฏ หรือ กมัณฑลุ หรือ กลศ จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์และสัญลักษณ์ของศิริ ตามความเชื่อของชาวอินเดียทุกศาสนา ปูรณฆฏะ คือ หม้อน้ำที่มีพันธุ์พฤกษาหรือไม่มีพันธุ์พฤกษา กมัณฑลุ คือ หม้อน้ำมีพวย และ กลศ คือ หม้อน้ำไม่มีพวย” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 2), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 2), จารึกบนเหรียญเงินประทับตราบูรณกลศ, เหรียญเงิน (รูปปูรณกลศ), Silver medal 1st type, เหรียญทวารวดี, เหรียญเงินสมัยทวารวดี, จารึกทวารวดี, เหรียญตรารูปปูรณกลศ, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี, จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 2 (นครปฐม), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 2 (นครปฐม), เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, ฐานเจดีย์เก่า ห้วยจระเข้ เขตวัดพระประโทน ตำบลเนินหิน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, หม้อปูรณกลศ, หม้อปูรณฆฏะ, ตรงใจ หุตางกูร, J. J. Boeles, The Journal of the Siam Society, I-Tsing, The Buddhist Religion as practised in India and the Malay Archipelago (A.D. 671-695), J. Takakusu from Nam-Hai-Kia-Kui-Lai-Huab-Tung, จอง บัวเซอลีเย่, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, L’Art de Dvāvaratī, ศิลปากร, ฉวีวรรณ วิริยะบุศย์, เหรียญกระษาปณ์ในประเทศไทย, ยอร์ช เซเดส์, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, เมธินี จิระวัฒนา, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, ฮุยลิบและงั่นจง, ประวัติพระถังซัมจั๋ง, เคงเหลียน สีบุญเรือง, ไต้ถังซือเอ็งยี่ซัมจั๋งฮวบซือตึ่ง, จารึกบนเหรียญเงิน, จารึกวัดพระประโทนเจดีย์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/693?lang=th |
10 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 1) |
ปัลลวะ |
เหรียญเงินนี้ ด้านหนึ่งมีจารึกคำว่า “ศฺรีสุจริต วิกฺรานฺต” แปลว่า “วีรบุรุษผู้สุจริต” ซึ่ง อาจเป็นการยกย่องพระมหากษัตริย์พระองค์ใดพระองค์หนึ่ง ว่าทรงเป็นวีรบุรุษ ซึ่งทำให้คิดไปได้ว่าเหรียญเงินนี้ อาจทำขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์พิเศษอะไรบางอย่าง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นรูปจักร ซึ่งโดยทั่วไปเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรือง ความศักดิ์สิทธิ์ ความเป็นเจ้าแผ่นดิน และอำนาจ หรือ ถ้าเป็นความหมายทางพระพุทธศาสนาแล้ว จะเรียกกันว่าพระธรรมจักร ซึ่งเป็นตัวแทนของพระธรรมของพระพุทธเจ้านั่นเอง รูปจักรนี้จะเป็นสัญลักษณ์แบบใดนั้น ต้องศึกษากันต่อไป |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 1), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 1), จารึกบนเหรียญเงินประทับตราจักร, เหรียญตรารูปจักรล้อมด้วยจุดไข่ปลา, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี, เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, ฐานเจดีย์เก่า ห้วยจระเข้ เขตวัดพระประโทน ตำบลเนินหิน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, ธรรมจักร, จักร, ตรงใจ หุตางกูร, ฉวีวรรณ วิริยะบุศย์, เหรียญกระษาปณ์ในประเทศไทย, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, เมธินี จิระวัฒนา, ศิลปากร, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, จารึกบนเหรียญเงิน, จารึกวัดพระประโทนเจดีย์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/695?lang=th |
11 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (บ้านท่าแค) |
ปัลลวะ |
เนื่องจากรูปอักษรลบเลือนมาก จึงน่าจะมีการศึกษาพิจารณารูปอักษรใหม่โดยละเอียดอีกครั้ง แต่อย่างไรก็ตาม อีกด้านหนึ่งมี “รูปบัลลังก์” หรือ “ภัทรปิฏะ” หรือ “ภัทรบิฐ” เป็นสัญลักษณ์ 1 ใน 108 มงคล ของอินเดียโบราณ รูปบัลลังก์ที่พบส่วนใหญ่บนเหรียญเงินทวารวดีนั้น นิยมทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในรูปสี่เหลี่ยมจะทำเป็นกากบาทไว้ แต่อย่างไรก็ตาม รูปลักษณะเช่นนี้ก็สามารถมองเป็นทัมรุ (กลอง 2 หน้า) ได้เช่นกัน |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (บ้านท่าแค), จารึกบนเหรียญเงินประทับตราฑมรุ (ภัทรบิฐ), เหรียญภัทรบิฐ (บัลลังก์) หรือ ฑมรุ (กลอง), เหรียญตรารูปทัมรุ, เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค ตำบลท่าแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรีอาณาจักร: ทวารวดีสิ่งของ: ภัทรบิฐ, ภัทรปิฏะ, ฑมรุ, กลอง 2 หน้า, กลองบัณเฑาะว์, จารึกพบที่แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค, จารึกบนเหรียญเงิน, ตรงใจ หุตางกูร, สุรพล นาถะพินธุ, เมืองโบราณ, ภูธร ภูมะธน, แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค, ทนงศักดิ์ หาญวงษ์, การวิเคราะห์โบราณวัตถุทีได้จากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค ตำบลท่าแค อำเภอเมืองจังหวัดลพบุรี, เมธินี จิระวัฒนา, ศิลปากร, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/701?lang=th |
12 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (บ้านคูเมือง) |
ปัลลวะ |
เหรียญเงินมีจารึกว่า “ศฺรีทฺวารวตี ศฺวรปุณฺย” แปลว่า พระเจ้าศรีทวารวดี ผู้มีบุญอันประเสริฐ อีกด้านหนึ่งเป็นรูปแม่วัวกับลูกวัว ซึ่งเหมือนกันกับเหรียญเงินที่พบได้ในหลายๆ จังหวัดที่อยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี เช่น นครปฐม สุพรรณบุรี ลพบุรี เป็นต้น คำจารึกที่ว่า “ศฺรี ทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (บ้านคูเมือง), จารึกบนเหรียญเงิน (บ้านคูเมือง), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 4 (บ้านคูเมือง), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 4 (บ้านคูเมือง), ลบ. 20, ลบ. 20, เหรียญเงินมีจารึก (อินทร์บุรี), เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, บริเวณโบราณสถานหมายเลข 19, บริเวณโบราณสถานหมายเลข 19, บ้านคูเมือง, ตำบลห้วยชัน, อำเภออินทร์บุรี, จังหวัดสิงห์บุรี, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, วัว, โค, ตรงใจ หุตางกูร, ผาสุก อินทราวุธ, การขุดค้นและการศึกษาวัฒนธรรมของชุมชนบ้านคูเมือง อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี, ดวงเดือน รุ่งแสงจันทร์, อุไรศรี วรศะริน, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, ผาสุข อินทราวุธ, เมืองโบราณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, จารึกบนเหรียญเงิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรทวารวดี |
ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/697?lang=th |
13 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 3) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 3), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 3), ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 15 (คอกช้างดิน 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 15 (คอกช้างดิน 3), KCD97-0009, เหรียญเงินมีจารึก, เหรียญเงิน (รูปวัวตัวเมียหันหน้าไปทางซ้ายกับลูกอ่อน), เหรียญทวารวดี, เหรียญเงินสมัยทวารวดี, จารึกศรีทวารวดี, เหรียญตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางด้านซ้ายและลูกวัว, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี วัตถุจารึก: เงินลักษณะวัตถุ: เหรียญรูปกลมแบนสถานที่พบ: ในภาชนะดินเผาทรงคนโทขนาดเล็ก ขุดพบบริเวณโบราณสถานหมายเลข คชด. 7 ตำบล จระเข้สามพัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีอาณาจักร: ทวารวดีบุคคล: ศรีทวารวดีสัตว์: วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/721?lang=th |
14 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 2) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และ เมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 2), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 2), ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 14 (คอกช้างดิน 2), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 14 (คอกช้างดิน 2), KCD97-0009, เหรียญเงินมีจารึก, เหรียญเงิน (รูปวัวตัวเมียหันหน้าไปทางซ้ายกับลูกอ่อน), เหรียญทวารวดี, เหรียญเงินสมัยทวารวดี, จารึกศรีทวารวดี, เหรียญตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางด้านซ้ายและลูกวัว, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี วัตถุจารึก: เงินลักษณะวัตถุ: เหรียญรูปกลมแบนสถานที่พบ: ในภาชนะดินเผาทรงคนโทขนาดเล็ก ขุดพบบริเวณโบราณสถานหมายเลข คชด. 7 ตำบล จระเข้สามพัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีอาณาจักร: ทวารวดีบุคคล: ศรีทวารวดีสัตว์: วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/719?lang=th |
15 |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 1) |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท) |
จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 1), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (คอกช้างดิน 1), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 13 (คอกช้างดิน 1), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 13 (คอกช้างดิน 1), KCD97-0008, เหรียญเงินมีจารึก, เหรียญเงิน (รูปวัวตัวเมียหันหน้าไปทางซ้ายกับลูกอ่อน), เหรียญทวารวดี, เหรียญเงินสมัยทวารวดี, จารึกศรีทวารวดี, เหรียญตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางด้านซ้ายและลูกวัว, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี , เงินลักษณะ, เหรียญรูปกลมแบน, โบราณสถานหมายเลข คชด. 7, โบราณสถานหมายเลข คชด. 7, ตำบลจระเข้สามพัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, วัว, โค, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/717?lang=th |
16 |
จารึกเสาแปดเหลี่ยม (ชัยนาท) |
ปัลลวะ |
เป็นหลักธรรมเกี่ยวกับอริยสัจสี่ โดยคำบนเสาหินนี้ เป็นวรรคที่ 4 ของแต่ละคาถาในสัมโมหวิโนทนี อรรถกถาวิภังค์ ในส่วนของ สัจจวิภังคนิเทศ วรรณนาสุตตันตภาชนีย์ |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: จารึกเสาแปดเหลี่ยม 3 (มโนรมย์), จารึกเสาแปดเหลี่ยม 3 (มโนรมย์), ชน. 15, ชน. 15วัตถุจารึก: จารึกเสาแปดเหลี่ยม (ชัยนาท), ศิลาลักษณะวัตถุ: เสาแปดเหลี่ยมสถานที่พบ: ตำบลหางน้ำสาคร, อำเภอมโนรมย์, จังหวัดชัยนาทอาณาจักร: ทวารวดีศาสนา: พุทธศาสนา, เหตุ, ทุกข์, ตัณหา, ทุกขสัจจะ, สมุทยสัจจะ, สัจจะ, บัณฑิต, พระนิพพาน, ความสงบ, มรรค, อรรถ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
นายแพทย์สำนวน ปาลวัฒน์วิไชย |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/74?lang=th |
17 |
จารึกเยธมฺมาฯ เมืองศรีเทพ |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 10 (เมืองศรีเทพ), จารึกเยธมฺมาฯ 10 (เมืองศรีเทพ), จารึกเยธมฺมาฯ จังหวัดเพชรบูรณ์, ลบ. 23, ลบ. 23, ศิลา, สี่เหลี่ยม, เมืองศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, เทิม มีเต็ม, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเสาธงทอง ลพบุรี, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2529) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/156?lang=th |
18 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นดินเผา (สุพรรณบุรี) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกบนแผ่นดินเผา และที่ฐานพระพุทธรูป, จารึกเยธมฺมาฯ 12 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 12 (สุพรรณบุรี), สพ. 2, สพ. 2, ดินเผา, แผ่นดินเผา, ฐานพระพุทธรูป, เมืองเก่าอู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ทุกข์, อริยมรรค, องค์ 8, องค์ 8, การดับทุกข์, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, Note sur les Inscriptions de Brah Pathamacetiya, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1170?lang=th |
19 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 2 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 2, จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 2), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 2), ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3203?lang=th |
20 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 1 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 1, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 1, จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 1), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 1), ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/748?lang=th |
21 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 3 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ อักษรจารึกลบเลือนมาก อ่านไม่ได้ แต่เมื่อพิจารณารูปแบบของพระสถูปพิมพ์ดินดิบแล้ว เห็นได้ว่าคำจารึกน่าจะเหมือนกับ 2 ชิ้นแรก ที่มีต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 3, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 3, ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ,โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/743?lang=th |
22 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 2 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 2, ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/741?lang=th |
23 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 1 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 1, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 1, ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/737?lang=th |
24 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปดินเผาเมืองยะรัง |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปดินเผาเมืองยะรัง, จารึกอักษรปัลลวะบนพระสถูปดินเผา (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (สถูปดินเผา), ดิน, พระสถูปดินเผา, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/745?lang=th |
25 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 3 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 3, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 3, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 3 (เมืองยะรัง), จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 3 (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 3), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 3), ดิน, พระพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/735?lang=th |
26 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 2 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 2, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 2 (เมืองยะรัง), จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 2 (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 2), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 2), ดิน, พระพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/733?lang=th |
27 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 1 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 1, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 1 (เมืองยะรัง), จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 1 (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 1), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 1), ดิน, พระพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/731?lang=th |
28 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 2 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 2, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ 5 (เขาศรีวิชัย), พระเม็ดกระดุมศรีวิชัย, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผา, พิมพ์ต้อ, บริเวณวัดเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ทรงวิทย์ แก้วศรี, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12-13 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/752?lang=th |
29 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 1 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 1, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 1, พระเม็ดกระดุมศรีวิชัย, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผา, พิมพ์ต้อ, บริเวณวัดเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ทรงวิทย์ แก้วศรี, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12-13 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/750?lang=th |
30 |
จารึกเยธมฺมาฯ ที่ศาลเจ้า |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ ที่ศาลเจ้า, นฐ. 10, นฐ. 10, จารึกบนแผ่นศิลาที่ศาลา ในบริเวณพระปฐมเจดีย์, ศิลา, แผ่นศิลา, บริเวณสถูปใกล้องค์พระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณะ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/148?lang=th |
31 |
จารึกเยธมฺมาฯ 5 (พระองค์ภาณุฯ 2) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 5 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 5 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 5 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 2), จารึกเยธมฺมาฯ 5 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 2), นฐ. 6, นฐ. 6, ศิลา, แม่หินบด, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณะ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแม่หินบด, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/146?lang=th |
32 |
จารึกเยธมฺมาฯ 4 (พระองค์ภาณุฯ 1) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 4 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 4 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 4 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 1), จารึกเยธมฺมาฯ 4 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 1), นฐ. 5, นฐ. 5, ศิลา, แม่หินบด, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแม่หินบด, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/90?lang=th |
33 |
จารึกเยธมฺมาฯ 3 (หน้าศาลเจ้าฯ) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 3 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 3 (นครปฐม), ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า พระปฐมเจดีย์, จารึกบนแผ่นศิลา ที่ศาลาในบริเวณพระปฐมเจดีย์, จารึกเยธมฺมาฯ 3 (หน้าศาลเจ้า), จารึกเยธมฺมาฯ 3 (หน้าศาลเจ้า), นฐ. 4, นฐ. 4, ศิลา, สี่เหลี่ยม, ศาลเจ้าหน้าพระอุโบสถ, พระปฐมเจดีย์, ตำบลพระปฐมเจดีย์, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณะ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 : จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ และประเทศราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
ศาลเจ้าหน้าพระอุโบสถ ข้างองค์พระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/88?lang=th |
34 |
จารึกเยธมฺมาฯ 2 บนสถูปศิลา |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217) |
จารึกเยธมฺมาฯ 2 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 2 (นครปฐม), หลักที่ 32 จารึกเยธมฺมาฯ บนสถูปศิลา, หลักที่ 32 จารึกเยธมฺมาฯ บนสถูปศิลา, นฐ. 3, นฐ. 3, ศิลาสีเขียว, สถูปทรงบาตรคว่ำ, คอระฆัง, พระปฐมเจดีย์, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/76?lang=th |
35 |
จารึกเยธมฺมาฯ 1 (ระเบียงด้านขวาองค์พระปฐมเจดีย์) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 1 (ระเบียงด้านขวาองค์พระปฐมเจดีย์), จารึกเยธมฺมาฯ 1 (ระเบียงด้านขวาองค์พระปฐมเจดีย์), นฐ. 2, นฐ. 2, จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม), จารึกเยธัมมาฯ 1 (นครปฐม), จารึกเยธัมมาฯ 1 (นครปฐม), หินอัคนี, ระเบียงองค์พระปฐมเจดีย์ บริเวณพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระมหาสมณะ, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ธรรม, เยธรรมมา, เยธัมมา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ชะเอม แก้วคล้าย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหินอัคนี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/54?lang=th |
36 |
จารึกเยธมฺมาฯ (พบ. 2) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ (พบ. 2), จารึกเยธมฺมาฯ (พบ. 2), จารึกเยธมฺมาฯ 11 (ภาพสำเนา), จารึกเยธมฺมาฯ 11 (ภาพสำเนา), พบ. 2, พบ. 2, สำเนากระดาษเพลา, ยาวรีอาณาจักร: ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
งานทะเบียนและคลังพิพิธภัณฑ์ กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/158?lang=th |
37 |
จารึกเมืองศรีเทพ |
ปัลลวะ |
เนื้อความไม่สมบูรณ์แต่พอจับใจความได้ว่า เป็นจารึกที่กล่าวสรรเสริญบุคคล ซึ่งอาจเป็นพระราชา หรือ เชื้อพระวงศ์ที่ปกครองเมืองศรีเทพในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 12 |
จารึกเมืองศรีเทพ, ศิลาจารึกศรีเทพ, พช. 1, พช. 1, Si Tep, Si Thep, K. 499, พช./1, พช./1, ศิลา, หินทรายสีเทา, เมืองโบราณศรีเทพ, อำเภอศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, เจนละ, ปาลวะ, พุทธศาสนา, บุญ, ธรรม, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, เรื่องเที่ยวที่ต่างๆ ภาค 3 เล่าเรื่องเที่ยวมณฑลเพชรบูรณ์, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกที่เมืองศรีเทพ, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสากลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก, มีภาพจำลองอักษร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/527?lang=th |
38 |
จารึกเมืองบึงคอกช้าง 3 |
ปัลลวะ |
เป็นข้อความบอกทิศทาง |
จารึกเมืองบึงคอกช้าง 3, จารึกเมืองบึงคอกช้าง 3, อน. 3, อน. 3, จารึกจงเลือกไปทางนี้, จารึกบึงคอกช้างหมายเลข 3, จารึกบึงคอกช้างหมายเลข 3, ศิลา, สถูปนอกเมือง, เมืองบึงคอกช้าง, ตำบลไผ่เขียว, อำเภอสว่างอารมณ์, จังหวัดอุทัยธานี, ทวารวดี, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จำปา เยื้องเจริญ, ชะเอม แก้วคล้าย, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, ชะเอม แก้วคล้าย, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแท่งยาว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทุ่งสงบ อุทัยธานี |
สถานที่ทำการสวนป่าไผ่เขียว-ตลุกดู่ หมู่ที่ 2 ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/283?lang=th |
39 |
จารึกเมืองบึงคอกช้าง 2 |
ปัลลวะ |
คำจารึกกล่าวถึงบุญว่าย่อมส่งเสริมนักพรต |
จารึกเมืองบึงคอกช้าง 2, จารึกเมืองบึงคอกช้าง 2, อน. 2, อน. 2, จารึกบุญย่อมส่งเสริมนัดพรต, จารึกบึงคอกช้างหมายเลข 2, จารึกบึงคอกช้างหมายเลข 2, ศิลา, สถูปนอกเมือง, เมืองบึงคอกช้าง, ตำบลไผ่เขียว, อำเภอสว่างอารมณ์, จังหวัดอุทัยธานี, ทวารวดี, นักพรต, พุทธศาสนา, บุญ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จำปา เยื้องเจริญ, ชะเอม แก้วคล้าย, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแท่งยาว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทุ่งสงบ อุทัยธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
สถานที่ทำการสวนป่าไผ่เขียว-ตลุกดู่ หมู่ที่ 2 ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/281?lang=th |
40 |
จารึกเมืองบึงคอกช้าง 1 |
ปัลลวะ |
ในจารึกปรากฏข้อความเพียงว่า “สมัยที่ปรัชญาเป็นเลิศ” เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม นายชะเอม แก้วคล้าย ได้ให้ข้อสังเกตไว้ว่า คำว่า “ปฺรชฺญา” ในจารึกนี้ สามารถนำรูปแบบของอักษรไปเปรียบเทียบได้กับคำว่า “ชฺญา” ที่มีในจารึกมหานาวิกพุทธคุปตะ (Inscription of Mahanavika Buddhagupta) จากสำเนาจารึกที่ 10 plate xxib Indian Palaeography โดย Dr. D. H. Dani นอกจากนี้ ลักษณะการจารึกอักษรนั้น เหมือนกันกับจารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย อำเภอบ้านเซ่า (ปัจจุบันคือ อำเภอบ้านหมี่) จังหวัดลพบุรี (ปัจจุบันอยู่ที่วัดเบญจมบพิตร) คือ มีการหยักอักษรไปทางขวามือก่อนที่จะตวัดโค้งขึ้น ซึ่งอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12 |
อน. 1, จารึกเมืองบึงคอกช้าง 1, จารึกบึงคอกช้าง 1, อน. 1, จารึกเมืองบึงคอกช้าง 1, จารึกบึงคอกช้าง 1, ศิลา, เมืองบึงคอกช้าง, ตำบลไผ่เขียว, อำเภอสว่างอารมณ์, จังหวัดอุทัยธานี, ทวารวดี, ปรัชญา, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแท่งยาว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดทุ่งสงบ อุทัยธานี |
วัดทุ่งสงบ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/531?lang=th |
41 |
จารึกเขารัง |
ปัลลวะ |
ในปี พ.ศ. 1182 ขุนนางผู้หนึ่งซึ่งดำรงตำแหน่งสินาหฺวฺคนก่อน ได้ถวายทาส สวนใกล้วิหาร ผู้รักษาสวน เครื่องไทยทาน ที่นา และ กระบือ แด่พระวิหาร โดยมอบให้บุรุษหนึ่งนามว่า วา กฺโทกฺ เป็นผู้ดูแลรักษา ต่อมาผู้ดำรงตำแหน่งสินาหฺวฺคนปัจจุบันได้ถวายทาส สวนใกล้วิหาร แด่พระวิหาร ตามที่ผู้ดำรงตำแหน่งสินาหฺวฺพึงกระทำ |
ปจ. 1, ปจ. 1, K. 505, K. 505, หลักที่ 119 ศิลาจารึกขอมในประเทศไทย, หลักที่ 119 ศิลาจารึกขอมในประเทศไทย, จารึกเขารัง พ.ศ. 1182, พ.ศ. 1182, ม.ศ. 561, ม.ศ. 561, พุทธศักราช 1182, พุทธศักราช 1182, มหาศักราช 561, มหาศักราช 561, หินทราย, ใบเสมา, เขารัง, บ้านอรัญ ตำบลอรัญประเทศ, ตำบลผ่านศึก, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, จังหวัดปราจีนบุรี, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, พระราชา, ผู้รักษาสวน, วา, กุ, สิ, ไต, เปา, สินาหว, สิรกันไต, โยง, ลางสิ, ปาร, กันไต, กุโสล, ลางไต, วารเงห์, กุจิห์, โชงกันไต, กุมาส, จู, เทร, ลาง, เปา, สรลัญ, จำทัก, ถร, ทิน, ธรรมลาภ, กโทก ต้นไม้: ตโนน, ตาล, โตนด, ต้นหมาก, ต้นมะพร้าว สัตว์: ควาย, กระบือ, กลสสัมฤทธิ์, กลสสำริด, หม้อน้ำ, ถาด, สรเคะ, แท่น, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหารรุง, กัลปนา, การถวายทาส, อินทรีย์, ดวงจันทร์, พระจันทร์, หัสต, พฤษภ, สวน, ที่นา, ตรงใจ หุตางกูร, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ปราสาทเขาน้อย จังหวัดปราจีนบุรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1182, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ-พระเจ้าภววรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายหยาบ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก หอสมุดแห่งชาติ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก หอสมุดแห่งชาติ แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (บันทึกข้อมูลวันที่ 13/5/2563) |
พุทธศักราช 1182 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/52?lang=th |
42 |
จารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า |
ทมิฬ |
ข้อความจารึกกล่าวถึงสระชื่อ ศรีอวนินารณัม ซึ่งมีผู้ขุดไว้ ใกล้เมืองนงคูร โดยมีสมาชิกในหมู่บ้านและชาวนาช่วยกันดูแลรักษา |
พง. 1, พง. 1, หลักที่ 26 ศิลาจารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า, หลักที่ 26 ศิลาจารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า, จารึกที่ 26 จารึกที่เขาพระนารายณ์ (ตะกั่วป่า), จารึกที่ 26 จารึกที่เขาพระนารายณ์ (ตะกั่วป่า), ศิลา, ฐานเทวรูปนารายณ์, เขาพระนารายณ์ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา, อำเภอกะปง, ศรีวิชัย, ชาวไร่ชาวนา, สระศรีอวนินารณัม, เมืองนงคูร, มณิคราม, ขุดสระ, กองทัพ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรฉัตรชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานเทวรูปพระนารายณ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกเขาพระนารายณ์ พังงา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
เขาพระนารายณ์ ตำบลเหล อำเภอกะปง (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอตะกั่วป่า) จังหวัดพังงา |
พุทธศตวรรษ 12 |
ทมิฬ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2541?lang=th |
43 |
จารึกเขาน้อย |
ปัลลวะ |
(1) เนื้อหาส่วนที่เป็นภาษาสันสกฤต กล่าวสรรเสริญพระวิษณุ และพระศรีภววรมัน นอกจากนี้ยังกล่าวถึง เชยษฐปุรสวามี ว่าเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับพระเวทเพื่อบูชาพระวิษณุ |
ปจ. 16, ปจ. 16, K. 506, จารึกวัดเขาน้อยสีชมพู, จารึกเขาน้อย, พ.ศ. 1180, พ.ศ. 1180, ม.ศ. 559, ม.ศ. 559, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, บ้านคลองน้ำใส, ตำบลคลองน้ำใส, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดปราจีนบุรี, วัดเขาน้อยสีชมพู, สระแก้ว, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, พระวิษณุ, พระนารายณ์, อีสานวรมัน, ภววรมันที่ 2, ภววรมันที่ 2, ศรีภววรมัน, เชยษฐปุรสวามี, ศรีมานิหะ, ศรีมันทาระ, ศรีมันทารสวามี, พระสมเรศวร, วา, กุ, ใต, ยศ, โกลญ, พระกัมรเตง, กัมรตางอัญ, กัมรตางอัญกุมาร, มรตาญ, โขลญ, อาทุ, อัมวก, โญ, ปิต, กุมารตาง, อัมทะโร, สวีย, กะยาย, ปรง, โชตจิตต์, วะโร, โปญ, ลางใต, โปใต, สะเมกันเตก, เหง, นาย, เอมภะยัม, กัลปิต, กวน, ใตฐ, ลัมโต, ต, ลา, เทวตหริ, ไวรย, กัญชา, อมัม, โลญ, ลาญ, โก, โจรมาน, สาย, อันโรก, โนจพระ, เชยษฐปุระ, ไวษณพนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, สิ่งของ: จักร, เกราะพิธีกรรม: กัลปนา, การถวายทาส, พิธีพระเวท, ราชสมบัติ, ทรัพย์, สงคราม, โลกวิธี, ตรงใจ หุตางกูร, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ปราสาทเขาน้อย, จังหวัดปราจีนบุรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1180, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ-พระเจ้าภววรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกเขาน้อยสีชมพู สระแก้ว, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไวษณพนิกาย, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระศรีภววรมัน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระศรีภววรมัน, บุคคล-เชยษฐปุรสวามี, บุคคล-โกลญเชยษฐปุระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-02, ไฟล์; PJ_007) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/2563) |
พุทธศักราช 1180 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/62?lang=th |
44 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 7 |
ปัลลวะ |
อาจกล่าวถึงพระนามของพุทธสาวกองค์ใดองค์หนึ่ง (แต่อักษรลบเลือนมากจนไม่สามารถสันนิษฐานได้ว่าเป็นพระองค์ใด) |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 7, จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 7, 16/2513, 16/2513, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 7, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 7, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พุทธศาสนา, พุทธสาวก, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรมศิลปากร, รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถาน เมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/776?lang=th |
45 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 6 (ปุณโณสุนาปรันโต) |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงพระนามของพระปุณณสุนาปรันตะ ซึ่งเป็นพระมหาสาวกองค์หนึ่งในจำนวนอสีติมหาสาวก ชื่อเดิมว่า ปุณณะ เกิดที่เมืองท่าชื่อ สุปปารกะ ในแคว้นสุนาปรันตะ เมื่อเติบโตขึ้น ได้ประกอบการค้าขายร่วมกับน้องชาย โดยผลัดกันนำกองเกวียน 500 คัน เที่ยวค้าขายตามหัวเมืองต่างๆ ภายหลังจากได้พบพระพุทธเจ้า เกิดศรัทธาจึงออกบวช ยกสมบัติให้น้องชายทั้งหมด ได้บำเพ็ญจริยาเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนสืบมาจนถึงปรินิพพาน ณ แคว้นสุนาปรันตะนั้น |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 6 (ปุณโณสุนาปรันโต), จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 6 (ปุณโณสุนาปรันโต), 19/2513, 19/2513, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 6, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 6, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ปุณโณสุนา ปรันโต, ปุณสุนาปรันตะ, พุทธศาสนา, พุทธสาวก, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ผาสุข อินทราวุธ, พุทธศาสนาและประติมาณวิทยา (เอกสารอัดสำเนา), ผาสุข อินทราวุธ และคณะ, รายงานการขุดค้นเมืองโบราณฟ้าแดดสงยาง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/770?lang=th |
46 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 5 (กังขาเรวัตโต) |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงนามของพระกงฺขาเรวตฺโต ซึ่งเป็นเอตทัคคะในทางผู้เพ่งด้วยฌาณ เดิมชื่อ เรวตะ เป็นบุตรเศรษฐีในเมืองสาวัตถี วันหนึ่งได้ฟังพระธรรมเทศนาก็เกิดศรัทธา จึงขออุปสมบท และศึกษากรรมฐานจนบรรลุโลกิยฌาณ ต่อมาไม่นานก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ สาเหตุที่ท่านมีนามว่ากังขาเรวตตะ (พระเรวตผู้ชอบสงสัย) นั้น ก็เนื่องมาจากการที่คิดสงสัยก่อนเสมอ ว่าสิ่งที่ท่านจะใช้สอยนั้นถูกต้องตามพุทธบัญญัติ และสมควรแก่บรรพชิตหรือไม่ |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 5 (กังขาเรวัตโต), จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 5 (กังขาเรวัตโต), 21/2513, 21/2513, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 5, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 5, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, กังขาเรวัตโต, พุทธศาสนา, พุทธสาวก, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, สาวกนิพพาน, กรมศิลปากร, รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถาน เมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/766?lang=th |
47 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 4 (โกลิวีโส) |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงพระนามของพระโสโณ โกลิวีโส ซึ่งเป็นเอตทัคคะด้านความเพียรกล้า พระองค์เป็นบุตรของเศรษฐีแห่งเมืองจำปา มีรูปงาม ผิวพรรณดั่งทองจึงมีนามว่า โสณะซึ่งแปลว่าทองคำ ฝ่าเท้าทั้งสองมีสีแดงเหมือนดอกชบา และมีขนสีนิลขึ้นบนฝ่าเท้า วันหนึ่งได้ฟังได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าพร้อมกับพราหมณ์ผู้นำ 8 ตำบล พราหมณ์เหล่านั้น ได้เห็นอิทธิฤทธิ์ของพระสาคตะ สาวกของพระพุทธเจ้า ก็รู้สึกอัศจรรย์ใจมาก โดยเฉพาะโสณะ เมื่อพวกพราหมณ์กลับไปแล้วจึงขอบวช เป็นสาวกในสำนักของพระพุทธองค์เพื่อบรรลุมรรคผล แต่แม้จะพยายามเท่าใดก็ไม่สำเร็จ วันหนึ่ง ท่านนั่งสมาธิ และเดินจงกรมจนเท้าทั้งสองมีเลือดออก พระพุทธเจ้าจึงประทานโอวาท โดยอุปมาอุปไมยด้วยพิณสามสายว่า การบำเพ็ญเพียรนั้นก็เหมือนการดีดพิณ หากขึงสายพิณตึงหรือหย่อนเกินไป เสียงก็ไม่ไพเราะ เช่นเดียวกับความเพียรพยาม หากมากหรือน้อยเกินไปก็ไม่ดี ควรทำแต่พอเหมาะ พระเถระจึงปฏิบัติตาม ต่อมาไม่นานก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 4 (โกลิวีโส),จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 4 (โกลิวีโส), 18/2513, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 4, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 4, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, โสโณ โกลิวีโส, พุทธศาสนา, พุทธสาวก, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธสาวก พุทธสาวิกา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/762?lang=th |
48 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 3 |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงพระนามของพุทธสาวกองค์ใดองค์หนึ่งระหว่าง พระมหากัสสปะ หรือ มหากัจจายนะ พระมหากัสสปะ เป็นบุตรกบิลพราหมณ์แห่งมหาติตถคาม แคว้นมคธ เดิมชื่อปิปผลิมาณพ สมรสกับนางภัททกาปิลานี โดยการจัดการของผู้ใหญ่ ทั้งสองไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกันในโลกียวิสัย เมื่อบิดามารดาเสียชีวิตหมดแล้ว จึงแยกกันไปออกบวช โดยนางภัททาปิลานีไปบวชเป็นภิกษุนี ส่วนปิปผลิมาณพได้ฟังโอวาทจากพระพุทธเจ้า 3 ประการ หลังจากอุปสมบทแล้ว 7 วัน ก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ พระมหากัสสปะเถระทรงเป็นผู้มีบทบาท ในเรื่องของการทำสังคายนาพระธรรมวินัยเป็นครั้งแรก โดยเป็นผู้คัดเลือกพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญาจำนวน 500 รูป สังคายนาพระธรรมวินัยให้เป็นแบบฉบับ และถ่ายทอดสืบมาโดยการท่องจำ พระมหากัสสปะเป็นผู้เคร่งครัดในธุดงควัตร และเป็นเอตทัคคะด้านมีวาทะขัดเกลา (ธูตวาทะ) ส่วนพระมหากัจจายนะนั้น เป็นบุตรของปุโรหิตเมืองอุชเชนี เป็นคนรูปงาม ศึกษาเล่าเรียนจนจบไตรเพทตั้งแต่ยังหนุ่ม เมื่อได้ฟังธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้า ก็สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ต่อมาได้รับการยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะด้านการขยายความ เนื่องจากทรงแสดงภัทเทกรัตตสูตร ที่พระพุทธเจ้าตรัสโดยย่อให้พระสมิทธิฟังอย่างละเอียด พระสมิทธิมีความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง พระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญว่า ถ้าให้ตถาคตแสดง ก็จะแสดงเช่นเดียวกับกัจจายนะ จึงได้รับการยกย่องเป็นเอตทัคคะด้านดังกล่าว |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 3,จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 3, 65/2506, 65/2506, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 3, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 3, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, มหากัสสปะ ?, มหากัจจายะ, พุทธศาสนา, พุทธสาวก, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรมศิลปากร, รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถาน เมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/760?lang=th |
49 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 2 (สาริปุตโต) |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงพระนามของพระสารีบุตร ซึ่งเป็นอัครสาวกเบื้องขวา และเอตทัคคะผู้มีปัญญามาก เป็นชาวเมืองราชคฤห์ซึ่งใช้ชีวิตอย่างสำราญจากการชมมหรสพต่างๆ วันหนึ่งเกิดความเบื่อหน่าย เห็นว่าชีวิตไร้แก่นสาร จึงชวนเพื่อนสนิทชื่อ โกลิตะ ไปสมัครเป็นลูกศิษย์ของอาจารย์สัญชัยเวลัฏฐบุตร ซึ่งเป็นเจ้าสำนักปรัชญาที่มีชื่อเสียงจนจบ แต่ทั้งสองเห็นว่าวิชาการต่างๆ ที่ตนเรียนรู้ยังไม่ใช่แนวทางที่ดีที่สุด จึงแยกย้ายกันออกแสวงหาอาจารย์ที่สอนแนวทางที่ดีกว่า วันหนึ่งพระสารีบุตรได้พบพระอัสสชิเถระขณะโปรดสัตว์ เห็นกิริยาอันน่าเลื่อมใสจึงเข้าไปนมัสการขอให้ท่านแสดงธรรมให้ฟัง พระอัสสชิจึงแสดงคาถาอันเป็นแก่นแห่งอริยสัจ 4 ว่า เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา ตสํ เหตุํ ตถาคโต (อาห) เตสญฺจ โย นิโรโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และการดับเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีวาทะอย่างนี้ พระสารีบุตรได้ฟังคาถาดังกล่าวจึงเกิด “ดวงตาเห็นธรรม” ได้บรรลุโสดาปัตติผล จึงไปกล่าวคาถานี้ให้โกลิตะฟังและได้บรรลุเช่นกัน ทั้งสองจึงเข้าบวชในพุทธศาสนาและบรรลุเป็นพระอรหันต์ พระสารีบุตรบรรลุช้ากว่า โกลิตะหรือพระโมคคัลลานะ 7 วัน โดยบรรลุในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ซึ่งมีการประชุมใหญ่อันเรียกว่า “จาตุรงคสันนิบาต” ณ เวฬุวัน พระพุทธเจ้าได้ประทานโอวาทปาติโมกข์แก่พระอรหันต์ 1,250 รูป พระสารีบุตรเป็นเถระรูปแรกที่มีความคิดในการสังคายนาพระธรรมวินัย แต่ยังไม่สำเร็จลุล่วงท่านก็นิพพานไปเสียก่อน โดยก่อนที่จะนิพพานนั้น พระสารีบุตรและพระจุนทะซึ่งเป็นน้องชาย ได้กลับไปยังตำบลนาลันทา บ้านเกิดของท่าน เพื่อโปรดมารดาซึ่งยังไม่ได้นับถือพุทธศาสนาให้บรรลุธรรม |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 2 (สาริปุตโต), จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 2 (สาริปุตโต), 64/2506, 64/2506, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 2, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 2, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, สารีบุตร, พุทธศาสนา, เอตทัคคะ, พุทธสาวก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรมศิลปากร, รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถาน เมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธสาวก พุทธสาวิกา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/756?lang=th |
50 |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 1 (เมตเตยยโก) |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงพระนามของพระศรีอารยเมตตรัย (เมตไตรยะ) ซึ่งเป็นอนาคตพุทธเจ้าที่กล่าวกันว่าจะลงมาตรัสรู้หลังจากพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน (โคตม) ปรินิพพานไปแล้ว 5,000 ปี เมตไตรยะเป็นที่นับถือของพุทธศาสนิกชนทั้งหินยานและมหายาน โดยพบประติมากรรมของพระองค์ในทุกประเทศที่นับถือพุทธศาสนา |
จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 1 (เมตเตยยโก), จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ 1 (เมตเตยยโก), 64/2506, 64/2506, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 1, จารึกหลังพระพิมพ์พุทธสาวก 1, ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เจดีย์หมายเลข 11 เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พุทธศาสนา, พระพุทธเจ้า, อนาคตพุทธเจ้า, ศรีอาริยเมตไตรย, เมตไตรยะ, พระศรีอารย์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรมศิลปากร, รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถาน เมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง และศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธสาวก พุทธสาวิกา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/758?lang=th |
51 |
จารึกหุบเขาช่องคอย |
ปัลลวะ |
ตอนที่ 1 ประกาศให้ทราบว่า ศิลาจารึกหลักนี้ เป็นจารึกอุทิศบูชาพระศิวะ ตอนที่ 2 กล่าวนอบน้อมพระศิวะแล้วเสริมว่า ผู้เคารพในพระศิวะมา (ในที่นี้) เพราะจะได้ ประโยชน์ที่พระศิวะประทานให้ ตอนที่ 3 กล่าวสรรเสริญคนดี ไม่ว่าเขาจะอยู่ในที่ไหน ก็จะทำให้เจ้าถิ่นได้รับความสุข ดังนั้น ถ้าจะพิจารณาถึงเนื้อหาทั้งหมดแล้วอาจกล่าวได้ว่า จารึกหลักนี้กล่าวถึงการเคารพบูชาพระศิวะ พระสวามีแห่งนางวิทยาเทวี พระผู้เป็นเจ้าอันสูงสุด บุคคลใดสรรเสริญองค์พระศิวะเทพอย่างเทิดทูนบูชา บุคคลนั้นจะได้รับพรจากพระองค์ไม่ว่าจะไปอยู่ ณ ที่ใดย่อมได้รับการต้อนรับด้วยดีทุกสถาน ดังนั้นจะเห็นได้ว่า กลุ่มชนผู้สร้างศิลาจารึกหุบเขาช่องคอยขึ้นนี้ จะต้องเป็นกลุ่มชนที่ใช้ภาษาสันสกฤตนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวะนิกาย และคงจะได้เดินทางเข้ามาพำนักอาศัยในบริเวณนั้น เป็นการชั่วคราว ไม่ใช่กลุ่มชนที่อยู่ประจำถิ่น อีกทั้งยังได้กำหนดสถานที่บริเวณจารึกหุบเขาช่องคอยนั้น เป็นศิวะสถาน เพื่อปฏิบัติศาสนกิจตามจารีตของตน พร้อมๆ กันนั้นก็อบรมสั่งสอนให้ผู้อยู่ในสันนิบาตนั้น สำนึกในความเป็นคนต่างถิ่น พลัดบ้านเมืองมา ซึ่งสมควรประพฤติตนเป็นคนดี จะได้พำนักอาศัยอยู่ร่วมในสังคมที่มีขนบธรรมเนียมแตกต่างกัน ได้อย่างสุขสงบ ดังที่ปรากฏข้อความในจารึก |
ศิลาจารึกหุบเขาช่องคอย, นศ. 12, นศ. 12, ศิลา, แผ่นศิลาธรรมชาติ, ตำบลควนเกย อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช, ศรีวิชัย, พระศิวะ, พระอิศวร, พระกฤษณะศรีวิทยาธิการ, เจ้าแห่งวิทยาการ, เจ้าแห่งป่า, เจ้าแห่งเทพ, นางวิทยา, หมู่บ้าน, ไศวนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, สุข, ผล, ตรงใจ หุตางกูร, ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, กรมศิลปากร, นำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกหุบเขาช่องคอย นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ |
หุบเขาช่องคอย ตำบลควนเกย อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/58?lang=th |
52 |
จารึกสุรินทร์ (วัดชุมพล) |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย “จิตรเสน” เป็นพระนามของเจ้าชายผู้ทรงเป็นพระญาติกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 (พ.ศ. 1141-1150) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ต่อมาเจ้าชายจิตรเสนได้ครองราชสมบัติ ฉลองพระนามเป็น พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150-1159) |
จารึกสุรินทร์, Surin, จารึกวัดชุมพล, K. 377, ศิลา, ฐานรูปเคารพ, วัดชุมพล, จังหวัดสุรินทร์, เจนละ, เศรษฐปุระ, เทพเจ้า, พระศิวะ, พระอิศวร, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารวเภามะ, ศรีภววรมัน, ไศวนิกาย, พราหมณ์, ฮินดูพิธีกรรม: ราชาภิเษก, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ตรงใจ หุตางกูร, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, RR. C. Majumdar, Inscriptions of Kambuja, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสร้างรูปเคารพ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าจิตรเสน, บุคคล-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน (สำรวจข้อมูลวันที่ 18 มกราคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/689?lang=th |
53 |
จารึกวัดโพธิ์ร้าง |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงการกัลปนาของคนทรงเจ้า 2 คน ให้แก่พระอารามแห่งหนึ่ง |
นฐ. 9, นฐ. 9, จารึกวัดโพธิ์ร้าง, จารึกวัดโพ (ร้าง), กพช. เลขที่ 40/2519, กพช. เลขที่ 40/2519, ศิลา ประเภทหินชนวน, วัดโพธิ์ร้าง, อำเภอเมือง, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, โต้ง, คนทรงเจ้า, ต้นมะพร้าว, โถเงิน, แจกันเงิน, ภาชนะอาบเงิน, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, อาราม, วิหาร, เสาหงส์, การสร้างพระพุทธรูป, การหล่อพระพุทธรูป, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, พงศ์เกษม สนธิไทย, ข่าวสารมอญ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนชิ้นส่วนชำรุด, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/271?lang=th |
54 |
จารึกวัดหางน้ำหนองแขม |
ปัลลวะ |
จารึกชำรุดและมีข้อความไม่สมบูรณ์ ปรากฏคำ 3 คำสื่อถึงหลักการปฏิบัติตนที่ถูกต้องของผู้ปกครอง |
จารึกวัดหางน้ำหนองแขม, นว. 18, นว. 18, หินทรายสีเขียว, เขาไม้เดน ตำบลท่าน้ำอ้อย อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์, วัดหางน้ำหนองแขม ตำบลม่วงหัก หมู่ 8 อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์, นวพรรณ ภัทรมูล, สมภพ มีสบาย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหางน้ำหนองแขม นครสวรรค์ |
วัดหางน้ำหนองแขม ตำบลม่วงหัก (ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ตำบลท่าฉนวน) อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19115?lang=th |
55 |
จารึกวัดสุปัฏนาราม 1 |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ ซึ่งในจารึกวัดสุปัฏนาราม 1 (อบ. 4) นี้ เป็นการสร้างพระศิวลึงค์ ดังนั้น จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย “จิตรเสน” เป็นพระนามของเจ้าชายผู้ทรงเป็นพระญาติกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 (พ.ศ. 1141-1150) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ต่อมาเจ้าชายจิตรเสนได้ครองราชสมบัติ ฉลองพระนามเป็น พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150-1159) |
อบ.4, อบ. 4, จารึกวัดสุปัฏนาราม 1, จารึกวัดสุปัฏนาราม 1, จารึกถ้ำปราสาท, จารึกภูหมาไน, K. 508, Tham Prasat, ศิลา, รูปเสมา, ถ้ำปราสาท ถ้ำภูหมาไน, อำเภอโขงเจียม, จังหวัดอุบลราชธานี, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระอิศวร, พระกฤษณะ, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารวเภามะ, ศรีภววรมัน, ไศวนิกาย พราหมณ์, ฮินดู, ราชาภิเษก, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ตรงใจ หุตางกูร, Auguste Barth, Inscription Sanscrite du Phou Lokhon (Laos), Bulletin, Erik Seidenfaden, Complément a l’inventaire descriptif des monuments du Cambodge pour les quatre provinces du Siam Oriental, Chronique : Siam, Ramesh Chandra Marjumdar, No. 15 Phu Lokhon Inscription of Citrasena, Inscriptions of Kambuja, Liste générale des inscriptions du Cambodge, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, โบราณคดีเขื่อนปากมูล, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสร้างรูปเคารพ, เรื่อง-การสร้างศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าจิตรเสน, บุคคล-พระเจ้ามเหนทรวรมัน |
หอศิลปวัฒนธรรมวัดสุปัฏนารามวรวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (ข้อมูลวันที่ 4 มีนาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/683?lang=th |
56 |
จารึกวัดศรีเมืองแอม |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ ซึ่งในจารึกวัดศรีเมืองแอมนี้ เป็นการสร้างพระศิวลึงค์ ดังนั้น จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย |
ขก. 15, ขก. 15, จารึกวัดศรีเมืองแอม, Wat Si Muaeng Aem, ศิลาจารึกพระเจ้ามเหนทรวรมัน อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-13, ศิลาจารึกพระเจ้ามเหนทรวรมัน อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-13, ศิลา ประเภทหินชนวนสีเขียว, แท่งสี่เหลี่ยม, วัดศรีเมืองแอม, ตำบลดงเมืองแอม, อำเภอเขาสวนกวาง, จังหวัดขอนแก่น, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระกฤษณะ, พระอิศวร, ศิวลึงค์,บุคคล: จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารวเภามะ, ศรีภววรมัน, มเหนทรวรมัน, ไศวนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ราชาภิเษก, ตรงใจ หุตางกูร, Auguste Barth, Inscription Sanscrite du Phou Lokhon (Laos), Erik Seidenfaden, Bulletin, Chronique : Siam, Ramesh Chandra Marjumdar, Inscriptions of Kambuja, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดศรีเมืองแอม ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑ์เมืองโบราณดงเมืองแอม ตำบลดงเมืองแอม อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 26 มีนาคม 2559) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/539?lang=th |
57 |
จารึกวัดมเหยงค์ |
ปัลลวะ |
เนื่องจากจารึกหลักนี้ส่วนต้นและส่วนปลายหักหายไป คงเหลือแต่ส่วนกลาง ดังนั้นเนื้อหาของเรื่องในจารึกจึงขาดไปเป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกัน สรุปได้เพียงสั้นๆ ว่าเป็นคำกล่าวถึงระเบียบ หรือแบบแผนในการปฏิบัติธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง |
จารึกวัดมเหยงค์, นศ. 10, นศ. 10, K. 407, จารึกที่ 27 จารึกจากวัดมเหยงค์, หลักที่ 27 ศิลาจารึกวัดมเหยงค์, จารึกที่ 27 จารึกจากวัดมเหยงค์, หลักที่ 27 ศิลาจารึกวัดมเหยงค์, ศิลาสีดำ, รูปสี่เหลี่ยม, วัดมเหยงค์, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, จังหวัดนครศรีธรรม, ศรีวิชัย, สงฆ์, พระอคสติมหาตมัน, ประชาราษฎร์, อรรณาย, น้ำหมึก, แผ่น, เครื่องบูชา, เครื่องบำรุง, ธูป, พวงมาลัย, ธงพิดาน, จามร, ธงจีน, อาหาร, หนังสือ, ประทีป, พุทธศาสนา, พราหมณ์, ฮินดู, อุโบสถ, โบสถ์, ห้องอาหาร, อุโบสถาคาร, ปฏิบัติพระธรรม, พระระเบียง, พระบารมี, ธรรมเทศนา, บุญกุศล, สุข, ทุกข์, อินทรีย์สังวรณ์, ทรัพย์สมบัติ, ตรงใจ หุตางกูร, เอ. บาร์ต, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/56?lang=th |
58 |
จารึกวัดมหาธาตุเมืองนครศรีธรรมราช |
ปัลลวะ |
เป็นคำจารึกที่ฐานของรูปเคารพอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่ทราบว่าเป็นพระพุทธรูป หรือ เทวรูป โดยกล่าวยกย่องผู้สร้างรูปเคารพนี้ |
จารึกวัดมหาธาตุเมืองนครศรีธรรมราช, นศ. 3, นศ. 3, หลักที่ 28 ศิลาจารึกวัดมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช, หลักที่ 28 ศิลาจารึกวัดมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช, จารึกที่ 28 จารึกที่วัดมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช, จารึกที่ 28 จารึกที่วัดมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช, ศิลาจารึกวัดมหาธาตุวรวิหาร, ศิลาลักษณะ, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช, ศรีวิชัย, พ่อมายา, ของถวายวัด, หัวเมืองชั้นนอก, วัด, อาราม, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาธาตุ นครศรีธรรมราช, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จำปา เยื้องเจริญ, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, พงศ์เกษม สนธิไทย, ข่าวสารมอญ |
วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/277?lang=th |
59 |
จารึกวัดจันทึก |
ปัลลวะ |
เนื้อความกล่าวว่า พระเทวีของเจ้าแห่งทวารวดี ทรงบัญชาให้พระธิดาสร้างพระพุทธรูป |
จารึกวัดจันทึก, นม. 14, นม. 14, ศิลาประเภทหินทรายสีแดง, ฐานบัว, วัดจันทึก, ตำบลจันทึก, อำเภอปากช่อง, จังหวัดนครราชสีมา, ทวารวดี, พระพุทธรูป, พระเทวี, พระธิดา, ทวารวตีปติ, ทวารวดีบดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, การสร้างรูปเคารพ, ตรงใจ หุตางกุร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, กรรณิการ์ วิมลเกษม, จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา, สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานบัว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจันทึก นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจ 20 มกราคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/308?lang=th |
60 |
จารึกรูปสี่เหลี่ยมอักษรปัลลวะฯ |
ปัลลวะ |
เนื้อหาของจารึกหลักนี้เกี่ยวกับหลักธรรมสำคัญๆ ของพระพุทธศาสนา |
จารึกรูปสี่เหลี่ยมอักษรปัลลวะ, ศิลาลักษณะ, แท่งสี่เหลี่ยม, อำเภอนครชัยศรี, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระพุทธเจ้า, พราหมณ์, ภิกษุ, พระศาสดา, พุทธศาสนา, อริยสัจ 4, อริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, สัจจญาณ, อวิชชา, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, สฬายตนะ, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรามรณะ, สติปัฏฐาน 4, สติปัฏฐาน 4, สัมปธาน 4, สัมปธาน 4, อิทธิบาท 4, อิทธิบาท 4, อินทรีย์ 5, อินทรีย์ 5, พละ 5, พละ 5, โพชฌงค์, อริยมรรค 8, อริยมรรค 8, โพธิปักขิยธรรม 37, โพธิปักขิยธรรม 37, ธรรม, จักษุ, ปรินิพพาน, เหตุ, ความดับ, ความรู้แจ้ง, อายตนะ 6, อายตนะ 6, นัยนา โปร่งธุระ, พรสวรรค์ อัมรานนท์, จำลอง สารพัดนึก, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 3 คุรุรำลึก,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่โครงการหอวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา |
โครงการหอวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12-13 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/245?lang=th |
61 |
จารึกพระเจ้าภววรมันที่ 2 |
ปัลลวะ |
อาจารย์ชะเอม แก้วคล้าย ได้สรุปความไว้ว่า ภายหลังที่พระเจ้าอีศานวรมันเสด็จสวรรคตแล้ว โอรสของพระองค์คือพระเจ้าภววรมันได้ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นลำดับต่อมา โดยเนื้อความได้กล่าวถึงประวัติของพระองค์ว่า ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้มีคุณธรรม และอำนาจตามที่พระศิวะประทานให้ พระองค์ทรงประสูติในศังกรคราม เมืองภวปูระ ประชาชนได้ให้การสนับสนุนพระองค์ในการบำรุงบ้านเมืองให้อุดมสมบูรณ์ เสนาบดีผู้ใหญ่ที่เป็นรองเจ้าเมืองก็ช่วยในการปราบปรามพวกศัมพูกะ พระองค์มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าในการเสด็จไปเยือนเมืองต่างๆ แต่ก็ถูกรบกวนด้วยแสงอาทิตย์ในฤดูร้อน จากนั้น จารึกได้กล่าวถึง หมู นก และปลา ที่อาศัยอยู่สระใหญ่อันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยน้ำและอาหาร ส่วนสัตว์ (บุคคลผู้) ลำบากยากเข็ญ ได้ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้ล้มตายไปก็มาก ในขณะขุดสระ |
จารึกพระเจ้าภววรมันที่ 2, จารึกวัดกุดแต้, ปจ. 26, ปจ. 26, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านเขาน้อยสีชมพู, ตำบลคลองน้ำใส, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, เจนละ, พระศิวะ, พระอิศวร, พระอาทิตย์, ศรีอีศานวรมัน, ศรีภววรมัน, ภววรมันที่ 2, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอีศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอีศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอิสานวรมันที่ 1, พระเจ้าอิสานวรมันที่ 1, พระเจ้าอีสานวรมันที่ 1, พระเจ้าอีสานวรมันที่ 1, ศัมพูกะยศ, เสนาบดี, ปลา, นก, ศังกรคราม, เชยษฐปุระ, จันทรปุระ, สระน้ำ, พราหมณ์, ฮินดู, การขุดสระ, การสร้างสระ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกสำนักสงฆ์วัดกุดแต้ สระแก้ว, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าภววรมันที่ 2, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้าภววรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าภววรมันที่ 2, วัดกุดแต้, บ้านกุดแต้, สำนักสงฆ์กุดแต้, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
สำนักสงฆ์กุดแต้ ตำบลฟากห้วย อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว (บันทึกข้อมูลวันที่ 21/2/2564) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1020?lang=th |
62 |
จารึกผนังถ้ำเป็ดทอง |
ปัลลวะ |
เป็นการประกาศเกียรติคุณของพระเจ้ามเหนทรวรมัน |
บร. 5, บร. 5, จารึกผนังถ้ำเป็ดทอง, ศิลา, ผนังถ้ำ, ถ้ำเป็ดทอง, ตำบลประคำ, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลปะคำ, อำเภอปะคำ, เจนละ, เศรษฐปุระ, จิตรเสน, มเหนทรวรมัน, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนผนังถ้ำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำเป็ดทอง บุรีรัมย์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเศรษฐปุระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเศรษฐปุระ-เจ้าชายจิตรเสน, ไม่มีรูป |
ถ้ำเป็ดทอง ตำบลโคกม่วง อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ (สำรวจข้อมูลเมื่อ 6 มีนาคม 2564) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/537?lang=th |
63 |
จารึกปากโดมน้อย |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ ซึ่งในจารึกปากน้ำมูล 1 นี้ เป็นการสร้างพระศิวลึงค์ ดังนั้น จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย “จิตรเสน” เป็นพระนามของเจ้าชายผู้ทรงเป็นพระญาติกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 (พ.ศ. 1141-1150) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ต่อมาเจ้าชายจิตรเสนได้ครองราชสมบัติ ฉลองพระนามเป็น พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150-1159) พระเจ้ามเหนทรวรมันทรงสถาปนาจารึกไว้เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตแดนของประเทศไทยในปัจจุบันนั้น มีพบที่ จังหวัดบุรีรัมย์ คือ กลุ่มจารึกถ้ำเป็ดทอง ที่จังหวัดขอนแก่นพบจารึกวัดศรีเมืองแอม (ขก. 15) และที่จังหวัดอุบลราชธานี พบจารึกปากน้ำมูล 1 (อบ. 1) (K. 496) จารึกปากน้ำมูล 2 (อบ. 2) (K. 497) จารึกวัดสุปัฏนาราม 1 (อบ. 4) (K. 508) และ จารึกถ้ำภูหมาไน (อบ. 9)) |
อบ. 28, อบ. 28, จารึกปากโดมน้อย, ศิลา, รูปเสมา, ริมฝั่งแม่น้ำมูล ปากลำโดมน้อย ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ตำบลคำเขื่อนแก้ว อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระกฤษณะ, พระอิศวรเ, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารเภามะ, ศรีภววรมัน, ไศวนิกาย พราหมณ์, ฮินดู, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ราชาภิเษก, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, โบราณคดีเขื่อนปากมูล, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสร้างรูปเคารพ, เรื่อง-การสร้างศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าจิตรเสน, บุคคล-พระเจ้ามเหนทรวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (สำรวจข้อมูล 4 มกราคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/687?lang=th |
64 |
จารึกปากน้ำมูล 2 |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ ซึ่งในจารึกปากน้ำมูล 2 นี้ เป็นการสร้างพระศิวลึงค์ ดังนั้น จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย “จิตรเสน” เป็นพระนามของเจ้าชายผู้ทรงเป็นพระญาติกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 (พ.ศ. 1141-1150) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ต่อมาเจ้าชายจิตรเสนได้ครองราชสมบัติ ฉลองพระนามเป็น พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150-1159) พระเจ้ามเหนทรวรมันทรงสถาปนาจารึกไว้เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตแดนของประเทศไทยในปัจจุบันนั้น มีพบที่ จังหวัดบุรีรัมย์ คือ กลุ่มจารึกถ้ำเป็ดทอง ที่จังหวัดขอนแก่นพบจารึกวัดศรีเมืองแอม (ขก. 15) และที่จังหวัดอุบลราชธานี พบจารึกปากน้ำมูล 1 (อบ. 1) (K. 496) จารึกปากน้ำมูล 2 (อบ. 2) (K. 497) จารึกวัดสุปัฏนาราม 1 (อบ. 4) (K. 508) และ จารึกถ้ำภูหมาไน (อบ. 9) |
อบ. 2, อบ. 2, จารึกปากน้ำมูล 2, จารึกปากน้ำมูล 2, Pak Nam Mun, Khan Thevada, จารึกขันเทวดา, K. 496, ศิลา, รูปเสมา, ฝั่งขวาปากน้ำมูล ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี, จนละ, เศรษฐปุระ, เทพเจ้า, พระศิวะ, พระกฤษณะ, พระอิศวร, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารวเภามะ, ศรีภววรมัน, ไศวนิกาย พราหมณ์, ฮินดู, ราชาภิเษก, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ตรงใจ หุตางกูร, Auguste Barth, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient III, Erik Seidenfaden, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXII, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXII, Ramesh Chandra Marjumdar, Inscriptions of Kambuja, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, โบราณคดีเขื่อนปากมูล, ตรงใจ หุตางกูร, Auguste Barth , Erik Seidenfaden, Complément a l’inventaire descriptif des monuments du Cambodge pour les quatre provinces du Siam Oriental, Chronique : Siam, BulletinRamesh Chandra Marjumdar, No. 15 Phu Lokhon Inscription of Citrasena, Inscriptions of Kambuja, Liste générale des inscriptions du Cambodge, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสร้างรูปเคารพ, เรื่อง-การสร้างศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าจิตรเสน, บุคคล-พระเจ้ามเหนทรวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (สำรวจข้อมูล 4 มกราคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/681?lang=th |
65 |
จารึกปากน้ำมูล 1 |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ ซึ่งในจารึกปากน้ำมูล 1 นี้ เป็นการสร้างพระศิวลึงค์ ดังนั้น จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย “จิตรเสน” เป็นพระนามของเจ้าชายผู้ทรงเป็นพระญาติกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 (พ.ศ. 1141-1150) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ต่อมาเจ้าชายจิตรเสนได้ครองราชสมบัติ ฉลองพระนามเป็น พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150-1159) พระเจ้ามเหนทรวรมันทรงสถาปนาจารึกไว้เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตแดนของประเทศไทยในปัจจุบันนั้น มีพบที่ จังหวัดบุรีรัมย์ คือ กลุ่มจารึกถ้ำเป็ดทอง ที่จังหวัดขอนแก่นพบจารึกวัดศรีเมืองแอม (ขก. 15) และที่ จังหวัดอุบลราชธานี พบจารึกปากน้ำมูล 1 (อบ. 1) (K. 496) จารึกปากน้ำมูล 2 (อบ. 2) (K. 497) จารึกวัดสุปัฏนาราม 1 (อบ. 4) (K. 508) และ จารึกถ้ำภูหมาไน (อบ. 9) |
อบ. 1, อบ. 1, จารึกปากน้ำมูล 1, จารึกปากน้ำมูล 1, Pak Nam Mun, Khan Thevada, จารึกขันเทวดา, K. 496, ศิลา, รูปเสมา, ฝั่งขวาปากน้ำมูล ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระกฤษณะ, พระอิศวร, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารวเภามะ, ศรีภววรมัน, ไศวนิกาย พราหมณ์, ฮินดู, ราชาภิเษก, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ตรงใจ หุตางกูร, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient III, Erik Seidenfaden, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXII, Ramesh Chandra Marjumdar, Inscriptions of Kambuja, George Cœdès, “Liste générale des inscriptions du Cambodge: K. 496 (Pak Mun ou Khan T’evada),” in Inscriptions du Cambodge vol. VIII, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, โบราณคดีเขื่อนปากมูล, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสร้างรูปเคารพ, เรื่อง-การสร้างศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าจิตรเสน, บุคคล-พระเจ้ามเหนทรวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (สำรวจข้อมูล 4 มกราคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/541?lang=th |
66 |
จารึกปราสาทภูมิโปน 3 |
ปัลลวะ |
ข้อความไม่สมบูรณ์ |
สร. 9, สร. 9, จารึกปราสาทภูมิโปน 2, จารึกปราสาทภูมิโปน 2, หินทราย, ปราสาทภูมิโปน, ปราสาทภูมิโพน, อำเภอสังขะ, จังหวัดสุรินทร์, ตำบลดม, เจนละ, ปราสาทภูมิโปน, ปราสาทภูมิโพน, สังขะ, สุรินทร์, เจนละ, ตรงใจ หุตางกูร, จตุพร ศิริสัมพันธ์, ทำเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 3 จังหวัดสุรินทร์, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ ตำบลเฉนียง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ข้อมูลวันที่ 18/1/2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/304?lang=th |
67 |
จารึกปราสาทภูมิโปน 2 |
ปัลลวะ |
ข้อความไม่สมบูรณ์ |
สร. 8, สร. 8, จารึกปราสาทภูมิโปน 1, จารึกปราสาทภูมิโปน 1, จารึกปราสาทภูมิโพน 2, จารึกปราสาทภูมิโพน 2, หินทราย, ปราสาทภูมิโปน, ปราสาทภูมิโพน, สังขะ, สุรินทร์, ตำบลดม, เจนละ, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, จตุพร ศิริสัมพันธ์, ทำเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 3 จังหวัดสุรินทร์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ ตำบลเฉนียง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ข้อมูลวันที่ 18/1/2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/302?lang=th |
68 |
จารึกบ้านวังไผ่ |
ปัลลวะ |
เป็นจารึกที่สร้างขึ้นในโอกาสที่พระมหากษัตริย์ขึ้นครองราชย์ โดยพระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ทรงเป็นพระราชนัดดาของพระจักรพรรดิ์ ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าปฤถิวีนทรวรมัน ผู้เป็นใหญ่เสมอกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 แต่ในจารึกไม่ได้ระบุว่า พระมหากษัตริย์ที่กล่าวถึงในจารึกนี้คือผู้ใด |
จารึกศรีเทพ พช. 2, พช. 2, K. 978, จารึกวังไผ่, Wang Phai, ศิลาจารึกศรีเทพ พช./2, ศิลาจารึกศรีเทพ พช./2, Si Thep, Si Tep, ศิลา ประเภทหินภูเขาไฟบะซอลต์, เสาเหลี่ยม, บ้านวังไผ่ อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระอินทร์, พระกฤษณะ, พระอิศวร, ศรีปฤถิวีนทรวรมัน, ศรีภววรมัน, ศรีจักรวรรติน, ภววรมัน, ศิลาจารึก, พราหมณ์, ฮินดู, บรมราชาภิเษก, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, Inscriptions du Cambodge vol. VII, กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินบะซอลต์, ลักษณะ-จารึกบนเสาเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรทวารวดี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/529?lang=th |
69 |
จารึกบ้านกู่จาน |
ปัลลวะ |
เนื่องจากจารึกมีอักษรที่ชำรุดและลบเลือนมาก จึงจับใจความได้แต่เพียงว่า จารึกนี้ เป็นจารึกของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน กล่าวถึงการประดิษฐานพระพุทธรูป พุทธศาสนิกชนร่วมกันทำบุญถวายจีวร และมีการสรรเสริญพระพุทธเจ้าโดยผู้ถึงพระโพธิญาณ |
ยส. 7, ยส. 7, จารึกบ้านกู่จาน, ศิลา, รูปใบเสมา, ดอนปู่ตา, บ้านกู่จาน, กู่จาน, คำเขื่อนแก้ว, ยโสธร , เจนละ, พระพุทธเจ้า, จีวร, สีมา, เสมา, สภาวธรรม, พระโพธิญาน, พุทธศาสนา, มหายาน, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การถวายจีวร, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบ้านกู่จาน จังหวัดยโสธร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระพุทธเจ้า |
ทิศใต้ของพระอุโบสถ วัดกู่จาน ตำบลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร (สำรวจเมื่อ 2 กันยายน 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/523?lang=th |
70 |
จารึกบนวงพระธรรมจักร |
ปัลลวะ |
เนื้อความที่จารอยู่บนชิ้นส่วนธรรมจักรองค์นี้ ไม่สมบูรณ์ เป็นคาถาท่อนสั้นๆ สันนิษฐานว่าเดิมธรรมจักรเต็มองค์นั้น น่าจะมีคาถาจารอยู่โดยรอบวงล้อ เสา และฐานรอง เหมือนๆ กับธรรมจักรอื่นๆ ที่พบในเขตวัฒนธรรมทวารวดี แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากคาถาแล้ว มีความเหมือนกันกับที่พบบนธรรมจักรที่อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท (ชน. 14) หรือ จารึกธรรมจักร 2 (มโนรมย์) คือคาถาที่คัดลอกมาจาก “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” คาถาบทนี้เป็นความที่คัดมาจาก ข้อที่ 16 ของเรื่องปฐมเทศนา ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มีเนื้อหาโดยย่อว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงกรุงพาราณสีแล้ว ครั้งแรกภิกษุปัญจวัคคีย์ แสดงอาการกระด้างกระเดื่อง แต่เมื่อทรงเตือนให้นึกถึงว่า เมื่อก่อนพระองค์ไม่เคยตรัสบอกเลยว่าตรัสรู้ บัดนี้ตรัสบอกแล้ว จึงควรตั้งใจฟัง ก็พากันตั้งใจฟัง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โดยมีความตอนที่เกี่ยวข้องกับคำจารึกแปลได้ว่า [15] “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขอริยสัจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกอริยสัจนี้นั้นแลความกำหนดรู้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแล เราก็ได้กำหนดรู้แล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล ควรละเสีย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล เราได้ละแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแล ควรทำให้แจ้ง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแล เราทำให้แจ้งแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล ควรให้เจริญ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล เราให้เจริญแล้ว” |
จารึกธรรมจักร 3 (ลพบุรี), จารึกธรรมจักร 3 (ลพบุรี), จารึกบนวงพระธรรมจักร, ลบ. 6, ลบ. 6, ศิลา, ธรรมจักร, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ, ตำบลท่าหิน, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พุทธศาสนา, ความรู้แจ้ง, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, ชะเอม แก้วคล้าย, โบราณคดีเมืองอู่ตะเภา, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนธรรมจักร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/162?lang=th |
71 |
จารึกบนตราประทับจากเขาศรีวิชัย |
ปัลลวะ |
เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “วฺริสมุทฺราโพธิ” ซึ่งแปลความได้หลายแบบคือ แปลว่า “การตรัสรู้คือเครื่องหมายแห่งการทำลายล้าง (อาจหมายถึง ทำลายล้างมลทิน หรือ ความไม่รู้)” หรือ “ยินดีที่เป็นที่รู้จัก” หรือ “ประทับเป็นเครื่องหมาย” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมัน ในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่า สัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน |
จารึกบนตราประทับจากเขาศรีวิชัย, Inscription No. 5, Inscribed rectangular quartz stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินควอทซ์, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/729?lang=th |
72 |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 5 |
ปัลลวะ |
เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “ศฺรมฺมโน” แปลว่า “ความสุข” หรือ “ความยินดี” หรือ “คุ้มครอง“ หรือ ”ปฏิเสธ” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมันในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่าสัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 5, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 5, ตราประทับแก้วรูปวงรี, Inscription no. 7, Inscribed oval stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงวงรี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/727?lang=th |
73 |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 4 |
ปัลลวะ |
เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “สรุธรฺมฺมสฺย” อาจแปลได้ 3 แบบคือ (1) “แห่งธรรมอันดีแล้ว” (2) “แห่งธรรมอันประณีต หรือ อันเปรียบมิได้” หรือ (3) เป็นของ (บุคคลชื่อ) สรุธรรม ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดีก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมัน ในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่าสัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 4, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 4, ตราประทับทองคำรูปวงกลม, Inscription no. 6, Inscribed Gold Seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/725?lang=th |
74 |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 3 |
ปัลลวะ |
เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “วิรเพนฺธุตฺรสฺย” แปลว่า “ผู้กล้าหาญเหล่านั้น อาจกระทำต่อได้” หรือ “เป็นของ (บุคคลชื่อ) วิรเพนธุตระ (วิ-ระ-เพน-ธุ-ตระ)” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมันในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้นในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่าสัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 3, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 3, ตราประทับแผ่นศิลารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, Inscription no. 4, Inscribed rectangular green stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ |
พุทธศตวรรษ 10-11 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/300?lang=th |
75 |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 2 |
ปัลลวะ |
คำอ่าน-คำแปลของจารึกนี้ยังไม่เป็นที่ยุติ โดยมีถึง 3 แบบ ได้แก่ “ทหารที่ไม่สะทกสะท้าน” “ห้ามเคลื่อนย้าย” และ ชื่อบุคคลนามว่า “อปรลสนสยะ” |
จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 2, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 2, ตราประทับแผ่นศิลารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, 5/8 ตราประทับหิน, 5/8 ตราประทับหิน, Inscription no. 3, Inscribed rectangular green stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท |
พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/298?lang=th |
76 |
จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 8 (เลขทะเบียน 2995/38) |
ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
เนื้อหาด้านที่ 1 จากการแปล 2 ครั้ง มีความแตกต่างกันเล็กน้อย กล่าวคือ เทิม มีเต็ม แปลว่า “พระศิวะ พระพรหม และ พระวิษณุ” ในขณะที่ Prof. Dr. Ravindra Vasishtha และ ผศ. ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา แปลว่า “พระศิวะผู้ยิ่งใหญ่” สำหรับเนื้อหาด้านที่ 2 จากการแปลของ เทิม มีเต็ม คือ “สายสัมพันธ์ประจำเผ่า” ส่วนท่านอื่นๆ ยังไม่สามารถวินิจฉัยได้ |
จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2995/38, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2995/38, จส. 2995/38, จส. 2995/38, 4/29 ตราดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2995/38, 4/29 ตราดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2995/38, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล ตราดินเผา, พระศิวะ, พระพรหม, พระวิษณุ, เมืองจันเสน, ตำบลจันเสน, อำเภอตาคลี, จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ชะเอม แก้วคล้าย, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ยังไม่มีหน้า, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์จันเสน นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เหลือง |
พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ |
พุทธศตวรรษ 10-11 และ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2111?lang=th |
77 |
จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 4 (เลขทะเบียน 1612/36) |
ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
เนื้อหาจากการอ่าน-แปลของ Prof. Dr. Ravindra Vasishtha และ ผศ. ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา หมายถึง “ผู้หญิงที่สามารถ (มีอำนาจ)” ส่วนของ ผศ. กรรณิการ์ วิมลเกษม และอาจารย์ ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย หมายถึง “บอกแล้ว” |
จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 1612/36, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 1612/36, จส. 1612/36, จส. 1612/36, ตรา (sealings) ดินเผา สีดำ รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, 4/11 ตราดินเผา เลขทะเบียน 1612/36, 4/11 ตราดินเผา เลขทะเบียน 1612/36, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เหลือง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2066?lang=th |
78 |
จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 3 |
พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
กล่าวถึงพระนามของพระศิวะผู้ยิ่งใหญ่ |
จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ (สภาพชำรุด หักหายไปครึ่งหนึ่ง), 3/31 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, 3/31 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล สภาพชำรุด, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เหลือง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี |
พุทธศตวรรษ 10-11 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2064?lang=th |
79 |
จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 2 |
ปัลลวะ |
ข้อความที่มีความหมายว่า “ขอให้ท่านจงชนะ” หรือ “ชนะแล้ว” |
จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ (ทรงกลม สภาพชำรุด), 3/29 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, 3/29 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เหลือง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2059?lang=th |
80 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 2032/2518 |
ปัลลวะ |
ปรากฏคำว่า “ปรม” ซึ่งมีความหมายว่า ยอดเยี่ยม หรือ อาจเป็นชื่อบุคคลก็ได้ |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 2032/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 2032/2518, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 6, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 6, 2032/2518, 2032/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2054?lang=th |
81 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1721/2518 |
ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
เนื้อหาของจารึกทางด้านหน้ากล่าวถึงพระนามของพระศิวะผู้ยิ่งใหญ่ ส่วนจารึกทางด้านข้างเป็นข้อความที่อาจหมายถึง “บรรจุแล้ว” |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1721/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1721/2518, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, 1721/2518, 1721/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล สภาพชำรุด, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 10-11, 11-12 |
สันสกฤต,บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2071?lang=th |
82 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1706/2518 |
ปัลลวะ |
ระบุถึงข้อความว่า “ย ต” ซึ่งยังไม่สามารถวินิจฉัยหรือวิเคราะห์ความหมายได้ |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1706/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1706/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาล รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
ยังไม่เป็นที่ยุติ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14290?lang=th |
83 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1694/2518 |
ปัลลวะ |
ระบุคำว่า “ศรี” และเครื่องหมาย โอม |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1694/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1694/2518, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 2, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 2, 1694/2518, 1694/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11-12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2048?lang=th |
84 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 215/2502 |
พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
ไม่สามารถจับใจความได้ |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 215/2502, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 215/2502, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 1, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 1, 215/2502, 215/2502, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 10-11 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2046?lang=th |
85 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 58/2510 |
ปัลลวะ |
ระบุถึงคำที่มีความหมายว่าความสุขหรือความสวัสดี |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 58/2510, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 58/2510, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 4, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 4, 58/2510, 58/2510, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาล รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2050?lang=th |
86 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 17/4 |
พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
คำแปลของจารึกนี้ยังไม่เป็นที่ยุติ กล่าวคือ ผศ.ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา วิเคราะห์ว่าเป็นอักษรพราหมี อ่านว่า ชิ แต่ยังไม่ทราบความหมาย ในขณะที่ ผศ. กรรณิการ์ วิมลเกษม มีความคิดเห็นว่าอาจเป็นเลข 3 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 17/4, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 17/4, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 5, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 5, 17/4, 17/4, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล ทรงกรวย, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 10-11 |
ยังไม่เป็นที่ยุติ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2084?lang=th |
87 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 3/20 |
ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
เนื้อหาของจารึกทางด้านหน้ากล่าวถึงพระนามของพระศิวะผู้ยิ่งใหญ่ ส่วนจารึกทางด้านข้าง ยังไม่สามารถวินิจฉัยได้ |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 3/20, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 3/20, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 3, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 3, 3/20, 3/20, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 10-11, 12-13 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2068?lang=th |
88 |
จารึกบนฐานประติมากรรม |
ปัลลวะ |
เนื้อหาของจารึกหลักนี้เกี่ยวกับหลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนาเรื่องทุกข์ และปฏิจจสมุปบาท |
จารึกบนฐานประติมากรรม, ศิลา, ฐานประติมากรรม, แผ่นหิน, ประตูแสนงอน, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อำเภอศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, ศรีเทพ, ทวารวดี, พุทธศาสนา, ทุกข์, ปฏิจจสมุปบาท, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, อุไรศรี วระศริน, จารึกที่เมืองศรีเทพ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, อุไรศรี วระศริน, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกที่เมืองศรีเทพ, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, กรมศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-13, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานประติมากรรม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 11-13 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/285?lang=th |
89 |
จารึกบนซี่ล้อพระธรรมจักร |
ปัลลวะ |
ด้านที่ 1 มีข้อความที่จารึกว่า “สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส” พิจารณาตามรูปคำจารึกแล้ว เป็นภาษาบาลี ข้อความดังกล่าวนี้ เป็นอย่างเดียวกันกับข้อความที่มีปรากฏอยู่ในปาฐ “ปฏิจฺจสมุปฺปาท” หรือ อย่างที่เรียกกันว่า “ปัจยาการ” ที่ขึ้นต้นประโยคด้วยคำว่า “อวิชฺชา ปจฺจยา สงฺขารา ฯลฯ” ดังนี้เป็นต้น ส่วนข้อความที่จารึกว่า “เวทนานิโรธา ตณหานิโรโธ” พิจารณาตามรูปคำจารึกแล้วเป็นภาษาบาลีเช่นกัน และอยู่ใน “ปฏิจจสมุปปาท” เช่นกัน โดยคาถาทั้ง 2 บทนี้ รวมอยู่ใน พระวินัยปิฎก หมวดมหาขันธกะ มีเนื้อเรื่องโดยย่อว่า “พระผู้มีพระภาคตรัสรู้ใหม่ ประทับ ณ โคนไม้โพธิริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในตำบลอุรุเวลา พระองค์ประทับนั่งเสวยวิมุติสุข ณ โคนไม้โพธิตลอด 7 วัน ในเวลาปฐมยามแห่งราตรี ทรงพิจารณา ปฏิจจสมุปบาท (ธรรมที่เกิดขึ้นเพระอาศัยเหตุปัจจัย) สายเกิด แล้วทรงเปล่งอุทาน ความว่า เมื่อธรรมปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เขาย่อมสิ้นความสงสัย เพราะรู้ธรรมพร้อมทั้งต้นเหตุ ในเวลามัชฌิมยามแห่งราตรี ทรงพิจารณา ปฏิจจสมุปบาทสายดับ แล้ว ทรงเปล่งอุทานความว่า เมื่อธรรมปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เขาย่อมสิ้นความสงสัย เพราะได้ทราบถึงความสิ้นไปแห่งปัจจัย ในเวลาปัจฉิมยามแห่งราตรี ทรงพิจารณา ปฏิจจสมุปบาท ทั้งโดยอนุโลม (ตามลำดับ) และโดยปฏิโลม (ย้อนลำดับ) แล้วทรงเปล่งอุทานความว่า เมื่อธรรมปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ พราหมณ์นั่นย่อมกำจัดมารพร้อมทั้งเสนาเสียได้ ดั่งดวงอาทิตย์ทำท้องฟ้าให้สว่างฉะนั้น” (พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, หน้า 212) ข้อความเต็มของอนุโลมและปฏิโลมนั้นมีอยู่ในโพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ ความดังนี้คือ ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้ ปฏิจจสมุปบาท ปฏิโลม เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส จึงดับ เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้ |
จารึกธรรมจักร 4 (ลพบุรี), จารึกธรรมจักร 4 (ลพบุรี), ลบ. 14, ลบ. 14, จารึกบนซี่ล้อพระธรรมจักร, ศิลา, ฐานสี่เหลี่ยม, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ, จังหวัดลพบุรี, ตำบลท่าหิน, ทวารวดี, พุทธศาสนา, สฬายตนะ, ผัสสะ, ปัจจัย, ปฏิจจสมุปบาท, เวทนา, ตัณหา, นิโรธ, ความดับ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนธรรมจักร, ลักษณะ-จารึกบนซี่ล้อธรรมจักร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/164?lang=th |
90 |
จารึกธรรมจักร (นครปฐม) |
ปัลลวะ |
คาถาที่ปรากฏอยู่นี้ อาจเรียกอย่างง่ายๆ ว่า “คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4” โดยมีเนื้อหากล่าวเปรียบเทียบว่า จักร คือ พระธรรมของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงถึงอริยสัจจ์ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค โดยหมุนวนครบ 3 รอบ เป็นสัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ มีอาการ 12 อย่าง คำพรรณนาเช่นนี้ ยังพบได้ใน จารึกเสาแปดเหลี่ยม (ซับจำปา) (หรือ ลบ. 17) และ จารึกฐานรองพระธรรมจักร (สพ. 1) แต่จะมีคำต่างกันเล็กน้อย คือ ในจารึกทั้ง 2 ที่กล่าวข้างต้นจะใช้คำว่า “วตฺตํ” แต่ในขณะที่จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม) นี้ จะใช้คำว่า “วฏฺฏํ” สำหรับคำจารึกนี้ ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้กล่าวเกี่ยวกับที่มาว่า “เราไม่สามารถที่จะค้นหาที่มาอย่างถูกต้อง ของคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ได้ เพราะเหตุว่าคำนี้มีกล่าวอยู่ทั่วไปในคัมภีร์ต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา สำหรับการแสดงถึงญาณ 3 ประการที่เกี่ยวกับพระอริยสัจ 4 คือเกี่ยวกับกิจที่จะต้องกระทำ และกิจที่ได้ทำแล้วนั้น เราจะเห็นว่ามีอยู่ในหนังสือมหาวัคค์ แห่งพระวินัยปิฏก เช่นเดียวกับในหนังสือของพระอรรถกถาจารย์ คือ สมันตปาสาทิกา แต่จารึกบนกำนั้นได้ให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ 4 อย่าง (อัตถ) แห่งความจริงของมรรค คือ การนำ เหตุ การเห็น และความสามารถ ข้อความนี้อาจจะมาจากคัมภีร์ ปฏิสัมภิทามัคค์ หรือ จากหนังสือวิสุทธิมัคค์ ของพระพุทธโฆส และจากหนังสืออธิบายของพระธัมมปาละ ทั้งสองเล่มนี้ แต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 10 อย่างไรก็ดี คำสั่งสอนนี้ก็เป็นคำสั่งสอนที่มีอยู่ในหนังสือทุกสมัย เป็นต้นว่า ในหนังสือสารัตถสมุจจัย ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายของภาณวาร และคงจะแต่งขึ้นในรัชกาลของพระเจ้าปรากรมพาหุแห่งเกาะลังกา (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 18) จารึกที่มีลักษณะเป็นพิเศษที่สุดก็คือ จารึกบนดุม ได้แก่ จารึกบนขอบชั้นใน (ดุม 1) เพราะจารึกบนขอบชั้นนอก (ดุม 2) นั้นเป็นจารึกที่ไม่มีแบบที่ไหนเลย จารึกบนขอบชั้นใน (ดุม 1) เป็นคาถา ซึ่งแม้ว่าจะเห็นกันอยู่เสมอ แต่เมื่อมีสัมผัสรับกันอยู่เช่นนี้ ก็เห็นได้ว่าคงจะลอกมาจากที่อื่นทั้งคาถา ตามความรู้ของข้าพเจ้า คาถาบทนี้ไม่ได้มีอยู่ในคัมภีร์อื่นๆ อีกเลย นอกจากในหนังสือสารัตถสมุจจัย และปฐมสมโพธิ ซึ่งได้กล่าวถึงประโยชน์ 4 อย่างของมรรคด้วย แต่อายุหนังสือเหล่านี้ ก็อ่อนกว่าอายุของตัวอักษรที่ใช้จารึกบนพระธรรมจักร ซึ่งพบที่พระปฐมเจดีย์นี้เป็นแน่นอน เราจึงไม่อาจจะกล่าวได้ว่า หนังสือเล่มหนึ่งเล่มใดในสองเล่มข้างต้น เป็นที่มาของคาถาที่จารึกบนขอบดุมชั้นใน (ดุม 1) ของพระธรรมจักรได้ สิ่งที่ควรค้นหาก็คือ ที่มาของจารึกและหนังสือทั้งสองเล่มนั้น แต่ในที่นี้ เราไม่อาจจะกล่าวอะไรยิ่งไปกว่านี้ได้” |
จารึกธรรมจักร (นครปฐม), จารึกธรรมจักร (กท. 29), จารึกธรรมจักร (กท. 29), จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม), จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม), กท. 29, กท. 29, พระธรรมจักรศิลา จารึกภาษาบาลี ได้มาจากจังหวัดนครปฐม, ศิลา, รูปธรรมจักร, บริเวณพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ญาณ, ความหยั่งรู้, ความจริง, กิจ, ล้อ, อาการ 12, อาการ 12, บ่อเกิด, เหตุ, การดับ, พระธรรม, มัคคสัจจ์, อริยสัจจ์ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, สัจจญาณ, กิจจญาณ, กตญาณ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, Gorge Cœdès, Artibus Asiae, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนธรรมจักร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/160?lang=th |
91 |
จารึกธรรมจักร (ชัยนาท) |
ปัลลวะ |
เนื้อความที่จารอยู่บนธรรมจักรองค์นี้ เป็นความที่คัดมาจาก ข้อที่ 16 ของเรื่องปฐมเทศนา ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มีเนื้อหาโดยย่อว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงกรุงพาราณสีแล้ว ครั้งแรกภิกษุปัญจวัคคีย์ แสดงอาการกระด้างกระเดื่อง แต่เมื่อทรงเตือนให้นึกถึงว่า เมื่อก่อนพระองค์ไม่เคยตรัสบอกเลยว่าตรัสรู้ บัดนี้ตรัสบอกแล้ว จึงควรตั้งใจฟัง ก็พากันตั้งใจฟัง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โดยมีความตอนที่เกี่ยวข้องกับคำจารึกแปลได้ว่า [15] “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขอริยสัจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแลความกำหนดรู้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแล เราก็ได้กำหนดรู้แล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล ควรละเสีย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล เราได้ละแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแล ควรทำให้แจ้ง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแล เราทำให้แจ้งแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล ควรให้เจริญ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล เราให้เจริญแล้ว” |
จารึกธรรมจักร (ชัยนาท), จารึกธรรมจักร 2 (มโนรมย์), จารึกธรรมจักร 2 (มโนรมย์), ชน. 14, ชน. 14 วัตถุจารึก: ศิลา, ธรรมจักร, ตำบลหางน้ำสาคร, อำเภอมโนรมย์, จังหวัดชัยนาท, ทวารวดี, ทุกขอริยสัจ, ทุกขสมุทยอริยสัจ, ทุกขนิโรธอริยสัจ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปาอริยสัจ, มหาขันธกะ, มหาวรรค, จักษุ, ญาณ, ปัญญา, วิทยา, แสงสว่าง, ธรรม, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนธรรมจักร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
นายแพทย์สำนวน ปาลวัฒน์วิไชย จังหวัดชัยนาท |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/82?lang=th |
92 |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 4 |
ปัลลวะ |
จารึกอักษร ย ในภาษาสันสกฤตซึ่งหมายถึง พระนางลักษมี |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 4, จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 4, รอ. 7, รอ. 7, หินกรุผนังข้างบ่อน้ำ, แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน, บ้านหนองคูณ, ตำบลเด่นราษฎร์, กิ่งอำเภอหนองฮี, จังหวัดร้อยเอ็ด, สำนักศิลปากรที่ 10, สำนักศิลปากรที่ 10, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18782?lang=th |
93 |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 3 |
ปัลลวะ |
จารึกอักษร ป ในภาษาสันสกฤตซึ่งหมายถึง พระนางปารพตี |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 3, จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 3, รอ. 7, รอ. 7, หินกรุผนังข้างบ่อน้ำ, แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน, บ้านหนองคูณ, ตำบลเด่นราษฎร์, กิ่งอำเภอหนองฮี, จังหวัดร้อยเอ็ด, สำนักศิลปากรที่ 10, สำนักศิลปากรที่ 10, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18780?lang=th |
94 |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 2 |
ปัลลวะ |
จารึกอักษร ช ในภาษาสันสกฤตซึ่งหมายถึง พระวิษณุ |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 2, จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 2, รอ. 7, รอ. 7, หินกรุผนังข้างบ่อน้ำ, แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน, บ้านหนองคูณ, ตำบลเด่นราษฎร์, กิ่งอำเภอหนองฮี, จังหวัดร้อยเอ็ด, สำนักศิลปากรที่ 10, สำนักศิลปากรที่ 10, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18778?lang=th |
95 |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 1 |
ปัลลวะ |
จารึกอักษร ล ในภาษาสันสกฤตซึ่งหมายถึง พระศิวะ |
จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 1, จารึกที่บ่อน้ำบริเวณแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน 1, รอ. 7, รอ. 7, หินกรุผนังข้างบ่อน้ำ, แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน, บ้านหนองคูณ, ตำบลเด่นราษฎร์, กิ่งอำเภอหนองฮี, จังหวัดร้อยเอ็ด, สำนักศิลปากรที่ 10, สำนักศิลปากรที่ 10, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18776?lang=th |
96 |
จารึกถ้ำเป็ดทองด้านใน |
ปัลลวะ |
เนื่องจากจารึกถ้ำเป็ดทอง 1 (ด้านใน) นี้ จารึกยังไม่เสร็จทำให้เนื้อความที่ได้ไม่สมบูรณ์ ทราบแต่เพียงว่ากล่าวถึงบิดาและมารดา แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบเนื้อหาของจารึกถ้ำเป็ดทอง 1 (ด้านใน) กับจารึกที่พบในกัมพูชา 2 หลัก คือ จารึกจรวยอัมปิล (Črûoy Ampĭl) (K. 116) และ จารึกถมอแกร (Thma Krê) (K. 122) แล้วพบว่าน่าจะมีข้อความเดียวกัน ดังนั้นจึงขอนำเนื้อหาของจารึกทั้ง 2 หลักดังกล่าวมาใช้แทนเนื้อหาของจารึกถ้ำเป็ดทอง 1 (ด้านใน) ซึ่งมีดังนี้คือ จารึกถ้ำเป็ดทอง 1 (ด้านใน) นี้ น่าจะทำขึ้นโดยรับสั่งของเจ้าชายจิตรเสน แห่งเมืองเศรษฐปุระ หรือ ที่ปัจจุบันรู้จักกันในนาม “อาณาจักรเจนละ” โดยในขณะนั้น ยังมิได้ทรงขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงขอพระบรมราชานุญาตพระราชบิดาและพระราชมารดา สถาปนาพระศิวลึงค์ขึ้นด้วยความเคารพ อันแสดงให้เห็นว่าเจ้าชายจิตรเสนทรงนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย |
บร. 3, บร. 3, จารึกถ้ำเป็ดทอง 1 (ด้านใน), จารึกถ้ำเป็ดทอง 1 (ด้านใน), จารึกถ้ำเป็ดทองด้านใน, K. 513, ศิลา, ผนังภายในถ้ำ, ถ้ำเป็ดทอง ตำบลประคำ อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลปะคำ อำเภอปะคำ, เจนละ, เศรษฐปุระ, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, มเหนทรวรมัน, ไศวนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, การสถาปนาพระศิวลึงค์, การประดิษฐานพระศิวลึงค์, ตรงใจ หุตางกูร, M. L. Finot, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient III, Erik Seidenfaden, Bulletin de l’École, Française d’Éxtrême-Orient XXII, R. C. Majumdar, Inscriptions of Kambuja, George Cœdès, Inscriptions du Combodge vol. II, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนผนังถ้ำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำเป็ดทอง บุรีรัมย์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเศรษฐปุระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเศรษฐปุระ-เจ้าชายจิตรเสน, ไม่มีรูป |
ถ้ำเป็ดทอง ฝายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3 (ฝายปะคำ) โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปลายมาศ สำนักชลประทานที่ 3 กรมชลประทาน ตำบลโคกมะม่วง อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ (บันทึกข้อมูลวันที่ 6/3/2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/533?lang=th |
97 |
จารึกถ้ำเป็ดทองด้านนอก |
ปัลลวะ |
เป็นการประกาศเกียรติคุณของพระเจ้ามเหนทรวรมัน |
บร. 4, บร. 4, K. 514, จารึกถ้ำเป็ดทองด้านนอก, จารึกถ้ำเป็ดทอง 2 (ด้านนอก), จารึกถ้ำเป็ดทอง 2 (ด้านนอก), ศิลา, ผนังถ้ำ, ถ้ำเป็ดทอง ตำบลประคำ อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลปะคำ, อำเภอปะคำ, เจนละ, เศรษฐปุระ, จิตรเสน, มเหนทรวรมัน, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนผนังถ้ำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำเป็ดทอง บุรีรัมย์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเศรษฐปุระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเศรษฐปุระ-เจ้าชายจิตรเสน, ไม่มีรูป |
ถ้ำเป็ดทอง ฝายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3 (ฝายปะคำ) โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปลายมาศ สำนักชลประทานที่ 3 กรมชลประทาน ตำบลโคกมะม่วง อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ (สำรวจข้อมูล 3 มีนาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/535?lang=th |
98 |
จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี |
ปัลลวะ |
เป็นจารึกที่อาจเป็นการบอกชื่อของผู้สร้างพระพุทธรูป ในที่นี้คือ ฤษีสมาธิคุปตะ หรือ พระศรีสมาธิคุปตะ ว่าเป็น ผู้บริสุทธิ์ ด้วยการทำบุญ |
รบ. 1, รบ. 1, หลักที่ 22 จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี, หลักที่ 22 จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี, จารึกที่ 22 จารึกในถ้ำฤษี เขางู จังหวัดราชบุรี, จารึกที่ 22 จารึกในถ้ำฤษี เขางู จังหวัดราชบุรี, จารึกถ้ำฤๅษีเขางูเมืองราชบุรี, ศิลา, ฐานพระพุทธรูป, ถ้ำฤๅษีเขางู จังหวัดราชบุรี, วัดเขางู, ตำบลเจดีย์หัก, ทวารวดี, ฤษีศรีสมาธิคุปตะ, พระศรีสมาธิคุปตะ, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ฤๅษี, ฤษี, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 : จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ และประเทศราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปศิลา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเขางู ราชบุรี, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระศรีสมาธิคุปตะ |
ถ้ำฤๅษีเขางู วัดเขางู ตำบลเจดีย์หัก อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/66?lang=th |
99 |
จารึกถ้ำภูหมาไน |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสน กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ทรงได้ชัยชนะเหนือกัมพูประเทศ และได้เฉลิมพระนามว่า “ศรีมเหนทรวรมัน” อีกทั้งโปรดให้สร้างรูปเคารพต่างๆ ในลัทธิไศวนิกายไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะของพระองค์ ซึ่งในจารึกถ้ำภูหมาไน (อบ. 9) นี้ เป็นการสร้างพระโค ซึ่งน่าจะหมายถึง “โคนนทิ” พาหนะของพระศิวะนั่นเอง ดังนั้น จากจารึกทั้ง 7 หลักนี้ จึงเป็นหลักฐานอย่างดีว่า อารยธรรมแถบลุ่มแม่น้ำชี และลุ่มแม่น้ำมูลในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 นั้น มีผู้นำของอาณาจักรนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย “จิตรเสน” เป็นพระนามของเจ้าชายผู้ทรงเป็นพระญาติกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 (พ.ศ. 1141-1150) กษัตริย์แห่งอาณาจักรเจนละ ต่อมาเจ้าชายจิตรเสนได้ครองราชสมบัติ ฉลองพระนามเป็น พระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150-1159) |
อบ.9, จารึกถ้ำปราสาท, จารึกถ้ำภูหมาไน, K.509, ศิลา, ฐานรูปเคารพ, ถ้ำปราสาท (หรือ ถ้ำภูหมาไน) อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระอิศวร, พระโค, ศิวลึงค์, โคนนทิ, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, ศรีวีรวรมัน, ศรีสารวเภามะ, ศรีภววรมัน, ไศวนิกาย พราหมณ์, ฮินดู, ราชาภิเษก, การสถาปนาพระโค, การประดิษฐานพระโค, ตรงใจ หุตางกูร, Auguste Barth, “Inscription Sanscrite du Phou Lokhon (Loas)," Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient III, Erik Seidenfaden, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXII, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXII, Ramesh Chandra Marjumdar, Inscriptions of Kambuja, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, โบราณคดีเขื่อนปากมูล, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสร้างรูปเคารพ, เรื่อง-การสร้างศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าจิตรเสน, บุคคล-พระเจ้ามเหนทรวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (สำรวจข้อมูล 4 มกราคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/685?lang=th |
100 |
จารึกถ้ำนารายณ์ |
ปัลลวะ |
เป็นการเฉลิมฉลองปูชนียวัตถุ โดยการนำของพ่อลุงสินายธะพร้อมกับชาวเมืองอนุราธปุระ |
จารึกถ้ำนารายณ์, สบ. 1, สบ. 1, จารึกถ้ำเขาวง, จารึกบนผนังปากถ้ำนารายณ์วัตถุจารึก, ศิลา, พื้นผนังปากถ้ำ, ปากถ้ำนารายณ์, ถ้ำเขาวง, ตำบลเขาวง, อำเภอพระพุทธบาท, จังหวัดสระบุรี, ทวารวดี, กัณฑราชัย, พ่อลุงสินาธะ, อนุราธปุระ, การประดิษฐานปูชนียวัตถุ, การเฉลิมฉลอง, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, พงศ์เกษม สนธิไทย, ข่าวสารมอญ,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนผนังถ้ำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกถ้ำนารายณ์ สระบุรี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-พ่อลุงสินายธะ |
บนผนังปากถ้ำนารายณ์ ด้านเหนือ ตำบลเขาวง อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/279?lang=th |
101 |
จารึกดอนเมืองเตย |
ปัลลวะ |
กล่าวถึงพระศรีมานประวรเสนะ ผู้เป็นใหญ่ในเมืองศังขปุระ และการสร้างลิงคโลก ซึ่งบุตรีของโกรญจพาหุ คนที่สิบสองที่ได้เป็นผู้มีอำนาจได้สร้างไว้ ข้อความในจารึกแสดงว่าโบราณสถานแห่งนี้ สร้างขึ้นเพื่อเป็นศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ที่นับถือพระศิวะ และในช่วงเวลานั้น บริเวณดอนเมืองเตย รวมทั้งชุมชนใกล้เคียงก็คงจะเคยเป็นเมืองที่มีชื่อว่า “ศังขปุระ” ซึ่งคงจะมีความสัมพันธ์ในฐานะเมืองในปกครองของอาณาจักรเจนละ ที่แผ่อำนาจเข้ามาในเขตลุ่มแม่น้ำมูล-ชี ในช่วงเวลาดังกล่าว ดังได้พบจารึกของกษัตริย์เจนละที่มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 12-13 เป็นจำนวนหลายหลักในจังหวัดอุบลราชธานี บุรีรัมย์ และขอนแก่น |
ยส. 6, ยส. 6, จารึกดอนเมืองเตย, ศิลา, สี่เหลี่ยมผืนผ้า, เมืองโบราณดอนเมืองเตย, ดงเมืองเตย, บ้านสงเปือย, สงเปือย, คำเขื่อนแก้ว, ยโสธร, เจนละ, ศรีมานปรวรเสน, ศรีโกรญจพาหุ, ศรีธรรมโสนะ, ศังขบุรี, พุทธศาสนา, พระสัทธรรม, ธรรม, มหายาน, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ทะเบียนโบราณสถาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เล่ม 1 จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร, เทิม มีเต็ม, ชะเอม แก้วคล้าย, เมืองอุบลราชธานี, กรมศิลปากร, แหล่งท่องเที่ยวอีสานล่าง, นพวรรณ สิริเวชกุล, วัฒนธรรมไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สร้างพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองศังขปุระ, บุคคล-พระศรีมานประวรเสนะ, บุคคล-โกรญจพาหุ |
สำนักสงฆ์ดงเมืองเตยซึ่งอยู่ในบริเวณโบราณสถานดงเมืองเตย บ้านสงเปือย ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร (สำรวจข้อมูลเมื่อ 3 มีนาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/326?lang=th |
102 |
จารึกฐานรูปเคารพแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน |
ปัลลวะ |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงพระเจ้าจิตรเสนซึ่งได้เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงมีพระปัญญาปราดเปรื่อง ทรงโปรดให้สร้างรูปพระโคเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อพระศิวะ |
จารึกฐานรูปเคารพแหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน, ซากโบราณสถานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน บ้านหนองฮี ตำบลเด่นราษฎร์ กิ่งอำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด, พระเจ้าจิตรเสน, พระศิวะ, นวพรรณ ภัทรมูล, ทศพร ศรีสมาน, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานรูปเคารพ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด (สำรวจเมื่อ 3 กันยายน 2563) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19117?lang=th |
103 |
จารึกฐานรองพระธรรมจักร |
ปัลลวะ |
คาถาที่จารึกนี้ อาจเรียกอย่างง่ายๆ ได้ว่า “คำพรรณาถึงพระอริยสัจ 4” ซึ่งเป็นคาถาบทหนึ่งกล่าวว่า ธรรมจักรนี้เป็นของพระพุทธเจ้า ประกอบด้วย อริยสัจ 4 เมื่อหมุนธรรมจักร 3 รอบ จะเกิดอาการ 12 ประการของ สัจจญาณ กิจจญาณ และกตญาณ คาถาบทนี้ มีปรากฏบน ขอบชั้นใน (ดุม 1) ของ “จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม)” หรือ “กท. 29” มีความตรงกับทุกประการ นอกจากนี้ยังพบว่า เป็นคาถา 1 ใน 4 ที่จารึกบน “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)” หรือ “ลบ. 17” ด้วยเช่นกัน ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้อธิบายถึงความสำคัญของคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้ในคราวที่ท่านเขียนถึงจารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม) (เดิมคือ จารึกธรรมจักร กท. 29) ใน Artibus Asiae, vol. XIX, 1956 ไว้ว่า คาถาบทนี้ ไม่สามารถที่จะค้นหาที่มาอย่างถูกต้องได้ เนื่องจากคาถานี้ มีกล่าวอยู่ทั่วไปในคัมภีร์ต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา สำหรับการแสดงถึงญาณ 3 ประการที่เกี่ยวกับพระอริยสัจ 4 คือ เกี่ยวกับกิจที่จะต้องกระทำและกิจที่ได้ทำแล้วนั้น มีอยู่ในหนังสือ “มหาวัคค์ พระวินัยปิฎก” เช่นเดียวกับในหนังสือของพระอรรถกถาจารย์คือ “สมันตปาสาทิกา” แต่ก็ไม่ใช่ทั้งหมดที่ปรากฏบนจารึก เนื่องจากบนจารึกมีความจารึกเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ 4 อย่าง แห่งความจริงของมรรค คือ การนำ เหตุ การเห็น และความสามารถ ดังนั้น ข้อความบนจารึกนี้ อาจนำมาจากคัมภีร์ “ปฏิสัมภิทามัคค์” หรือ จากหนังสือ “วิสุทธิมัคค์” ของพระพุทธโฆส และจากหนังสืออธิบายของพระธัมมปาละ ทั้งสองเล่มนี้แต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 10 อย่างไรก็ดี คำสั่งสอนนี้ ก็เป็นคำสั่งสอนที่มีอยู่ในหนังสือทุกสมัย เป็นต้นว่าในหนังสือ “สารัตถสมุจจัย” ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายของภาณวาร และคงจะแต่งขึ้นในรัชกาลของพระเจ้าปรากรมพาหุแห่งเกาะลังกา (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 18) อย่างไรก็ตาม ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้ให้ความเห็นว่า ตามความรู้ของท่าน คาถาบทนี้ ไม่ได้มีอยู่ในคัมภีร์อื่นๆ อีกเลย นอกจากในหนังสือ “สารัตถสมุจจัย” และ “ปฐมสมโพธิ” คำจารึกของจารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม) และ จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา) นั้น เมื่อแปลแล้วได้ความดังนี้คือ “ธรรมจักรประกอบด้วยญาณ 3 ประการ คือความหยั่งรู้เกี่ยวกับความจริง เกี่ยวกับกิจที่ต้องกระทำ และเกี่ยวกับกิจที่ได้กระทำแล้ว หมุน 3 รอบ 4 ครั้ง มีอาการ 12 คือ ธรรมจักรของพระพุทธเจ้า” เปรียบเทียบกับเนื้อหาใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เรื่อง “ญาณทัสสนะมีรอบ 3 มีอาการ 12” ได้ดังนี้คือ “[16] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงของเราในอริยสัจ 4 นี้ มีรอบ 3 มีอาการ 12 อย่างนี้ ยังไม่หมดจดดีแล้ว เพียงใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรายังยืนยันไม่ได้ว่า เป็นผู้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงของเราในอริยสัจ 4 นี้ มีรอบ 3 มีอาการ 12 อย่างนี้ หมดจดดีแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้น เราจึงยืนยันได้ว่า เป็นผู้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทวดา และมนุษย์ อนึ่ง ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราว่า ความพ้นวิเศษของเราไม่กลับกำเริบ ชาตินี้เป็นที่สุด ภพใหม่ไม่มีต่อไป ...” เปรียบเทียบกับเนื้อความใน ปฐมสมโพธิกถา พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส คือ “... แท้จริงอาการ 12 นั้น ได้แก่ ปัญญาทั้ง 3 ประการ อันพิจารณาจำแนกไปในอริยสัจทั้ง 4 สิ่งละสามๆ จึงสิริเป็นอาการ 12 ประการด้วยกันทั้งสิ้น เหตุดังนั้น อันว่าปัญญาอันพิจารณาเวียนไปในพระจตุราริยสัจธรรมเห็นปานดังนี้ จึงได้นามว่า ธรรมจักกัปปวัตตนะ ด้วยอรรถประพฤติเวียนไปในอริยสัจธรรมทั้ง 4 แลพระสูตรอันนี้จึงชื่อว่า ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ...” |
สพ. 1, สพ. 1, จารึกฐานรองพระธรรมจักร, ศิลา, ทุ่งขวาง, อำเภอกำแพงแสน, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระพุทธเจ้า, พระมเหสิเจ้า, พระธรรมจักร, อาการ 12, อาการ 12, สัจจญาณ, กิจจญาณ, กตญาณ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, G. Cœdès, Artibus Asiae XIX, ยอร์ช เซเดส์, ภาคผนวก : พระธรรมจักรศิลา จารึกภาษาบาลี ได้มาจากจังหวัดนครปฐม,ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล และ ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จาก Une Roue de la Loi avec inscription en Pāli provenant du site de P’ra Pathom, Artibus Asiae XIX, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, อุไรศรี วรศะริน และอัญชนา จิตสุทธิญาณ, จารึกหลักใหม่จากบริเวณจังหวัดลพบุรี,” ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย เล่ม 2, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกธรรมจักร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14, ประสาร บุญประคอง, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ธัมมจักกัปปวัตนสูตร : ญาณทัสสนะมีรอบ 3 มีอาการ 12, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/294?lang=th |
104 |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย |
ปัลลวะ |
คำจารึกที่ฐานของพระพุทธรูป เป็นการบอกเล่าว่า เจ้าปู่และลูกหลานเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ขึ้น ซึ่งอาจเป็นการสร้างขึ้นเพื่อถวายแก่วัด |
จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย, จารึกบนฐานพระพุทธยืนพบที่วัดข่อย, ลบ. 9, ลบ. 9, K. 695, Wat Khoy, ศิลา ประเภทหินทรายละเอียด, ฐานบัว พระพุทธรูปประทับยืน (พระหัตถ์ทั้งสองหัก), วัดข่อย อำเภอบ้านเซ่า จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, เจ้าปู่, พระเจ้าวิชัย, พุทธศาสนา, พุทธบูชา, พระพุทธรูป, การทำบุญ, การอุทิศ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, “หลักที่ 17 จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดข่อย," ใน ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 : จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ และประเทศราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย, G. Cœdès, Recueil des Inscriptions du Siam Deuxième Partie, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, Georges Coedes, Recueil des Inscriptions du Siam Deuxième Partie, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, พงศ์เกษม สนธิไทย, ข่าวสารมอญ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายละเอียด, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป |
มุขพระระเบียงนอกกำแพงพระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/273?lang=th |
105 |
จารึกซับจำปา 3 |
ปัลลวะ |
ศิลาจารึกชิ้นนี้คงจะเป็นชิ้นส่วนที่แตกหักจากเสาแปดเหลี่ยมที่ใช้เป็นเสารองพระธรรมจักร ซึ่งในวัฒนธรรมทวารวดีจะพบว่า เสาแปดเหลี่ยมที่ให้รองพระธรรมจักรนี้ จะนิยมจารึกพระธรรมไว้ ตัวอย่างที่สำคัญ เช่น จารึกซับจำปา 1 ซึ่งมีจารึกพระธรรมไว้ถึง 4 บท คือ เย ธมฺมาฯ คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 พุทธอุทาน และพระธรรมบท แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากข้อความที่พบบนจารึกซับจำปา 3 นี้ ไม่ครบถ้วน และอ่านได้เป็นส่วนน้อย จึงไม่สามารถหาที่มาได้ว่าเป็นข้อความที่นำมาจากพระธรรมบทใด |
จารึกซับจำปา 3, จารึกซับจำปา 3, ศิลา, ลบ. 8, ลบ. 8, เสาแปดเหลี่ยม, จารึกเมืองซับจำปา 3, จารึกเมืองซับจำปา 3, ศิลา, เสาแปดเหลี่ยม, บ้านซับจำปา, ตำบลซับจำปา, อำเภอท่าหลวง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต,บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/292?lang=th |
106 |
จารึกซับจำปา 1 |
ปัลลวะ |
จารึกเสาแปดเหลี่ยมหลักนี้ ประกอบด้วยคาถาจากพระไตรปิฎกที่สำคัญ 4 คาถา คือ (1) คาถาเย ธมฺมาฯ (2) คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 (3) พุทธอุทาน (4) คาถาธรรมบท |
จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา), จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา), ลบ. 17, ลบ.17, จารึกหลักใหม่จากบริเวณจังหวัดลพบุรี, จารึกเมืองซับจำปา 1, จารึกซับจำปา 1, จารึกเมืองซับจำปา 1, จารึกซับจำปา 1, ศิลา, เสาแปดเหลี่ยม, บ้านซับจำปา, ตำบลซับจำปา, อำเภอท่าหลวง, จังหวัดลพบุรี, อำเภอชัยบาดาล , ทวารวดี, พระคถาคต, พระมหาสมณะ, พระพุทธเจ้า, พราหมณ์, มาร, เสนา, นายช่าง, พุทธศาสนา, เย ธมฺมาฯ, เย ธมมาฯ, เย ธัมมาฯ, อริยสัจ 4, อริยสัจ 4, พุทธอุทาน, ปฏิจจสมุปบาท, ธรรมบท, ธรรม, เหตุ, ทุกข์, ธรรมจักร, ญาณ, ความหยั่งรู้, ความจริง, กิจ, อาการ 12, อาการ 12, ปัจจัย, สังสารวัฏ, ชาติ, จันทัน, นิพพาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, อุไรศรี วรศะริน, อัญชนา จิตสุทธิญาณ, ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย เล่ม 2, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/290?lang=th |
107 |
จารึกช่องสระแจง |
ปัลลวะ |
จารึกหลักนี้ เป็นจารึกที่บันทึกเรื่องราวของการขุดบ่อน้ำ ซึ่งในจารึกเรียกว่า “ศังกร ตฏาก” โดยพระเจ้า มเหนทรวรมัน แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีหลักฐานว่า พระเจ้ามเหนทรวรมันพระองค์นี้ คือกษัตริย์พระองค์เดียวกับพระเจ้ามเหนทรวรมันของอาณาจักรกัมพูชาหรือไม่ |
จารึกช่องสระแจง, Khau Sra Chaeng, Chong Sra Chaeng, ปจ. 5, ปจ. 5, K. 969, K. 969, หินทรายสีเทา, คล้ายใบเสมา, ปราสาทเขาช่องสระแจง, บ้านช่องสระแจง, ตำบลตาพระยา, อำเภอตาพระยา, จังหวัดสระแก้ว, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระอิศวร, พระกฤษณะ, พระอินทร์, ศิวลึงค์, จิตรเสน, ศรีมเหนทรวรมัน, บ่อน้ำศังกร, ไศวนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, การขุดบ่อน้ำ, ตรงใจ หุตางกูร, B. Ch. Chhabra, The Journal of the Siam Society XLIX, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ศิลปากร, ศิลปวัฒนธรรม, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้ามเหนทรวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การขุดบ่อน้ำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/63) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/64?lang=th |
108 |
จารึกจันทบูร |
ปัลลวะ |
จารึกหลักนี้ น่าจะสั่งให้ทำโดยพระเจ้าศรีอีศานวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1158-1178) และทรงรับสั่งให้นำมาประดิษฐาน ณ เทวสถานใดเทวสถานหนึ่งในเขตอำเภอเมืองฯ จังหวัดจันทบุรี เนื่องจากปรากฏข้อความที่กล่าวว่า “ศิลาที่สกัดด้วยเหล็ก ที่พระเจ้าศรีอีศานวรมันได้พระราชทานไว้” เนื้อความโดยส่วนใหญ่ เป็นรายชื่อของทาสจำนวนมาก และ โค-กระบือ ที่พระองค์ทรงอุทิศถวายไว้ให้แก่เทวสถานนั้น |
จารึกวัดทองทั่ว, จารึกวัดไชยชุมพล, จารึกวัดทองทั่ว-ไชยชุมพล, ชัยชมภูพล, จบ.3, จบ.4, จบ. 3, จบ. 4, K 502, ศิลา, วัดทองทั่ว, วัดไชยชุมพล, คลองนารายณ์, จันทบุรี, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, ศรีอีศานวรมัน, สิทธายตนะ, โปญการตัมลิงก์, อิศานวรมันที่ 1, อีศานวรมันที่ 1, อิสานวรมันที่ 1, อีสานวรมันที่ 1, อิศานวรมันที่ 1, อีศานวรมันที่ 1, อิสานวรมันที่ 1, อีสานวรมันที่ 1, พระกัมรตางอัญ, มรตาญ, มรตาญ, โกลญ, กุ, วา, มรตาง, โกลญ, อสันนะ, สุธน, สิต, รโณจรุง, มาสกันธิน, หิงเคา, รังหวญ, อังรส, อังโรก, สิ, งิ, ตขาหวะ, กะโนจ, วะโลย, นวุมี, กัมโปญ, กุนนิ, ปง, ริง, สุนทรี, ปลง, ยาง, กุยเคง, สุนธรี, ปัง, กุจิม, กันทระ, อนงค์, ยุง, หวิป, งา, โปญ, อังรส, กระบือ, ควาย, โค, วัวชื่อ, ตระปาต, ธากยุน, กัลปนา, การถวายทาส, พุทธศาสนา, มหายาน, ตรงใจ หุตางกูร, George Cœdès, Bulletin de l'École Française d’Éxtrême-Orient XXIV, Inscriptions du Cambodge vol. VII, R. C. Majumdar, Inscriptions of Kambuja, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/521?lang=th |
109 |
จารึกขลุง |
ปัลลวะ |
เนื่องจากจารึกชำรุดมาก จึงทราบแต่เพียงว่า เป็นจารึกที่กล่าวถึงการทำบุญโดยพระราชาพระองค์หนึ่งไม่ทราบพระนาม เนื่องจากตรงที่เป็นพระนามชำรุดหายไป ซึ่งอาจมีนามว่า ศรีจานทรายณนาถะ อันเป็นนามที่ปรากฏในอีกบรรทัดต่อมา |
จารึกขลุง, Khalung, K. 503, หินทรายสีแดง, ที่ว่าการอำเภอขลุง อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี, เจนละ, ศรีจานทรายณนาถะ, การบริจาค, การทำบุญ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-ศรีจานทรายณนาถะ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (ข้อมูลจากซองเก็บสำเนาจารึกของภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร-สำรวจเมื่อ 9 ธันวาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/525?lang=th |