ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 22
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 (พ.ศ.2101-2200) โดยอักษรที่พบในช่วงนี้ได้แก่ อักษรไทยอยุธยา อักษรขอมอยุธยา อักษรไทยน้อย อักษรธรรมอีสาน อักษรธรรมล้านนา อักษรฝักขาม นอกจากนี้ยังพบอักษรจีน 3 หลัก อักษรพม่า และอักษรสิงหล อย่างละ 1 หลัก สำหรับอักษรที่พบมากที่สุดในช่วงนี้ คือ อักษรฝักขาม
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
หนังสือออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา 1 |
ไทยอยุธยา |
ออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา อนุญาตให้พ่อค้าชาวเดนมาร์คเข้ามาค้าขายที่เมืองตะนาวศรีได้โดยสะดวก |
หนังสือออกพระจอมเมืองศรีราชโกษากรมการเมืองตะนาวศรี, ศุภอักษรออกยาไชยาธิบดีศรีรณรงคฤาไชยอภัยพิริยบรากรมพาหุ ออกยาตนาวศรีมหานคร ถึงเรธอธิลมาศ, พ.ศ. 2164, จ.ศ. 983, 2164, 983, ออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา, กรมการเมืองตะนาวศรี, พระหลวงหัวเมือง, กษัตริย์เดนมาร์ค, อยุธยา, พระเจ้าทรงธรรม, เดนมาร์ค, ตะนาวศรี, สยาม, กรุงศรีอยุธยา, Christian IV, คริสเตียน ที่ 5, ครัปเป, Roland Grappe, การค้าขาย, จังกอบ, ริดชา, ฤาชา, บริษัทอินเดียตะวันออกของเดนมาร์ค, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, His Highness Prince Dhani Nivat and Major Erik Seidenfaden, The Journal of the Siam Society (JSS), คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี, ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2164, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-พระเจ้าทรงธรรม, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษ, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษ-ข่อย, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เดนมาร์ค, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-เดนมาร์ค, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตะนาวศรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตะนาวศรี-ออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา, บุคคล-ออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา |
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ประเทศเดนมาร์ค |
พุทธศักราช 2164 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1181?lang=th |
2 |
หนังสือออกญาไชยาเมืองตะนาวศรี |
ไทยอยุธยา |
ออกญาไชยาธิบดีศรีรณรงค์ฤาไชย เมืองตะนาวศรี อนุญาตให้พ่อค้าชาวเดนมาร์คเข้ามาค้าขายที่เมืองตะนาวศรีโดยมีการลดหย่อนค่าจังกอบและฤาชาให้เป็นพิเศษ |
หนังสือออกญาไชยาเมืองตะนาวศรี อนุญาตให้พ่อค้าเดนมาร์คเข้ามาค้าขายยังประเทศไทย, ศุภอักษรออกยาไชยาธิบดีศรีรณรงคฤาไชยอภัยพิริยบรากรมพาหุ ออกยาตนาวศรีมหานคร ถึงเรธอธิลมาศ, จ.ศ. 983, พ.ศ. 2164, 983, 2164, ออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา, กรมการเมืองตะนาวศรี, พระหลวงหัวเมือง, กษัตริย์เดนมาร์ค, อยุธยา, พระเจ้าทรงธรรม, เดนมาร์ค, Christian IV, คริสเตียน ที่ 5, ครัปเป, Roland Grappe, การค้าขาย, จังกอบ, ริดชา, ฤาชา, บริษัทอินเดียตะวันออกของเดนมาร์ค, ออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา, อยุธยา, พระเจ้าทรงธรรม, เดนมาร์ค, ตะนาวศรี, สยาม, กรุงศรีอยุธยา, การค้าขาย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, His Highness Prince Dhani Nivat and Major Erik Seidenfaden, The Journal of the Siam Society, สำนักนายกรัฐมนตรี, ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2164, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-พระเจ้าทรงธรรม, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษ, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เดนมาร์ค, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-เดนมาร์ค, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตะนาวศรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตะนาวศรี-ออกญาไชยาธิบดีศรีรณรงค์ฤาไชย, บุคคล-ออกญาไชยาธิบดีศรีรณรงค์ฤาไชย |
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ประเทศเดนมาร์ค |
พุทธศักราช 2164 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1179?lang=th |
3 |
พระราชสาส์นถึงพระเจ้าดอนฟิลิปแห่งโปรตุเกส |
ไทยอยุธยา |
กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาโปรดให้มีพระราชสาส์นเพื่อสร้างสัมพันธไมตรีกับพระเจ้าดอนฟิลลิป กษัตริย์โปรตุเกส โดยผ่านไปทางอุปราชแห่งเมืองกัว ประเทศอินเดีย |
พระราชสาส์น อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, พระราชสาส์นถึงพระเจ้าดอนฟิลลิปแห่งโปรตุเกส, พ.ศ. 2161, 2161, สมเด็จพระเอกาทศรถ, พระเจ้าทรงธรรม, พระเจ้าดอนฟิลลิป, อุปราชแห่งเมืองกัว, ทองฝีหลิบ, พระญาปรตุการ, พระอางวะ, พระอังวะ, พระญาวีซเร, ไวซรอย, พระยาสมุทรสงคราม, สัมฤทธิ์ไมตรี, ขุนอนุชิตราชา, ราชทูต, อุปทูต, ตรีทูต, กปิตันมลเวรรีเบน, บาตรี, ปาดตรี, ปาตรีผเรผรันสีศกุตนุสียาสัง, Padre Francisco Tunisien, อยุธยา, โปรตุเกส, ปอตุเกส, พม่า, สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม, อยุธยา, โปรตุเกส, อินเดียเหตุการณ์, การเชื่อมสัมพันธไมตรี, การค้าขาย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ขจร สุขพานิช, ศิลปากร, อยุธยาคดี, ประสาร บุญประคอง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2161, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าเอกาทศรถ, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษ, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, หอสมุดบอดเลียน มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด อังกฤษ, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-โปรตุเกส, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองประเทศโปรตุเกส, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองประเทศโปรตุเกส-พระเจ้าดอนฟิลิป, บุคคล-พระเจ้าดอนฟิลิป, ไม่มีรุป |
หอสมุด Bodleian มหาวิทยาลัย Oxford ประเทศอังกฤษ |
พุทธศักราช 2161 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1390?lang=th |
4 |
จารึกแผ่นทองแดงวัดไชยวัฒนาราม |
ขอมอยุธยา |
เนื้อหาในจารึกแสดงหลักธรรมที่สำคัญที่สุดของพุทธศาสนา คือ ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งว่าด้วยกฎธรรมชาติของชีวิต ส่วนประกอบของปฏิจจสมุปบาท ได้แก่ อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ และชรามรณะ |
ปฏิจจสมุปบาท, พระพุทธเจ้า, พระสัมพุทธเจ้า, พระธรรม, พระสงฆ์, อวิชชา, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, อายตนหก, สฬายตน, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรา, มรณะ, โสกะ, ปริเทวะ, ทุกข์, โทมนัส, อุปายาสะ, อย. 76-80, อย. 76-80, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2192, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, วัตถุ-จารึกบนทองแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดไชยวัฒนาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2192 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/634?lang=th |
5 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 20 (จ. 30) |
ขอมอยุธยา |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความในจารึกกล่าวถึง ฤกษ์ วัน และเดือน เท่านั้น |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 20 (จ. 30), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 20 (จ. 30), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1352?lang=th |
6 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 19 (จ. 29) |
ขอมอยุธยา |
ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความในจารึกกล่าวถึง ฤกษ์ วัน และเดือน เท่านั้น |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 19 (จ. 29), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 19 (จ. 29), อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1350?lang=th |
7 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 4 (จ. 46) |
ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา |
ใน พ.ศ. 2192 สัปปุรุษทั้งหลายศรัทธาเอาทองขึ้นเป็นจำนวน 20 ชั่ง |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 4 (จ. 46), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 4 (จ. 46), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2192, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2192 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1323?lang=th |
8 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 3 (จ. 51) |
ขอมอยุธยา |
กล่าวถึงการตีซ่อมแผ่นทองจำนวน 3 แผ่น โดยพระสัตกิจจ์เมื่อ พ.ศ. 2159 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 3 (จ. 51), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 3 (จ. 51), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2159, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเอกาทศรถ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-พระสัตกิจจ์ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2159 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1319?lang=th |
9 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 2 (จ. 49) |
ไทยอยุธยา |
บอกขนาดของแผ่นทอง และวันเดือนปีที่นำขึ้นสู่ปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ คือ วันอาทิตย์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 ปีมะโรง จ.ศ. 978 (พ.ศ. 2159) |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 2 (จ. 49), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 2 (จ. 49). พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2159, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเอกาทศรถ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2159 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1358?lang=th |
10 |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 1 (จ. 48) |
ขอมอยุธยา |
พระมหาศรีราชปรีชญา, ญาติ และสัปปุรุษ ร่วมกันบริจาคทองคำได้ 6 ตำลึง 3 บาท 3 สลึง นำมาตีเป็นแผ่นสรวมพระธาตุ ใน พ.ศ. 2155 ขณะที่ออกญาพัทลุงเป็นเจ้าเมืองและพระเจ้าพระครูเทพเป็นผู้รักษาพระธาตุ |
จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 1 (จ. 48), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 1 (จ. 48), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2155, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเอกาทศรถ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, บุคคล-พระมหาศรีราชปรีชญา, บุคคล-ออกญาพัทลุง, บุคคล-พระเจ้าพระครูเทพ |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2155 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1317?lang=th |
11 |
จารึกเจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว |
ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2102 เจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้วและเจ้าพวกดาบเรือนลอนพญาได้ไหว้พระเป็นเจ้า ณ โรงคำ บ้านหลอง กราบทูลเรื่องการถวายทานของชาวบ้านบ้านออกแพ และมีการให้ประดิษฐานแผ่นศิลาจารึกรายนามผู้บริจาคและสักขีพยาน หากผู้ใดมายักยอกลักเสียซึ่งของบริจาคเหล่านี้ขอให้ตกนรกอเวจี |
ชม. 5 จารึกกานโถมเวียงกุมกาม, ชม. 5 จารึกกานโถมเวียงกุมกาม, ชม. 5 จารึกเจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว พ.ศ. 2102, ชม. 5 จารึกเจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว พ.ศ. 2102, ชม. 5, ชม. 5, 1.2.1.1 วัดหลวง พ.ศ. 2103, 1.2.1.1 วัดหลวง พ.ศ. 2103, วัดช้างค้ำเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2102, อายุ-จารึก พ.ศ. 2103, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว, บุคคล-เจ้าพวกดาบเรือนลอนพญา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561) |
พุทธศักราช 2102 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13050?lang=th |
12 |
จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 5 |
ฝักขาม |
เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้ |
จารึกพญา, ลพ. 56 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 56 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 5 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ลำพูน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การถวายแผ่นหิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12862?lang=th |
13 |
จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 |
ฝักขาม |
เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้ |
จารึกพญา, ลพ. 55 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 55 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12860?lang=th |
14 |
จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 3 |
ฝักขาม |
เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้ |
จารึกพญา, ลพ. 54 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 3 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 54 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 3 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12858?lang=th |
15 |
จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 2 |
ฝักขาม |
เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้ |
จารึกพญา, ลพ. 53 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 2 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 53 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 2 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12856?lang=th |
16 |
จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 1 |
ฝักขาม |
เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้ |
จารึกพญา, ลพ. 52 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 1 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 52 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 1 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 22-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12854?lang=th |
17 |
จารึกอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกไม่สมบูรณ์ พอจับความได้ว่ากล่าวถึงการอุทิศข้าพระให้อยู่ดูแลรักษาพระพุทธรูป |
ชม. 69 จารึกอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ประมาณ พ.ศ. 2020-2120, ชม. 69 จารึกอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ประมาณ พ.ศ. 2020-3230, ชม. 69, ชม. 69, อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2020, อายุ-จารึก พ.ศ. 2120, อายุ-จารึก พ.ศ. 2010-2120, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2020-2120 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14643?lang=th |
18 |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม |
จีน |
กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็ง โดยชาวจีนแซ่ตั้ง แซ่เอี้ยและแซ่อื่นๆ ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20-22 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1956?lang=th |
19 |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ ในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ |
จีน |
กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็งด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ไต้เหม็ง, พระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20-22 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1954?lang=th |
20 |
จารึกอักษรขอมภาษาไทยพบที่กรุงพุกาม |
ขอมอยุธยา |
เนื้อหาจารึกกล่าวถึงบุคคลผู้หนึ่งที่ได้ทำทานโดยการถวายที่นาและข้าพระให้แก่วัดตอนท้ายมีการสาปแช่งผู้ใดก็ตามที่เข้ามาเบียดบังบุกรุกที่ดินนั้น |
จารึกอักษรขอมภาษาไทยพบที่กรุงพุกาม, หลักที่ 55 ศิลาจารึกอักษรขอมภาษาไทย ณ กรุงพุกาม, หลักที่ 55 ศิลาจารึกอักษรขอมภาษาไทย ณ กรุงพุกาม, พุทธศตวรรษที่ 22, พุทธศตวรรษที่ 22, การถวายที่นา, การถวายข้าพระ, การสาปแช่ง, นักษัตร, วิสาข, ฉัฐมีเกิด, อาทิตยวาร, ศุภมหุรดี, สังฆราชา, โมชฬะ, ศุภมัสดุ, นักษัตร, วิสาข, ฉัฐมีเกิด, ฉัฐมี, อาทิตยวาร, วันอาทิตย์, ทานบุญ, สังฆราชา, ตำบลโมชฬะ, แดนนา, หมื่นราชมนตรี, กฎหมายตราสามดวง, ตำแหน่งนาพลเรือน, หลวงราชมนตรี, เจ้าท่า, ขุนราชมนตรี, กรมตะพุ่น, ต่อเท่าดล, นฤพาน, นิพพาน, ประโคน, พระธรณี, พระจตุโลกบาล, อินทราธิราช, มหาบุรุษ, พระพุทธเจ้า, เท่าทราย, สี่สมุทร, มหาอพิจีนรก, เทพทัณฑ์, ชีวาเอา, เอาชีวี, สรีระ, พระเจ้า, อนุโมทนา, สาธุ, ออกขุนแก้ว, ขุนทองรักษ, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ,ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์กรุงพุกาม ประเทศพม่า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : วารสาร ศิลปากร ปีที่ 56 ฉบับที่ 4 (กันยายน-ตุลาคม 2556) |
พิพิธภัณฑ์กรุงพุกาม ประเทศพม่า |
พุทธศตวรรษ 22 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18796?lang=th |
21 |
จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุว่า ปี พ.ศ. 2124 หมื่นชลูนจ่าพร้อมด้วยภรรยาและบุตรได้สร้างพระพุทธรูป |
ชม. 27 จารึกเจ้าหมื่นชลูนจ่าฯ สร้างพระพุทธรูป, ชม. 27 จารึกเจ้าหมื่นชลูนจ่าฯ สร้างพระพุทธรูป, จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป, 1.2.1.1 วัดป้านปิง พ.ศ. 2124, 1.2.1.1 วัดป้านปิง พ.ศ. 2124, ชม. 27 จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป พ.ศ. 2124, ชม. 27 จารึกหมื่นชลูนจ่าสร้างพระพุทธรูป พ.ศ. 2124, ชม. 27, ชม. 27, วัดพระธาตุศรีจอมทอง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2124, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป้านปิง เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นชลูนจ่า |
วัดป้านปิง (ด้านหน้าพระอุโบสถ) ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15734?lang=th |
22 |
จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน |
ฝักขาม |
กล่าวถึงคำ “พระสัตย์ปฏิญาณ” ขอพระมหากษัตริย์ที่ได้ทรงรับสั่ง และทรงรับสั่งจากพระเชษฐาเกี่ยวกับการเสวยราชสมบัติและการรักใคร่สามัคคี ตามข้อความจารึกในตอนท้ายที่ว่า “หงศวดีสัตยาธิษฐาน” และ “วรสัตยาธิษฐาน” |
จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน, ลพ. 13 จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน, ลพ. 13 จารึกหงศวดีศรีสัตยาธิษฐาน, ลพ. 13, ลพ./13, พช. 23, 348, หลักที่ 84 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันตกเฉียงเหนือ, ลพ. 13, ลพ./13, พช. 23, 348, หลักที่ 84 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันตกเฉียงเหนือ, หินทรายสีแดง, ชำรุด, หลักสี่เหลี่ยม, วัดแสนข้าวห่อ (วัดร้าง), จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, ราชสมบัติ, พระสัตย์ปฏิญาณ, โทษ, นรก, ประโคนสงสาร, วรสัตยาธิษฐาน, หลักโลก, มงคลจักรพาล, จักรวาล, เทวดา, สุข, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2508) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2088?lang=th |
23 |
จารึกสมบัติขันธเสมาวัดกู่แก้ว |
ฝักขาม |
เป็นเรื่องการผูกพัทธสีมาที่วัดกู่แก้ว ดังความที่จารึกว่า “พระสงฆ์ 15 องค์ มีมหาเถรหลวงเจ้าป่า ตนได้ 44 พรรษา พระมหาสามีเจ้าป่าแดง ได้ 10 พรรษา และมหาสวนคำ 27 พรรษา ได้เป็นประธานแก่สงฆ์สมมติขันธสีมา มหาสีมา ในป่ากู่แก้ว” จารึกหลักนี้ ถ้ายุติตามศักราชแล้ว ตกราว พ.ศ. 2102 นั้น ทางล้านนาได้ตกเป็นประเทศราชของพม่า ซึ่งพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง เข้ายึดครองเมืองเชียงใหม่ไว้ได้แต่ปี พ.ศ. 2101 จาก ตำนานเมืองเชียงใหม่ และใน พงศาวดารโยนก ดังนั้นการผูกพัทธสีมาตามจารึกนี้ ควรจะอยู่ในระยะที่หมดสายราชตระกูลกษัตริย์ที่เคยครองราชสมบัติสืบๆ กันมา ตั้งแต่พระยาเม็งรายเป็นปฐมวงศ์นั้น |
จารึกสมบัติขันธเสมาวัดกู่แก้ว, จารึกสมบัติขันธสีมาวัดกู่แก้ว, ลพ. 25, ลพ. 25, ลพ./25, พช. 13, 343, ลพ. 25, ลพ. 25, ลพ./25, พช. 13, 343, พ.ศ. 2102, พุทธศักราช 2102, พ.ศ. 2102, พุทธศักราช 2102, จ.ศ. 921, จุลศักราช 921, จ.ศ. 921, จุลศักราช 921, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระสังฆเจ้า, มหาเถรหลวงเจ้าป่า, มหาสามีเจ้าป่าแดง, มหาสวนคำ, ประธาน, สงฆ์ชื่อ, ป่ากู่แก้ว, พุทธศาสนา, สมมุติขัณฑสีมา, สมมุติขัณฑเสมา, มหาสีมา, มหาเสมา, สังฆกรรม, อุปสมบทกรรม, ปีกัดเม็ด, เมง, เม็ง, มอญ, วันอังคาร, วันดับเม็ด, วัสสา, ฤกษ์, หรคุณ, ประหยา, ปัญญา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2102, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, บุคคล-มหาเถรหลวงเจ้าป่า, บุคคล-มหาสามีเจ้าป่าแดง, บุคคล-มหาคำสวน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 17 ฉบับที่ 6 (มีนาคม 2517) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2102 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2138?lang=th |
24 |
จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม |
ฝักขาม |
เจ้าสี่หมื่นเมืองพะเยาให้ฝังหินใหญ่สี่ก้อนไว้รอบบริเวณอารามทั้งสี่มุมให้เป็นหินคู่บ้านคู่เมือง แล้วประกาศให้ช่วยกันรักษาหินนี้มิให้หักหรือถูกทำลาย |
พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, หมื่นบาน, หมื่นพรม, หมื่นล่ามนา, พันเด็กชาย, สี่พันเชิงกูดี, นายร้อย, เจ้าเหนือหัว, เจ้าสี่หมื่น, เจ้าไท, เจ้านาย, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, เจ้าเหนือหัว, สัปปุริส, สี่พันเชิงคดี, สัปปุรุษ, พุทธศาสนา, โลกติลกสังฆาราม, ฝังหิน, กินเมือง, อุปาจาร, แจ่ง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังหินคู่บ้านคู่เมือง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1746?lang=th |
25 |
จารึกวัดโพธิ์คลาน |
ไทยอยุธยา |
พระยารามและออกหมื่นเทพได้ทำการหล่อระฆังขึ้นมอบแด่พระพุทธศาสนาเพื่อให้ตนได้พบพระศรีอารย์ในภายหน้า มีการบอกจำนวนทรัพย์ที่ใช้ และศักราชในตอนท้าย (พ.ศ. 2181) |
จารึกวัดโพธิ์คลาน, สพ. 11, สพ. 11, จารึกบนขอบระฆัง อักษรและภาษาไทย, หลักที่ 114 จารึกบนขอบระฆัง, หลักที่ 114 จารึกบนขอบระฆัง, พ.ศ. 2181, พุทธศักราช 2181, พ.ศ. 2181, พุทธศักราช 2181, สำริด, สัมฤทธิ์, ระฆัง, วัดโพธิ์คลาน, ตำบลพิหารแดง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ไทย, อยุธยา, พระยาราม, ออกหมื่นเทพ, ทายก, พระศรีอารย์ , ศรีอารยเมไตรย, อนาคตพุทธเจ้า, ช่าง, พุทธ, ชั่ง, วันเสาร์, เดือนยี่, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ผาสุข อินทราวุธ, พุทธศาสนาและประติมาณวิทยา (เอกสารอัดสำเนา) (กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2530), 83 – 86, อายุ-จารึก พ.ศ. 2181, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ,เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-พระยาราม, บุคคล-ออกหมื่นเทพ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศักราช 2181 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/640?lang=th |
26 |
จารึกวัดเชียงมั่น |
ฝักขาม |
กล่าวถึงประวัติการก่อสร้างวัดเชียงมั่น ตั้งแต่ พ.ศ. 1839 จนถึง พ.ศ. 2124 กล่าวคือ เมื่อ พ.ศ. 1839 พญามังรายเจ้า พญางำเมือง และพญาร่วงร่วมกันตั้งหอนอน ณ ราชมณเทียร ขุดคู ก่อกำแพงสามชั้น ทั้ง 4 ด้านและก่อพระเจดีย์ที่บ้านเชียงมั่น แล้วสร้างเป็นวัด ให้ชื่อว่าวัดเชียงมั่น ครั้นปี พ.ศ. 2014 พระดิลกราชเจ้า (พระเจ้าติโลกราช)ได้ทรงก่อพระเจดีย์ด้วยหินแลง, พ.ศ. 2101 สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้าทรงพระราชทานอ่างอาบเงิน และ พ.ศ. 2114 ได้ก่อเจดีย์คร่อมเจดีย์เดิมอีกครั้งหนึ่งมีการสร้างแปลงก่อเจดีย์วิหารอุโบสถ สร้างธรรมเสนาสนะ กำแพง ประตูจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2124 ได้มีการรวบรวมเงิน ที่ดิน และข้าพระจำนวนมากอุทิศแก่อารามแห่งนี้ |
จารึกวัดเชียงมั่น, ชม. 1, ชม. 1, หลักที่ 76 ศิลาจารึก วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่, หลักที่ 76 ศิลาจารึก วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่, ชม. 1 จารึกวัดเชียงมั่น พ.ศ. 2124, ชม. 1 จารึกวัดเชียงมั่น พ.ศ. 2124, พ.ศ. 1839, พุทธศักราช 1839, จ.ศ. 658, จุลศักราช 658, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, จ.ศ. 833, จุลศักราช 833, พ.ศ. 2101, พุทธศักราช 2101, จ.ศ. 920, จุลศักราช 920, พ.ศ. 2108, พุทธศักราช 2108, จ.ศ. 927, จุลศักราช 927, พ.ศ. 2114, พุทธศักราช 2114, จ.ศ. 933, จุลศักราช 933, พ.ศ. 2124, พุทธศักราช 2124, จ.ศ. 943, จุลศักราช 943, วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พญามังราย, พญางำเมือง, พญาร่วง, พระดิลกราชเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้า, พญาหลวง, พญาแสนหลวง, ตาคำ, ตาเงิน, พระวรโอรสาธิราชเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, มหามหินทาทิจจวังสมหาสมเด็จ, อธิบดี, ประธาน, ห้อง, เขต, หมื่นวัด, ขนานโทน, หนานโทน, พันโบสถธรรมบาล, ล่ามวัด, บุญวัง, คำพา, สาคร, บัวตรา, ญามงคล, หญิงช้อยช่างไหม, คำม้าว, อีช่างสน, นางเดียว, อีทุม, อีปอก, นางหมื่นน้อย, นางพันหรอกน้อย, หญิงหมู่เสน่ห์, สุตตา, อ้ายสัวย, อ้ายป้อม, ญีกอง, รัตมงคล, คำพ่อ, จอมผาง, หน่อคำ, เพกประหญา, บักเอา, หญิงอุ่น, ต่างครก, บุญมี, แมว, ทอน, อิน, เชียง, กวานแกว่ง, อุ่น, ลุน, เรือกลาง, ช่างเหล็กบุญ, ช่างพรมงคลยศ, ยอดครง, เพิบ, อ้ายนางเทียม, นางสังกา, บุญเกื้อ, บุญชนะ, จันทรา, เมียหน้าไม้, นางพวกหมอยาบาด, นางหมื่นวัดเก่า, ยอดคำ, วงปูกาง, อีคำ, ปาน, บะเหล็ก, อีฝ้าย, บะขวัน, บะเล็ม, บะคำ, อีนางพี, ตะญางมานข่ม, เฒ่าเมืองน้อย, เฒ่าเมืองแก้ว, นายหนังสือคลประหญา, พันน้อยหน่อคำ, พันน้อยหนา, ล่ามพันอุ่น, นายชาวคำมุน, นายชาวทน, นายชาวเรือง, นายชาวรัด, หมื่นหัวเสือ, พญาหลวงเจ้าหยาดน้ำ, ข้าคน, ลูกขุนชาวนา, หมื่นหัวเสือ, อุ่นเรือน, คะแก้วน้อย, พ่อสุด, ปู่งัว, แม่ฉาง, พ่อโตว, ชูมล่ามหมื่นแก้ว, ชูมพันขวาท้าวน้อย, ชูมญาวิเชียรแม่สา, ชูมแก้วน้อยหนองชอม, ลาวนาหอเลียบ, ชูมจ่า, ชูมต่างใจบ้านบ่อ, ชูมพันแสน, ชูมพวกนา, ชูมความเหมียง, ชูมยีผาน้อย, ชูมหมื่นต่างญางอ้อย, ชูมนางข่มมา, นางหมื่นฟ้อนเชียงดาว, นางหมื่นล่ามพราน, ข้าพระคำ, นางหมื่นอวน, อีคำพี่, อีคำน้อง, อายหลวง, ลุนเรือน, พ่อคำเรือน, พระเจ้ามนดกไหม่จัน, แก้ว, หินแลง, อ่างอาบเงิน, จังโก, จังโก๋, หอนอน, บ้านเชียงมั่น, ชัยภูมิราชมณเทียร, เมืองเชียงใหม่, ขัณฑสีมา, บ้านสวนหมากหน้าวัด, บ้านแสนสอง, พันนาอีมอ, เมืองพิงเชียงใหม่, วิหารเชียงมั่น, คือ, คู, กำแพงสามชั้น, พุทธศาสนา, เจดีย์, วิหาร, อุโบสถ, ปีฎกฆระ, ธรรมเสนาสนะ, กำแพง, ประตูขรง, อาราม, เรือนปิฎก, หอไตร, ให้ทาน, ก่อกำแพง, ก่อตรีบูร, ก่อพระเจดีย์, สร้างวัด, สร้างแปลง, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2124, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเชียงมั่น เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญามังราย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา-พ่อขุนงำเมือง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-พญามังราย, บุคคล-พ่อขุนงำเมือง, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดเชียงมั่น ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1424?lang=th |
27 |
จารึกวัดเค้าราชสถาน |
ฝักขาม |
พระสงฆ์ทั้งหลายพร้อมด้วยอาจารย์สวรมาลาได้ทำบุญและถวายส่วนบุญแก่พระเป็นเจ้าแม่ลูก โดยอุทิศที่นาแก่วัดเค้าราชสถาน พระมหาเทวีเองได้อุทิศข้าพระไว้ประจำวัดเป็นจำนวน 10 ครัว (ครอบครัว) ด้วยใจศรัทธา |
จารึกวัดเค้าราชสถาน, พย. 58, พย. 58, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยมแตกชำรุด, บ้านสบขาม, ตำบลควน, อำเภอปง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อาจารย์สวรมาลา, พระเป็นเจ้าแม่ลูก, พระมหาเทวีเจ้า, ข้าพระ, แก้ว, บุน, อุ่น, คำน้อย, สมญม, หญา, พุธขิต, จินดา, เจ้าแคว้น, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, มงคล, พวกขัน, เถ้าเมิงเทพ, เถ้าเมืองเทพมงคล, เมิงสุวันหนังสือ, เมืองสุวันหนังสือ, พรหมหนังสือปัญโญ, มหาสามี, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, เจ้าเถรานุเถร, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, จาริด, จารึก, พุทธศาสนา, ทำบุญ, อุทิศส่วนบุญ, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, ออก, วันเปิกซง้า, ไทยภาษา, พระจันทร์, ศีล, โรหิณีรืกส, โรหิณีฤกษ์, โกฐาสบุญ, ที่นา, พระราชาอาชญา, มอญ, เริน, เรือน, ครัว, เมิง, เมือง, พระพุทธรูป, อบายทั้งสี่, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-อาจารย์สวรมาลา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1832?lang=th |
28 |
จารึกวัดเกตการาม |
ฝักขาม |
กล่าวถึงพิธีฉลองพระเกสธาตุเจดีย์ (หรือ พระเกศธาตุเจดีย์) ตามด้วยรายนามข้าพระและครอบครัว ที่ถวายแก่อาราม |
ชม. 15 จารึกวัดเกตการาม พ.ศ. 2124, ชม. 15 จารึกวัดเกตการาม พ.ศ. 2124, จารึกวัดเกตการาม, ชม. 15, ชม. 15, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2121, พุทธศักราช 2121, พ.ศ. 2121, พุทธศักราช 2121, จ.ศ. 940, จุลศักราช 940, จ.ศ. 940, จุลศักราช 940, พ.ศ. 2124, พุทธศักราช 2124, พ.ศ. 2124, พุทธศักราช 2124, จ.ศ. 943, จุลศักราช 943, จ.ศ. 943, จุลศักราช 943, หินทรายสีแดง, วัดเกตการาม, ตำบลวัดเกต, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระราชครู, มหาธรรมิกราชเจ้าฟ้า, เจ้าฟ้าเมือง, หมื่นกาง, หมื่นวัดพระดาน, ยีคำน้อย, นางหมื่นใน, ตางาม, แก้วภา, พรอยพิหาร, รักษา, นายร้อยคำสุก, บุญมาโบสถ, ขหนาน, หญ้า, ชาลิหัวหนอง, ล่ามหมื่น, ยี่คำ, แก้วชายหนอง, ล่ามวัดพัน, ล่ามวัดแก้ว, เมืองต่าง, เมืองลูก, อ้ายเจา, อ้ายชิบ, อ้ายทอง, อ้ายเชียง, อ้ายบุญ, แม่ปอง, เจ้าละ, อ้ายเหล็ก, พ่อหมอคำ, พ่อคุ้ง, ชาวต่างใจ, สิบคูน, อาจารย์, อ้ายเหินคำ, อ้ายจันทร์, พ่อเฒ่า, กองบนวัง, อ้ายแก้ว, พูถวาย, อ้ายหล้า, กวานร้า, อ้ายเค้า, ประกาน, พ่อบุญ, ล่ามลำมัก, เจ้าลูก, นางหมื่นคร่าว, นางกวานนาวังครัว, แม่ท้าวครัว, แม่ล้ม, พันน้อย, อ้ายชวด, นางลองพัว, กวานคำช้อย, อ้ายกุน, อ้ายสุม, นางกวานรูด, แม่ติวล อ้ายกัณหา, อ้ายจันทร์, อ้ายเนียม, นางคำ, นางหุน, นางพัน, อ้ายหล้า, พ่อหมู่, น้าเชิน, แก้วหา, พ่อเหียง, พ่อหงำ, อ้ายเรือน, ชุมขวาไฟ, อ้ายเชียง, พ่อสุก, นางถวิล, นางปิว, นางบุญ, ชุมบาน, แสนเขา, พันน้อยเวียก, นางจันทร์, นางเอิย, แม่ยวง, ตาบน, สิดรอง, ลำช่างไม้, แม่คำมี, ปู่นำจักเข้, เชริงยา, หมื่นพี, พี่บุญ, เจ้าบุญ, พ่อแจ่มพ่อน้อย, องค์หมึก, ลวงแปร, ห้องชาวนา, ชุมอยู่ฝ่ายกะบี, นาหลังเก่า, ชุมบ้านชาวเครื่อง, ชุมร้องพวกสา, ชุมบ้านคุ้มพ่อดำชุมบ้านอาดแพนสดแม่, พุทธศาสนา, พระเกสธาตุเจดีย์, พระเกศธาตุเจดีย์, พระธาตุ, พระเจดีย์, อาราม, ฉลองพระเจดีย์, ฉลองเจดีย์, ปีเปลิกยี, ปีรวงไส, ไทยกาเร้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2124, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมปลายมน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเกตการาม เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระธาตุ |
หน้ามุขข้างวิหาร วัดเกตการาม ตำบลวัดเกต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1455?lang=th |
29 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 9 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด กล่าวถึงบุคคลท่านหนึ่งได้ให้นำเรือมาประดิษฐาน และได้ซื้อที่ดินเพื่อสร้างวัด |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 9, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 9, ชม. 165.7, ชม. 165.7, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานเรือ, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18098?lang=th |
30 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 8 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 8, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 8, ชม. 165.6, ชม. 165.6, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18058?lang=th |
31 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 7 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 7, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 7, ชม. 165.5, ชม. 165.5, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18056?lang=th |
32 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 6 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 6, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 6, ชม. 165.4, ชม. 165.4, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18039?lang=th |
33 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 5 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 5, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 5, ชม. 165.3, ชม. 165.3, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17999?lang=th |
34 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 4 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 4, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 4, ชม. 165.2, ชม. 165.2, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17974?lang=th |
35 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 3 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึก ชม. 165.1, จารึก ชม. 165.1, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 3, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 3, ชม. 165.1, ชม. 165.1, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17850?lang=th |
36 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 2 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึก ชม. 164, จารึก ชม. 164, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 2, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 2, ชม. 164, ชม. 164, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดิน, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17815?lang=th |
37 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 18 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 18, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 18, 166.8, ชม. 166.8, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18122?lang=th |
38 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 17 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 17, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 17, 166.7, ชม. 166.7, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18120?lang=th |
39 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 16 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 16, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 16, 166.6, ชม. 166.6, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18118?lang=th |
40 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 15 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 15, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 15, 166.5, ชม. 166.5, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18116?lang=th |
41 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 14 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 14, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 14, 166.4, ชม. 166.4, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18114?lang=th |
42 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 13 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 13, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 13, 166.3, ชม. 166.3, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18112?lang=th |
43 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 12 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 12, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 12, 166.2, ชม. 166.2, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18110?lang=th |
44 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 11 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 11, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 11, 166.1, ชม. 166.1, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18102?lang=th |
45 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 10 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 10, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 10, ชม. 165.8, ชม. 165.8, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18100?lang=th |
46 |
จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 1 |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏข้อความน้อยคำ ไม่สมบูรณ์ |
จารึก ชม. 163, จารึก ชม. 163, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 1, จารึกวัดหัวหนองเวียงกุมกาม 1, ชม. 163, ชม. 163, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 21, พุทธศตวรรษ 22, พุทธศตวรรษ 22, โบราณสถานวัดหัวหนอง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17813?lang=th |
47 |
จารึกวัดหนองสระ |
ฝักขาม |
ข้อความที่จารึกเป็นรายชื่อของข้าพระ |
จารึกวัดหนองสระ, พย. 50, พย. 50, หินทรายสีแดง, แผ่นจารึก, วัดหนองสระ, ตำบลป่าแฝก, อำเภอแม่ใจ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อสาน, นายครัว, สามชาย, เจ้าแคว้นวารือแดน, จาริ, สา, พนา, ไหม, เกลา, เถ้าเมิงคำ, เถ้าเมืองคำ, เจ้าหมื่นเชียง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1772?lang=th |
48 |
จารึกวัดศรีเมือง |
ไทยน้อย |
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช โปรดเกล้าให้ขุนนางผู้ใหญ่สร้างวัดศรีสุพรรณ และอุทิศที่ดิน ทาสโอกาสแก่วัด รวมทั้งสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทานวัตถุเหล่านั้น |
นค. 3, นค. 3, จารึกวัดศรี, พ.ศ. 2109, พุทธศักราช 2109, พ.ศ. 2109, พุทธศักราช 2109, จ.ศ. 928, จุลศักราช 928, จ.ศ. 928, จุลศักราช 928, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีเมือง, ตำบลในเมือง, หนองคาย, ไทย, ล้านช้าง,พระยาพลเสิกซ้าย, สมเด็จบรมบพิตรพระไชยเชฏฐาธิราชเจ้า, สมเด็จบรมบพิตรพระไชยเชษฐาธิราชเจ้า, เจ้าพญาพลเสิกซ้าย, เจ้าพญาพลเศิกซ้าย, สมเด็จพระเป็นเจ้า, มหาสังฆราชาเจ้าโพธิอารามบางพวน, ประธาน, เถรานุเถระเจ้า, ข้อย, ข้าทาส, ญาติ, อุบาสก, พญาสัทธัมมราชศรีสิทธินายก, พญาสัทธัมมา, พระมหามนตรี, พญานับล้าน, เจ้าพญาสัทธัมมราชศรีสิทธินายก, พญาคำหมื่นมหามนตรีแลมหาสังฆราชเจ้าโพธิอาราม, เจ้าบ้านเจ้าเมืองสมเด็จพิมพานาคะ, สมเด็จเจ้าศรีสิทธิอาราม, จอมเขตชาวคลองจิง,หลาบคำ, แผ่นทองจารึก, สุพรรณบัฏ, สุพรรณบัฏ, ทองคำ, ฝั่งน้ำ, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุเจ้าบางพวน, วัดศรีสุพรรณอารามพุทธาวาส, อารามิก, จันทอาราม, อารามวัดโพธิศรีสุพรรณ, อารามวัดโพธิศรีสุวรรณ, วัดโพธิ์ศรีสุวรรณ, วัดโพธิ์ศรีสุพรรณ, สร้างวัดศรีสุพรรณอาราม, สร้างวัดศรีสุวรรณอาราม, อุทิศข้าทาส, ถวายข้าทาส, ถวายนาบุญ, ปีขาล, ปีระวายยี่, ปีรวายยี่, ปีระวายยี, ปีระวายยี่, ผัคคุนมาส, ผลคุณมาส, เดือนสี่, ยามแถใกล้เที่ยง, วันมูลานักขัตฤกษ์, วันมูลนักขัตฤกษ์, วันมูละนักขัตฤกษ์, ญาณสัมประยุตร, พระราชอาชญา, มหาอเวจี, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2109, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีเมือง หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่องการบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช |
วัดศรีเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2109 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2247?lang=th |
49 |
จารึกวัดศรีมงคล |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการกัลปนาเขตวัดศรีมงคล (เมืองห้วยหลวง) และถวายนาจังหันและได้อ้างถึงนาที่พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชถวายไว้กับวัดศรีมงคล ตอนท้ายมีการสาปแช่งผู้ที่ทำลายหรือยึดถือเอาทานวัตถุเหล่านั้นมาเป็นของตน |
นค. 5, นค. 5, จารึกวัดศรีมงคล, จารึกวัดคงกระพันชาตรี 1, จารึกวัดคงกระพันชาตรี 1, พ.ศ. 2180, พุทธศักราช 2180, พ.ศ. 2180, พุทธศักราช 2180, จ.ศ. 999, จุลศักราช 999, จ.ศ. 999, จุลศักราช 999, ศิลา, ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีมงคล, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชธิราชเจ้า, สมเด็จพระเป็นเจ้ามหาพรหมเทโวโพธิสัตว์รัตนพุทธจักราสุราสุรสิงห มณฑปมณีพระสีมาเทพาบรมนาถบรมบพิตร, สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชเจ้า, สัพพัญญูเจ้า, ท้าวมาลุนขุนมาใหม่, ต้นโพธิ, ต้นโพธิ์, ต้นขาม, ต้นมะขาม, หมากพลูพร้าวตาลหวานส้ม, หมากพลูมะพร้าวตาลหวานส้ม, เขตนาก้ำเหนือ, ห้วยหมอทด, ห้วยบก, ห้วยขี้เสือ, ทางเกวียนบุราณ, ทางเกวียนโบราณ, นาโอกาส, นาหมอตาเบี้ย, นาแควง, นาก้านเหลือง, พุทธศาสนา, วัดศรีมงคลห้วยหลวงรัตนเขต, ถวายนา, อุทิศนา, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, ถวายที่ดิน, อุทิศที่ดิน, พระราชอาชญาลายจุ้ม, วัสสา, วสา, เขตแดนไร่นา, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4ล อบายทั้ง 4, อบายทั้งสี่, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2180, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าต่อนคำ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดศรีมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช |
วัดศรีมงคล ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2180 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2373?lang=th |
50 |
จารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย) |
ไทยน้อย |
พระวรวงศาธรรมิกราช ได้อุทิศข้าโอกาสแก่วัดศรีบุญเรือง และได้ทรงย้ำถึงเขตแดนไร่นาที่บุรพกษัตริย์แห่งล้านช้างได้อุทิศแก่วัดศรีบุญเรืองด้วย พร้อมทั้งสาปแช่งท้าวพระยาที่โลภะและมาลบล้างพระราชโองการนี้ |
นค. 6, นค. 6, ศิลาจารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย), พ.ศ. 2151, พุทธศักราช 2151, พ.ศ. 2151, พุทธศักราช 2151, จ.ศ. 970, จุลศักราช 970, จ.ศ. 970, จุลศักราช 970, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีบุญเรือง, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้าสมเด็จพระเป็นเจ้า, ข้าโอกาส, บอนหลาน, เหมือนลูก, พระพุทธเจ้า, ท้าวพระยาแสนหมื่นเจ้าบ้านเจ้าเมือง, โพธิ, พืชหมากพลูพร้าวตาลหวานส้ม, พุทธศาสนา, วัดศรีบุญเรือง, อาราม, พระประสิทธิจุ้ม, พระราชอาชญาลายจุ้ม, เขตแดนไร่นา, ค่าร่องอก, ค่าแขน, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย : การศึกษาในด้านอักษรวิทยา, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2522, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2151, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, บุคคล-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช |
วัดศรีบุญเรือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2151 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2376?lang=th |
51 |
จารึกวัดศรีบุญเรือง (จารึกบ้านผือ) |
ไทยน้อย |
เป็นพระบรมราชโองการของ สมเด็จพระวรรัตนธรรมประโชติฯ ได้ทรงมีพระราชศรัทธาพระราชทานที่ดินให้กับวัดศรีบุญเรือง |
จารึกวัดศรีบุญเรือง, พ.ศ. 2134, พุทธศักราช 2134, พ.ศ. 2134, พุทธศักราช 2134, จ.ศ. 953, จุลศักราช 953, จ.ศ. 953, จุลศักราช 953, หินทรายแดง, รูปใบเสมา, วัดร้างแห่งหนึ่งในบ้านกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตร, พระวรรัตนธรรมประโชติเสตคัชอัสสจันทิสุวรรณสมมุติขัครัตนสาลราชบพิตร, มหาสังฆราชเจ้า (บ้านถ้ำ), เจ้าพระยา, เจ้าบ้านเจ้าเมืองท้าว, ขุน, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3,แดนนา, นาวังข่า, หอคำ, นามิ่ง, นาไห, น้ำพูเพา, เขตแดนไร่นาฝูง, พุทธศาสนา, วัดศรีบุญเรือง, อารามศรีบุญเรือง, อุทิศที่นา, อุทิศนา, ถวายที่นา, ถวายนา, ให้ทานไร่นาแดนดิน, ให้เขตนา, พระราชอาชญาลายจุ้ม, อุปการ, ภายใน, ภายนอก, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง ; สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2134, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-สมเด็จพระวรรัตนธรรมประโชติฯ |
วัดร้างแห่งหนึ่งในบ้านกลางใหญ่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2134 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2238?lang=th |
52 |
จารึกวัดศรีคุณเมือง (วัดผ้าขาว) |
ธรรมอีสาน |
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้มาอุทิศที่นาจังหันให้แก่วัด ตอนท้ายมีการสาปแช่งผู้ถือเอาศาสนาสมบัติเหล่านั้นอีกด้วย |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: นค. 8, นค. 8, จารึกวัดศรีคุณเมือง จังหวัดหนองคาย (นค. 8), จารึกวัดศรีคุณเมือง จังหวัดหนองคาย (นค. 8), ศิลาจารึกวัดศรีคูณเมือง, จารึกวัดศรีคูณเมือง (ศิลาจารึกวัดปะขาว) ศักราช: พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, จ.ศ. 922, จุลศักราช 922, จ.ศ. 922, จุลศักราช 922วัตถุจารึก: หินทรายลักษณะวัตถุ: ทรงสามเหลี่ยมสถานที่พบ: วัดศรีคุณเมือง, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคายอาณาจักร: ไทย, ล้านช้างบุคคล: สมเด็จบรมบพิตร, สมเด็จพระไชยเชฏฐาธิราช, มหาสงฆสามี, เจ้าสีสุวลปราการ, เจ้าศรีสุวรรณปราการ, อุปฐาก, ชาวเจ้า, ข้าไพร่, เจ้าบ้านเจ้าเมืองท้าว, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ราชการบพิตรเจ้า, สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช, พระสงฆ์ต้นไม้: ช่อหมากพลูอ้อยตาลหวานส้ม, พืชหมากพลูอ้อยตาลหวานส้มสิ่งของ: เบี้ย, แก้วทั้งสามศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: อาราม, เสาเพนียด, ตีนต้าย, กำแพงแก้วพิธีกรรม: สร้างศิลาจารึก, สร้างครัวทานอื่นๆ: พระราชอาชญาลายจุ้ม, ภายนอก, ภายใน, ปีกดสัน, เพ็ง, วันเพ็ญ, วิสาขะมาส, วิสาขมาส, โลภะตัณหา, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4 |
วัดศรีคุณเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2103 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2481?lang=th |
53 |
จารึกวัดวิชัยอาราม |
ไทยน้อย,ธรรมอีสาน |
เป็นพระบรมราชานุญาตให้ขุนนางสร้างวัด กัลปนาที่ดิน แก่วัดวิชัยอาราม เมื่อ พ.ศ. 2171 ภายหลังต่อมา พระสังฆราชาจตุปาริสุทธิศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนาลี ได้อุทิศข้าโอกาสแก่วัด 5 ครัว เมื่อ พ.ศ. 2172 พร้อมกับสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทานวัตถุเหล่านั้น |
ขก. 8, ขก. 9, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, จารึกวัดวิชัยอาราม, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, ศิลา ประเภทหินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้า, สมเด็จพระมหาอัครวรราชครูวินัยธรวรชิโนรส, ท้าวมาลุน, สมเด็จสังฆราชาจตุปาริสุทธศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนวาสีเจ้า, ศาสนูปถัมภก, พ่อแม่ญาติ, ตระกูลอุปฐาก, ข้าโอกาส, อารามิกทาส, ข้าพระ, ลูก, หลานเหลน, หมื่นจำเริญ, หมื่นนอง, ขุนหลวง, ขุนทอง, พันรักษา, ขุนคาน, มหาธรรมิกราชาธิราช, พระพุทธเจ้า, แก้ว, เม็ดหินเม็ดทรายชื่อ, นาหมอขาป, พุทธศาสนา, วัดวิชัยอาราม, อาราม, ถวายทาส, อุทิศข้าทาส, อุทิศข้าโอกาส, อุทิศข้าพระ, วงดวงชาตา, เพ็ง, เพ็ญ, ปีกาบไจ้, แถ, เที่ยงวัน, ปีกัดไส้, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระศุกร์, ราศีมีน, พระเกตุ, ราศีเมษ, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, ราศีมีน, ราศีตุล, ราศีเมถุน, ราศีกรกฎ, พระราชอาชญาลายจุ้ม, โลภตัณหา, พระราชอาชญา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, ฤกษ์, บาปกรรม, ทานวัตถุ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2172 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2164?lang=th |
54 |
จารึกวัดยอดเขาสมอแคลง |
ไทยอยุธยา |
ไม่สามารถจับใจความได้ ทราบแต่เพียงว่าเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา และ ศาสนสถาน เนื่องจากปรากฏคำว่า "พิหาร" |
จารึกวัดยอดเขาสมอแคลง, พล. 10, พล. 10, อิฐ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์วัดยอดเขาสมอแคลง, จังหวัดพิษณุโลก, ไทย, กรุงศรีอยุธยา, พุทธศาสนา, พิหาร, วิหาร, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 : อักษรธรรมและอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 3 พิษณุโลก, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, วัดพระพุทธบาทเขาสมอแคลง ตําบลวังทอง อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก |
หน่วยศิลปากรที่ 3 จังหวัดพิษณุโลก |
พุทธศตวรรษ 22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/636?lang=th |
55 |
จารึกวัดมณีโคตร |
ไทยน้อย |
เป็นพระราชโองการของสมเด็จพระโพธิวรวงศา อุทิศที่ดินแก่วัดที่เมืองปากห้วยหลวง และได้กล่าวถึงพระนามสมเด็จสังฆราชวัดกลาง เมืองจันทบุรี (เวียงจันทน์) และพระนามของ พระเจ้าชมพู และพระเจ้าตนหล้า ซึ่งเป็นกษัตริย์ของล้านช้าง อีกด้วย |
นค. 7, นค. 7, ศิลาจารึกวัดมณีโครตร, จารึกวัดมณีโคตร, พ.ศ. 2144, พุทธศักราช 2144, พ.ศ. 2144, พุทธศักราช 2144, จ.ศ. 963, จุลศักราช 963, จ.ศ. 963, จุลศักราช 963, พ.ศ. 2118, พุทธศักราช 2118, พ.ศ. 2118, พุทธศักราช 2118, จ.ศ. 937, จุลศักราช 937, จ.ศ. 937, จุลศักราช 937, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดมณีโคตร ตำบลจุมพล อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรบรมนาถพระเป็นเจ้า, โพธิวรวงศากษัตราธิราช, สมเด็จราชครูสัทธรรมเตปิฎกธรรมวราครูปริสุทธิศีลาจารย์ญาณคัมภีร์ราชครู, เจ้าวัดกลางจันทบุรี, สมเด็จราชครูจุฬาโลกมเหสักรามา, สมเด็จราชครูจุฬาโลกมเหศักดิ์รามา, สมเด็จมหาวินัยธรวรชินบุตรศาสตร์มเหสัก, สมเด็จมหาวินัยธรวรชินบุตรศาสตร์มเหศักดิ์, เจ้าเชตพงศรามาธิบดี, พระยาหลวงอโนชิต, พระยาราชาเนตรัย, พระยาปากห้วยหลวง, พระเจ้าชมพู, พระเจ้าตนหล้า, พระองค์บพิตร, เจ้าพระยาสุรมนตรี, ต้นโพธิ์, ต้นเหมา, ต้นเหม้า, หมากพลู, จุ้ม, น้ำห้วยหลวง, กอขามหลวง, นาเรือ, โพนผาน้ำลับ, เมืองโพถวาย, พุทธศาสนา, พระเจดีย์น้อย, ห้วยยาง, พระราชอาชญาลายจุ้ม, ภายใน, ฝ่ายสงฆ์, ฝ่ายฆราวาส, ภายนอก, พระราชอาชญา, เขตแดนไร่นา, พระราชศรัทธา, พระราชสมภาร, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, “จารึกวัดมณีโคตร,” ใน ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย : การศึกษาในด้านอักษรวิทยา, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2144, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมณีโคตร หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าชมพู, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระยาหล้าแสนไทไตรภูวนาถ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, บุคคล-เจ้าชมพู, บุคคล-พระยาหล้าแสนไทไตรภูวนาถ, บุคคล-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช |
วัดมณีโคตร ตำบลจุมพล อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2144 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2378?lang=th |
56 |
จารึกวัดพังเพา |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงลูกเจ้าหมื่นบอนและนางหมื่นบอนที่ได้ถวายที่นาดอนจันไว้กับวัดพังเพา |
ขก. 6, ขก. 6, ศิลาจารึกซึ่งได้มาจากวัดศรีสะเกษ จ. หนองคาย อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, หลักที่ 89 ศิลาจารึกวัดศีรษะเกษ, หลักที่ 89 ศิลาจารึกวัดศีรษะเกษ, ศิลาจารึกวัดศรีสะเกษ, จารึกวัดพังเพา, พุทธศักราช 2112, พ.ศ. 2112, พุทธศักราช 2112, พ.ศ. 2112, จุลศักราช 931, จ.ศ. 931, จุลศักราช 931, จ.ศ. 931, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดศรีสะเกษ, จังหวัดหนองคาย, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, ลูกพระยา, เจ้าหมื่นบอน, นางหมื่นบอน, นาสอนจัน, วัดพังเพา, พุทธศาสนา, ถวายนา, ปีกัดไส้, ศรีสุมังคลกถา, วันเสาร์, ฤกษ์กฤติกา, ออก, ปัญจานันตริยกรรม, เบญจ นันตริยะ, บาป, อปายคมนิยกรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 : ประมวลจารึกที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลางของประเทศไทย อันจารึกด้วยอักษร และ ภาษาไทย, ขอม, มอญ, บาลีสันสกฤต, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2112, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-ลูกเจ้าหมื่นบอน, บุคคล-นางหมื่นบอน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2112 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2159?lang=th |
57 |
จารึกวัดพระเจ้า |
ฝักขาม |
เป็นข้อความกล่าวปวารณาบุญแก่ผู้ที่ทำบุญให้วัดพระเจ้า ให้ได้เป็นเจ้าเป็นขุน ได้ขึ้นสวรรค์ และบรรลุถึงซึ่งนิพพาน |
จารึกวัดพระเจ้า, พย. 31, พย. 31, หินทรายสีแดง, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดศรีอุโมงคำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ขุน, คน, หมื่นเจ้าเจ้าหุดตง, สมบัติ, สวรรค์, พุทธศาสนา, วัดพระเจ้า, พระพุทธรูป, เทพดา, เทวดา, บุญ, คลองจาริก, คลองจารีต, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1731?lang=th |
58 |
จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก 1 |
ธรรมอีสาน,ขอมอยุธยา |
ในปี พ.ศ. 2103 มีพระมหากษัตริย์ 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ กษัตริย์แห่งอาณาจักรศรีอยุธยา กับ พระไชยเชษฐาธิราช กษัตริย์แห่งอาณาจักรศรีสัตนาคนหุต (ล้านช้าง) ได้นิมนต์มหาอุบาลี มหาเถรวิริยาธิกมุนี และพระสงฆ์อีก 10 รูป พร้อมเชิญมหาอุปราชและเสนาอมาตย์ของทั้งสองอาณาจักร มาร่วมพิธีกระทำสัตยาธิษฐาน แล้วทรงร่วมกันสร้างพระเจดีย์ศรีสองรักไว้เป็นสักขีพยาน |
ลย. 3, ลย. 3, จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก 1, จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก 1, พ.ศ. 2106, พุทธศักราช 2106, พ.ศ. 2106, พุทธศักราช 2106, ม.ศ. 1485, มหาศักราช 1485, ม.ศ. 1485, มหาศักราช 1485, พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, ม.ศ. 1482, มหาศักราช 1482, ม.ศ. 1482, มหาศักราช 1482, ศิลา,รูปใบเสมาชำรุด, เจดีย์ศรีสองรัก, วัดพระธาตุศรีสองรัก, อำเภอด่านซ้าย, จังหวัดเลย, ไทย, ล้านช้าง, กรุงศรีอยุธยา, พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช, สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์, สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ, สมเด็จพระมหากษัตรเจ้ากรุงพระนครศรีอโยธยา, สมเด็จพระมหากษัตรเจ้ากรุงพระนครศรีอยุธยา, ประชาราษฎร์, ประธานสากษี, พระนามสมเด็จพระธรรมิกราช, ศรีสัตนาคนหุตมหานคร, พระมหากษัตรเอกองค์, สมเด็จพระบรมมหาจักรพรรติวรราชาธิราช, ภูธรธิปติเจ้า, ราชามาตย์, พระมหาอุปาลี, เถรศีลวิสุทธิ์, มหาเถรวิริยาธิกมุนี, พระสงฆ์, จารย์อาริยมุนีศีลวิสุทธอุตตมสัตยศาสนา, พระครู, ประธาน, มหาอำมาตย์, หลวงราชามาตยานุชิต, พระมหากษัตร, มหาอุปราชเจ้า, อำมาตย์, พระอุปราชาเจ้า, พระสรรเพชรพุทธเจ้า, พระมหากษัตริย์, พระตถาคต, ราชามาตย์, มหาอุปราชเจ้า, พระครูปรมาจารย์อารย, อุบาลีศรีอารย, เจ้าศีลวิสุทธมหาเถรวิริยาธิกมุนี, พระครูสุเมธารุจิ, มหาอมาตย์, ราชามาตยานุชิตพันธวิมลสัตยภัตต์, สมณาพราหมณาจารย์, อมาตยา, มนตรีมุข, สมเด็จพระสังฆราชาธิบดี, วงศ์พระมหาวิกรมพาหุ, พระครูธรรมาจารย์, มหาอุปราชเจ้าพระยามหาเสนาบดี, ติราชโกษาธิบดี, พระศรีสวราชวิชัยสัทธา, กระออมรัชฏ, กระออมเงิน, น้ำสะบาป, กระออมแก้ว, กระออมทอง, กระออมนาก, กระออมนาค, น้ำสัจจโจทก, น้ำสัจโจทกชื่อ, เมืองจันทบุรี, เวียงจันทน์, พระนครศรีอโยธยามหาติลกภพนพรัตน, หงสา, นครจันทบุรี, พระมหานครจันทบุรี, พุทธศาสนา, สีมาสองรัก, อนุสนธสีมา, สัตยาธิษฐาน, ปรฏิชญา, ปฏิญญา, มหาปฐพีคิริตลกลศิลา, มหาปฐพีคิริดลกลศิลา, พันพิโรธ, คลองคดี, คองคดี, ข้อคดี, ไมตรีธรรมปรมัตถ, พระมหากษัตรา, กุนนักษัตร, ภัทรโยค, พระอาทิตย์, พระสพราศี, พฤษภราศี, พระสภภราศี, พระจันทร์, ปุรณณโค, วันพุธ, เมษราศี, พระราหู, ประหัษปติ, พฤหัสบดี, พระศุกร์, วอกนักษัตร, ปูรณมีเกิด, อาสาฒ, อาทิตย์วาร, วันอาทิตย์, ปถโมกษมหานครนิพพาน, พระเสาร์, มิถุนราศี, มหาปถพี |
หอพระแก้ว เมืองเวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
พุทธศักราช 2106 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2433?lang=th |
59 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 1 |
ไทยน้อย |
พระยานครพิชิตธานี พร้อมด้วยท้าวพระยาในท้องถิ่นได้บูรณะพระธาตุพนม และสร้างกำแพงแก้วล้อมรอบพระธาตุ รวมทั้งสร้างถาวรวัตถุอื่นๆ อีกด้วย ตอนท้ายได้สาปแช่งผู้ถือสิทธิ์ครอบครอง ทำลายทานวัตถุ อันได้แก่ ทาสโอกาส ที่ดิน ไร่นาของวัด ในครั้งนี้ได้บูรณะเรือนธาตุชั้นที่ 1 และกล่าวถึงการตกแต่งด้วย ซึ่งน่าจะหมายถึงลวดลายจำหลักอิฐรอบเรือนธาตุ |
นพ. 1, จารึกวัดพระธาตุพนม 1, ศิลาจารึกของเจ้าพระยานคร, พ.ศ. 2157, พุทธศักราช 2157, พ.ศ. 2157, พุทธศักราช 2157, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, หินทราย, รูปใบเสมา, ห้องเก็บของภายในวิหารคด, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร , อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านนา, ข้าโอกาส, พระยาสามินทรราช, พระพนม, พระเป็นเจ้าพระยานครหลวงพิชิตราชธานีศรีโคตรบองเจ้า, ประธาน, ท้าวพระยาเสนามนตรี, ปลา, ชะทาย, ปูนสอ, ปูนขาวชื่อ, น้ำหนอง, บ้านเมือง, ดินดอนไร่นา, กำแพง, ประตูขง, ประตูกำแพง, ประตูเขต, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุพนม, หอข้าวพระ, แท่นบูชา, ตึบสงฆ์, ตึกดิน, ตึกสงฆ์, ตีนพระมหาธาตุเจ้า, สร้างวัด, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ตกแต่งพระธาตุ, อปายคมนียะ, โลภะตัณหา, เทวดา, นิพพานปัจจโย, พระสารีริกธาตุ, ปีกาบยี่, อบายภูมิ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกวัดพระธาตุพนม 2, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา), อุรังคนิทาน : ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร), สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2157, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพงแก้ว, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระยานครพิชิตธานี |
ห้องเก็บของภายในวิหารคด วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2157 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2169?lang=th |
60 |
จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2159 พญาหลวงเมืองเชียงแสน และนางพญาหลวง พร้อมด้วยพระสงฆ์ 3 คณะ ร่วมกันสร้างวิหาร และสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ แล้วนิมนต์สมเด็จราชโมลีจิตตสารมังคละ มาเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. 2160 สร้างเจดีย์ บรรจุพระธาตุพระพุทธเจ้า จำนวน 358 องค์ และธาตุ และธาตุพระสาวกจำนวน 400,000 องค์ พร้อมทั้งถวายคน 52 คน และสวนหมากแด่วัดด้วย |
ชร. 7 จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) พ.ศ. 2158-2159, ชร. 7 จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) พ.ศ. 2158 2159, 1.4.1.1 วัดผ้าขาวป้าน พ.ศ. 2160 (Wat Pah Khao Pan A.D. 1617), 1.4.1.1 วัดผ้าขาวป้าน พ.ศ. 2160 (Wat Pah Khao Pan A.D. 1617)ศักราช: พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2159, พุทธศักราช 2159, พ.ศ. 2159 พุทธศักราช 2159, จ.ศ. 977, จุลศักราช 977, พ.ศ. 977, พุทธศักราช 977วัตถุจารึก: หินชนวนสีดำลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: วัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม), ตำบลเวียง, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงรายอาณาจักร: ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: นางพญาหลวงเจ้า, นางพระญาหลวงเจ้า, พระราชครู, พระสงฆ์, สมเด็จเจ้า, มหาสังฆราชาสวามีพราสังฆเจ้า, สมเด็จราชโมลีเจ้า, จิตสารมังคล, เจ้าอาวาส, อรหันตาเจ้า, ท้าวพระญาเจ้าสถานที่: เมืองเชียงแสนเจ้า, สวนหมาก, บ้านชุมแสงศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: พระวิหาร, พระหาร, อุดมโกศล, เจติยะ, เจดีย์, วัดจุนทาพิธีกรรม: ปกพระหาร, สร้างพระวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, สร้างเจดีย์อื่นๆ: วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, ลัคนา, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ปีดับเหม้า, เพ็ง, ไทยดับเร้า, ติดถี, ดิถี, นาที, ฤกษ์, พาดลั่น, ปราณ, พิชนาที, เพ็ชรนาที, อักษร, นวางค์, วรโคตมย, พระโคตมี, พระไตรรัตนแก้ว, ไทยเปิกสัน, กลองงาย, พระพุทธเจ้าองค์หลวง, พระพุทธรูป, ปีระวายสี, วันอาทิตย์, ไทยกดสี, ตูดเช้า, พระธาตุ, ครัว, เรือน, หมื่นไมตรีไหมคำ, หมื่นยางแก้วมาลุน, นางเสน่ห์, กินบ้านกินเมือง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158, อายุ-จารึก พ.ศ. 2159, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158-2159, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเมืองน่าน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พญาหลวงเมืองเชียงแสน, บุคคล-นางพญาหลวง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-สมเด็จราชโมลีจิตตสารมังคละ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2158-2159 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1443?lang=th |
61 |
จารึกวัดผดุงสุข 2 (ศิลาจารึกวัดถิ่นดุ่ง) |
ไทยน้อย |
ด้านที่ 1 พระยาปากเจ้า (เจ้าเมืองปากห้วยหลวง) และเจ้านายอื่นๆ ได้อุทิศที่ดินแก่พระเถระฝ่ายอรัญวาสี เมื่อปี พ.ศ. 2113 ด้านที่ 2 ปรากฏนามพระสุมังคลไอยโกโพธิสัตว์ ข้อความต่อจากนี้ชำรุด ตอนท้ายกล่าวถึงการอุทิศที่ดิน และอาณาเขตของที่ดินที่อุทิศ ใน ปี พ.ศ. 2115 |
นค. 11, นค. 11, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข ผ. 2, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข ผ. 2, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข 2, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข 2, ศิลาจารึกวัดถิ่นดุ่ง, พ.ศ. 2113, พุทธศักราช 2113, พ.ศ. 2113, พุทธศักราช 2113, จ.ศ. 932, จุลศักราช 932, จ.ศ. 932, จุลศักราช 932, พ.ศ. 2115, พุทธศักราช 2115, พ.ศ. 2115, พุทธศักราช 2115, จ.ศ. 934, จุลศักราช 934, จ.ศ. 934, จุลศักราช 934, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดผดุงสุข, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พระยาปากเจ้า, มหาป่าเจ้า, มหาปาเจ้า, จัวหมื่นกลางเชียง, วัวหมื่นกลางเชียง, จัวหมื่นกางเชียง, วัวหมื่นกางเชียง, แสนเจ้าเถ้าเมือง, เจ้าหมื่นกลางเชียง, เจ้าหมื่นเบี้ย, หมื่นชา, สังฆการี, พระไอยโกธิราช, พระสุมังคลไอยโกโพธิสัตว์, พระยาแสนสุรินทร์ลือชัย, คามเขต, หนองนกยูง, น้ำของ, น้ำโขง, นาหญ้าขวาก, นาฟากเหมือง, แทก, กำเหนือ, ก้ำเหนือ, บ้านเก่านางู, ห้วยยาง, ป่ามหาโชติวน, ป่ามหาโชติวัน, น้ำแย, พุทธศาสนา, อุทิศที่ดิน, ออก, จตุบริสุทธิ์ศีล, วสา, วัสสา, เทวดาในหมื่นโลกธาตุ, พระราชอาชญา, วันพฤหัสปัดติ, วันพฤหัสบดี, ปีเปิกไจ้, ฤกษ์ศตภิษัช, จูลงจูลา, อบายทั้งสี่, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 2115, อายุ-จารึก พ.ศ. 2113, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระยาแสนสุรินทร์ลือชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดผดุงสุข หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองปากห้วยหลวง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระยาแสนสุรินทร์ลือชัย, บุคคล-พระยาปากเจ้า, บุคคล-พระยาแสนสุรินทร์ลือชัย |
วัดผดุงสุข ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2115 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2388?lang=th |
62 |
จารึกวัดผดุงสุข 1 |
ไทยน้อย |
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้อุทิศที่ดินแก่วัด และเป็นหลักฐานว่า พ.ศ. 2094 พระเจ้าไชยเชษฐาฯ ได้กลับจากเชียงใหม่มาครองหลวงพระบางแล้ว |
นค. 10, นค. 10, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข ผ. 1, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข ผ. 1, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข 1, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข 1, พ.ศ. 2094, พุทธศักราช 2094, พ.ศ. 2094, พุทธศักราช 2094, จ.ศ. 931, จุลศักราช 931, จ.ศ. 931, จุลศักราช 931, พ.ศ. 2106, พุทธศักราช 2106, พ.ศ. 2106, พุทธศักราช 2106, จ.ศ. 925, จุลศักราช 925, จ.ศ. 925, จุลศักราช 925, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดผดุงสุข, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านนา, สมเด็จบรมบพิตรพระเจ้า, พระไชยเชษฐาธิราชเจ้า, สุมังคลโพธิวิริญาณเจ้า, พระยาศรีสัทธรรมราชวิสุทธิ, พระยาสุพรรณ, ท้าวมาลุนขุนมาใหม่, พืชหมากพลูพร้าวตาลหวานส้ม, นาบ้าน, พุทธศาสนา, วัดศรีสุวรรณ, อาราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระอังคาร, ราศีมังกร, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, ลัคนา, พระราชอาชญาลายจุ้ม, พระรัตนไตร, แก้วทั้งสาม, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2106, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดผดุงสุข หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช |
วัดผดุงสุข ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2106 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2383?lang=th |
63 |
จารึกวัดบ้านยาง |
ฝักขาม |
ใน พ.ศ. 2127 นางแก้วและญาติพี่น้องได้ร่วมกันสร้างวัดบ้านยาง โดยมีพระสงฆ์จากวัดดอยหลวง, มหาสังฆราช และสามีเจ้าวรปัญญาแห่งวัดหัวกาดหลวงเป็นประธานในพิธี ข้อความต่อจากนี้กล่าวถึงการทำบุญด้วยการอุทิศข้าพระและสิ่งของแก่วัด |
พย. 53 จารึกวัดบ้านยาง พ.ศ. 2138, พย. 53 จารึกวัดบ้านยาง พ.ศ. 2138, พ.ศ. 2138, พุทธศักราช 2138, พ.ศ. 2138, พุทธศักราช 2138, จ.ศ. 967, จุลศักราช 967, จ.ศ. 967, จุลศักราช 967, พ.ศ. 2127, พุทธศักราช 2127, พ.ศ. 2127, พุทธศักราช 2127, จ.ศ. 946, จุลศักราช 946, จ.ศ. 946, จุลศักราช 946, หินทราย, รูปใบเสมา, หมู่บ้านเหมืองแดง, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย,ไทย, ล้านนา, ลานนา, อนุราธา, เจ้าพวกคลอง, แหวนปัดคำ, นางแก้ว, สังฆะ, พระสงฆ์, มหาสังฆราชาเจ้า, สามีเจ้าวรปัญญา, เค้า, ประธาน, สมเด็จมหา, พระยาแก้ว, เจ้าตนน้อง, พระยาเคียง, พระเจ้า, สมเด็จมหาราชเจ้าแผ่นดิน, มหาอุปราชเจ้า, เจ้าบาทบัวติน, เจ้าบาทบัวดิน, คำพอน, เจ้าพวกลอง, เจ้าพวกกอง, ไถ้, พุทธศาสนา, วัดบ้านยาง, วัดดอยหลวง, วัดหัวกาดหลวง, สังฆอาราม, วัดละแลง, ถวายข้าพระ, อุทิศข้าพระ, ให้ทาน, ปีวานระ, ปีกาบสัน, เดินวิสาขะ, เดือนวิสาขะ, วันกาบซง้า, เม็ง, มอญ, จันทร์กินฤกษ์, บุญราศี, ปีวอก, ลง, จันทร์เสวยฤกษ์, ภายใน, พระพุทธรูป, มหาอวิจิ, มหาอเวจี, อุปัฏฐาก, ปีดับเม็ด, วันเมิงเร้า, ครัว, วันจันทร์, เจติยะ, เจดีย์, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2138, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-สาวถีนรตรามังซอศรีมังนรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-นางแก้ว, บุคคล-พระสงฆ์จากวัดดอยหลวง, บุคคล-สามีเจ้าวรปัญญา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2138 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1790?lang=th |
64 |
จารึกวัดบ้านขามเมืองปัน |
ฝักขาม |
ข้อความในจารึกเป็นสารตราอาชญาแห่งพระญาแก้วผาบราชภุมินท์ ว่าด้วยเรื่องการบวชเรียนของพระสงฆ์ และข้อห้ามต่างๆ ของผู้ที่จะบวชเป็นพระ |
พย. 55 จารึกวัดบ้านขามเมืองปัน พ.ศ. 2113, พย. 55 จารึกวัดบ้านขามเมืองปัน พ.ศ. 2113, พ.ศ. 2113, พุทธศักราช 2113, พ.ศ. 2113, พุทธศักราช 2113, จ.ศ. 933, จุลศักราช 933, จ.ศ. 933, จุลศักราช 933, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, บ้านเหมืองแดง, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จพระเป็นเจ้า, พระญาแก้วผาบราชภุมินท, ชาวเจ้า, สงฆ์, สังฆะ, มหาสามีติกขปัญโญ, พระสัพพัญญูเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, เจ้าสมเด็จมหาราชเจ้าแผ่นดิน, โจรศาสนา, วันศุกร์, เถรานุเถร, มหาเถร, เมิงปัน, เมืองปัน, ยางควง, พุทธศาสนา, วัดบ้านขามเมิงปัน, วัดบ้านขามเมืองปัน, ผูกพัทธสีมา, การบวช, สังฆกรรม, อุปสัมปทากรรม, การเรียน, การสึก, สิกเสข, ลาสิกขาบท, วงดวงชาตา, ปีมะแม, ขอมพิสัย, ปีรวงเม็ด, เดินจิตร, เดือนจิตร, ออก, วันเมิงเหม้า, เม็ง, มอญ, สารตราอาชญา, มูลศาสนา, อานารตน, กุศลผลบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2113, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระนางวิสุทธเทวี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2113 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1799?lang=th |
65 |
จารึกวัดนิรัครคัทธาอาราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2108 เจ้าหัวแสนแห่งเมืองเชียงขวง พร้อมด้วยนักบุญทั้งหลาย ร่วมกันสร้างอาราม ชื่อว่า นิรัครคัทธาอาราม |
จารึกวัดนิรัครคัทธาอาราม, นน. 4, นน. 4, หลักที่ 75 ศิลาจารึกได้มาจากวัดร้างใกล้น้ำมาง บ้านบ่อหลวง ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอปัว จังหวัดน่าน, หลักที่ 75 ศิลาจารึกได้มาจากวัดร้างใกล้น้ำมาง บ้านบ่อหลวง ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน, พ.ศ. 2108, พุทธศักราช 2108, พ.ศ. 2108, พุทธศักราช 2108, จ.ศ. 927, จุลศักราช 927, จ.ศ. 927, จุลศักราช 927, หินทราย, รูปใบเสมา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหัวแสน, นักบุญ, พระพุทธเจ้า, เจ้ากูสังฆะ, เจ้าไท, หมื่นขุนโขง, พระสงฆ์, เมืองหมื่นเชียงขวง, เมืองโสการัง, พุทธศาสนา, นิรัครคัทธาอาราม, นิรัครคัทธะอาราม, สุทธอาราม, สร้างอาราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, พระจันทร์, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระราหู, ราศีพิจิก, ปีดับเป้า, ปีดับเปล้า, วันกาบไจ้, เม็ง, มอญ, มูลศาสนา, ผลบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2108, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระนางวิสุทธเทวี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดร้างใกล้น้ำมาง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-พระเจ้าหัวแสนแห่งเชียงขวง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2108 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1536?lang=th |
66 |
จารึกวัดธาตุอุปสมาราม (บ้านโก่ม) |
ไทยน้อย |
ได้กล่าวถึงนาม ศรีภูมิเมืองเวียงจันทน์ (ศรีพุมเวียงจันทน์) คล้ายกับว่าจะเป็นผู้ถวายข้าโอกาส ตอนท้ายมีคำสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทรัพย์สินที่บริจาค พร้อมกับบอกเขตเนื้อที่ด้วย (คงหมายถึงที่วัด) |
อด. 5, อด. 5, จารึกวัดธาตุอุปสมาราม (บ้านโก่ม), จารึกวัดธาตุอุปสมาราม (วัดบ้านโก่ม), จารึกศรีพุมเวียงจันทน์, พ.ศ. 2134, พุทธศักราช 2134, พ.ศ. 2134, พุทธศักราช 2134, จ.ศ. 953, จุลศักราช 953, จ.ศ. 953, จุลศักราช 953, หินทราย สีเทา, รูปใบเสมา, ในพระอุโบสถวัดบ้านโก่ม, ตำบลเมืองพาน, อำเภอบ้านผือ, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, โอกาส, ข้าโอกาส, ศรีพุมเวียงจันทน์, ศรีภูมิเวียงจันทน์, ศรีพุมเมืองเวียงจันทน์, พุทธศาสนา, ถวายทาส, ถวายข้าโอกาส, ฤกษ์, อาชญา, สงสาร, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2134, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดธาตุอุปสมาราม อุดรธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-ศรีภูมิเมืองเวียงจันทน์, บุคคล-ศรีพุม |
ในอุโบสถ วัดธาตุอุปสมาราม หมู่ที่ 3 บ้านโก่ม ตำบลเมืองพาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2134 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2236?lang=th |
67 |
จารึกวัดทงแสง |
ฝักขาม |
ข้อความไม่สมบูรณ์ เนื่องจากจารึกท่อนบนหักหายไป จับความได้เพียงว่า กล่าวถึงการแต่งตั้งข้าพระให้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์ ตามบัญชาของพระมหาเทวี |
จารึกวัดทงแสง, พย. 37, พย. 37, ลพ. 30, ลพ. 30, จารึกมหาเถรปราสาทเจ้า, ศิลา, หินทราย, สีเทา, แผ่นยาว, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรหม, อินทร์, เทวดา, ท้าวจตุโลกบาล, นายเมิง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ชาวเจ้า, สังฆะ, พระเเจ้าแม่ลูก, เจ้าไท, พระมหาเทวีเจ้า, พันหล้าหนังสือเมิง, พันหล้าหนังสือเมือง, พันสินหนังสือเมิง, พันสินหนังสือเมิง, พันนาหลัง, สีทาด, ข้าพระ, มหาเถรปราสาทเจ้า, มหาเถรเจ้า, เจ้าอาจารย์มหิน, เจ้าพวกต้องแต้มคงคา, ชาวช่างทอง, น้อยใหม่ใหญ่แถม, ไพร่แถมชื่อ, เมิงสีพัด, เมืองสีพัด, พุทธศาสนา, อาราม, วัดทงแสง, วัดทงแลง, วัดทุ่งเย็น, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, สร้างวัด, การเมิง, การเมือง, อุปัฏฐาก, สัตว์, อาชญา, ธรรม, ทุกข์, พยาธิ, โพย, กรรมการ, ลายสือ, บุญ, ครัว, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1738?lang=th |
68 |
จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึงนามของพระยาสุรเทพเจ้า ว่าได้สร้างไว้เมื่อปี จ.ศ. 988 และได้กล่าวถึงการอุทิศเลกวัด ถึง 5 ครัว ในจำนวนนี้มีขุนนางผู้ใหญ่ถึง 2 ครัว คือ แสนนันทสงคราม และ เทพอาสา ในตอนท้ายได้กล่าวคำสาปแช่งไว้ด้วย |
อด. 2, อด. 2, จารึกวัดสุวรรณคูหา หลักที่ 2, จารึกวัดสุวรรณคูหา หลักที่ 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 3, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 3, พ.ศ. 2169, พุทธศักราช 2169, พ.ศ. 2169, พุทธศักราช 2169, จ.ศ. 988, จุลศักราช 988, จ.ศ. 988, จุลศักราช 988, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดถ้ำสุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ตำบลนาสี อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดอุดรธานี, พระยาสุรเทพเจ้า, แสนศรี, เมีย, ลูก, แสนนันทสมคราม, นางกว้าน, เทพอาสา, อีบัว, น้อง, หลาน, พระศรีมหาโพธิ์, นางหมิ่น, ลูกคำบาง, อีข่า, โอกาส, ประธาน, โสตเทวทัต, พระยาสุรเทพเจ้า, สงคราม, เทพอาสา, พระศรีมหาโพธิเจ้า, คำปาน, อีขา, แสนสี, ราม, เลกวัด, ข้าพระ, ข้าโอกาส, บ้านถ้ำ, นากวานกัว, นาเหมือง, พุทธศาสนา, ดวงลักขณาฤกษ์ยาม, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ยามเที่ยงวัน, ภูมิบาล, ภูมมิบาล, พระมหาธาตุเจ้า, ครัว, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4 |
วัดถ้ำสุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ตำบลนาสี อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำภู (แยกตัวมาจากจังหวัดอุดรธานี) |
พุทธศักราช 2169 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2463?lang=th |
69 |
จารึกวัดดนลูง |
ฝักขาม |
กล่าวถึงการฝังจารึกเพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ได้รับมอบหมายให้อยู่ดูแลวัด |
จารึกวัดดนลูง, พย. 38, พย. 38, จารึกวัดพระแก้ว, หินชนวนสีเทา, รูปใบเสมา, ชำรุด, วัดพระแก้ว, ตำบลเวียง, อำเภอเชียงคำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, ผ้าขาว, ข้าพระพุทธรูป, เจ้าหมื่นน้อยทิพคำ, เจ้าหมื่นนชโลวทน, เจ้าหมื่นบชเลาวทุน, ปาก, เจ้าพันขวา, เจ้าหัวหนองขวาง, ลาว, เจ้าหญัว, เจ้าอยู่หัว, พุทธศาสนา, ฝังจาริด, ฝังจารึก, ข้าว, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุจารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระแก้ว พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-การถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
กุฏิเจ้าอาวาส วัดพระแก้ว ตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1741?lang=th |
70 |
จารึกวัดควาง |
ฝักขาม |
กล่าวถึงการอุทิศข้าพระให้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์ |
จารึกวัดควาง, พย. 48, พย. 48, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดดงแล, บ้านเหยียน, ตำบลใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไสหรวย, เม, เมีย, ลูก, ญิง, หญิง, มหาเถรเจ้า, ข้าพระพุทธเจ้า, พี่ญา, เจ้าพญา, ลูกมหาเถรสารีบุตร, พันหลวงกอว, พันหลวงกอง, ข้าพระ, หมื่น, ขุน, ผู้สินออกกิน, ทุมเทด, หมื่นแจ่ม, หมื่นท้าว, พระเป็นเจ้า, เจ้าพันหนังสือต่างเมิง, เจ้าพันหนังสือต่างเมือง, ทุมเทดหมื่นเขา, เค้า, พันสุวันหนังสือ, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, ปากรัด, ปากพันหนังสือ, เจ้าหมื่นหนังสือ, เจ้าไท, เจ้าพันต่างเมิง, ปากท้าว, เงิน, เลาบ้านพันวา, แช่พราน, เมิงพญาว, เมืองพญาว, เมืองพะเยา, พสิม, พุทธศาสนา, วัดควาง, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองบ้านเมือง, แต่งเมิง, แต่งเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีมังกร, ลัคนา, พระจันทร์, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีเมถุน, พระพฤหัสบดี, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีธนู, ปีรวงไส้, บุญ, ที่ดิน, ที่นา, พระพุทธรูป, เรือน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1761?lang=th |
71 |
จารึกวัดคงกระพันชาตรี |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการอุทิศทาสโอกาสแก่ศาสนา และสาปแช่งผู้ที่ทำลายทานวัตถุเหล่านั้น |
นค. 12, นค. 12, ศิลาจารึกวัดคงกระพันชาตรี 2, ศิลาจารึกวัดคงกระพันชาตรี 2, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดคงกระพันชาตรี, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, ญาณโพธิเจ้า, ข้อย, ข้าทาส, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, หยาดน้ำ, นรก, บาป, เรือน, เหย้า, แผ่นธรณี, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ลักษณะ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดคงกระพันชาตรี หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง |
วัดคงกระพันชาตรี ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศตวรรษ 22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2391?lang=th |
72 |
จารึกลุงพระเจ้า |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด จับความไม่ได้ |
จารึกลุงพระเจ้า, พย. 86, พย. 86, หิน, เศษจารึกชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, น้ำมัน, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1908?lang=th |
73 |
จารึกระฆังในถ้ำเชียงดาว |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกบอกเวลาสร้าง ชื่อผู้สร้าง และวัตถุประสงค์ที่สร้างระฆัง ชื่อผู้บริจาคโลหะ น้ำหนัก และคำชักชวนผู้บริจาคไทยทานให้ตั้งความปรารถนา |
ชม. 66 จารึกระฆังในถ้ำเชียงดาว, ชม. 66 จารึกระฆังในถ้ำเชียงดาว, ชม. 66, ชม. 66, จารึกที่ระฆังในถ้ำเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2158, จารึกที่ระฆังในถ้ำเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2158, พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, โลหะ, ระฆัง, ถ้ำเชียงดาว, อำเภอเชียงดาว, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อริยะอรัญวาสีเจ้า, พละปัญโญ, สิก, โยม, ชาวตีนวัด, แสนพี่เลี้ยง, ประธาน, ผู้เฒ่าผู้แก่, นักบุญ, อุบาสกอุบาสิกา, สงฆ์เจ้า, สมเด็จสังฆราชสามี, แสนชาวราชอุดม, เจ้าแผ่นดิน, สามีภรรยา, หมื่นตอง, หมื่นทุม, หมื่นรัตนะ, หมื่นลิขนะ, เด็กวัด, อันเตวาสิก, ตีนวัด, ทองสัมฤทธิ์, ไทยทาน, นักบุญ, เมืองเชียงดาว, ชินศาสนา, พุทธศาสนา, อารามถ้ำ, สร้างระฆัง, หล่อระฆัง, แผ่เมตตาธรรมพรหมวิหาร, ปีขาล, ปีกาบยี, เดือนเชษฐ, สุกกปักขตรีทัสสะ, วันอังคาร, ยามตุดซ้าย, ยามตูดซ้าย, พระจันทร์, นักขัตฤกษ์, หัสต, วัสสา, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2157, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนโลหะ, จารึกรูประฆัง, จารึกถ้ำเชียงดาว, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกพระพุทธศาสนา, จารึกบนใบเสมา, การบริจาคและการทำบุญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในถ้ำเชียงดาว เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, นวพรรณ ภัทรมูล, ฮันส์ เพนธ์, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา |
ถ้ำเชียงดาว ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2158 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2095?lang=th |
74 |
จารึกระฆังด้านขวาพระวิหารวัดพระสิงห์ |
ธรรมล้านนา |
เมื่อ พ.ศ. 2172 สมเด็จเสฏฐอัคควรราชครูเจ้าสีหลรามาธิบดี ได้เป็นประธานหล่อระฆังลูกนี้ ไว้ตีบูชาพระสิงห์ (พระพุทธรูป) |
1.2.3.1 วัดพระสิงห์ พ.ศ. 2172, 1.2.3.1 วัดพระสิงห์ พ.ศ. 2172, ชม. 23 จารึกสมเด็จเสฏฐอรรควรราช หล่อเดง (ระฆัง), ชม. 23 จารึกสมเด็จเสฏฐอรรควรราช หล่อเดง (ระฆัง), ชม. 23 จารึกระฆังด้านขวาพระวิหารวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2172, ชม. 23 จารึกระฆังด้านขวาพระวิหารวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2172, วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, โลหะสีเขียว, รูประฆัง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2172, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเมืองน่าน, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ลงอุโบสถ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, บุคคล-สมเด็จเสฏฐอัคควรราชครูเจ้าสีหลรามาธิบดี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, จารึกระฆังด้านขวาพระวิหารวัดพระสิงห์ |
วัดพระสิงห์ (ด้านขวาพระวิหาร) ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2172 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14723?lang=th |
75 |
จารึกรอยบุญ |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด บอกเพียงว่าบุคคลชื่อ “รอยบุญ” มีความปรารถนาที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง |
จารึกรอยบุญ, จารึกแผ่นอิฐร้อยบุญ, พย. 33, พย. 33, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, ชำรุด, วัดศรีอุโมงคำ, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, รอยบุญบาเลา, รอยบุญป้าเลา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-รอยบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1736?lang=th |
76 |
จารึกรอบองค์ระฆังสถูปศิลา |
ฝักขาม |
จารึกกล่าวถึงบุคคล คือ “มหาเถร” ว่าเป็นผู้สร้างองค์ระฆัง |
จารึกรอบองค์ระฆังสถูปศิลา, พย. 68, พย. 68, หินทรายสีแดง, สถูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, มหาเถร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, บุคคล-มหาเถร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1867?lang=th |
77 |
จารึกรอบฐานสถูปศิลา |
ฝักขาม |
จารึกกล่าวถึงบุคคล คือ “หนาน” ว่าเป็นผู้สร้างพระสถูป ด้วยมุ่งหวังที่จะมีตาทิพย์ |
จารึกรอบฐานสถูปศิลา, พย. 67, พย. 67, หินทรายสีแดง, สถูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, หนาน, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, บุคคล-หนาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1865?lang=th |
78 |
จารึกมุจลินทอาราม 2 |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุเขตที่ดินและข้าโอกาสที่ถวายไว้แด่วัดมุจลินทอาราม เมืองห้วยหลวง ตอนท้ายได้มีการประกาศเขตปลอดอาญาแผ่นดินไว้เช่นเดียวกันกับศิลาจารึกมุจลินทอาราม 1 (ขก. 7) |
ขก. 10, ขก. 10, ศิลาจารึก ขก./11 อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากบ้านเสมา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ศิลาจารึก ขก./11 อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากบ้านเสมา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, จารึกมุจลินทอาราม 2, จารึกมุจลินทอาราม 2, จารึกวัดมุจลินทอาราม 2, จารึกวัดมุจลินทอาราม 2, พ.ศ. 2139, พุทธศักราช 2139, พ.ศ. 2139, พุทธศักราช 2139, จ.ศ. 958, จุลศักราช 958, จ.ศ. 958, จุลศักราช 958, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านเสมา, อำเภอกมลาไสย, จังหวัดกาฬสินธุ์, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จองค์เป็นเจ้า, พระเจ้าวัดมุจจลินทอารามเมืองห้วยหลวง, พระเจ้ามุจจลินทอาราม, โชดก, จ่าเฒ่า, มงคล, ท้าวเจ้า, ข้าโอกาส, ข้าทาส, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ขุนนาย, ข้อย, โพธิ, อุปการแก้ว, นาสาน, พุทธศาสนา, ทาน, ถวายนา, อุทิศนา, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, พระราชอาชญา, เขตดินไร่นา, พืชผล, โลภตัณหา, ทุกข์, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2139, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, บุคคล-พระหน่อเมือง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2139 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2166?lang=th |
79 |
จารึกมุจลินทอาราม 1 |
ไทยน้อย |
พระวรรัตนธรรมประโชติฯ หรือในพงศาวดารเรียกว่า พระหน่อเมือง (พ.ศ. 2134-2141) มีพระราชโองการเถราภิเษกพระสังฆราชมุจลินทมุนีจุฬาโลก วัดมุจลินทอาราม ที่เมืองห้วยหลวง และอุทิศที่ดิน นาจังหัน ที่สำคัญที่สุดคือ ได้กำหนดเขตวัดมุจลินทอารามเป็นเขตปลอดอาญาแผ่นดิน นั่นคือ ผู้ที่ถูกอาญาแผ่นดินหนีเข้ามาพึ่งศาสนาในบริเวณวัดจะได้รับอภัยโทษ คือจากโทษประหาร จองจำ โบยตี มาเป็นเพียงปรับไหม และยกให้เป็นข้าโอกาสของวัด |
ขก. 7, ขก. 7, จารึกวัดมุจลินทอาราม 1 (ขก. 7), จารึกวัดมุจลินทอาราม 1 (ขก. 7), ศิลาจารึก ขก. 8 อักษรและภาษาไทย จ.ศ. 956, ศิลาจารึก ขก. 8 อักษรและภาษาไทย จ.ศ. 956, ศิลาจารึกเมืองห้วยหลวง (ขก. 8), ศิลาจารึกเมืองห้วยหลวง (ขก. 8), จารึกมุจลินทอาราม 1, จารึกมุจลินทอาราม 1, พ.ศ. 2137, พุทธศักราช 2137, พ.ศ. 2137, พุทธศักราช 2137, จ.ศ. 956, จุลศักราช 956, จ.ศ. 956, จุลศักราช 956, ศิลา ประเภทหินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตร, พระเจ้าตนเป็นพระ, พระวรรัตนธรรมประโชติ, เสตคัชชอัศจรรย์, สุวรรณสมุคคขัคครัตนสารราชบพิตร, มหาสังฆราชามุจลินทมุนีจุฬาโลก, พระพุทธเจ้า, ภูมิปาล, ขุนนาย, ข้อย, ข้าทาส, ข่อย, โพธิ, ข้าวตอกดอกไม้, เผิง, แก้ว, สินไหม, เมืองห้วยหลวง, นาหอกลอง, นาจ่าน้อย, นาเริง, นากว้าน, นาส่วยหน้า, นาแขวงบอน, นาถิ่นตอง, นาต่อ, นาท่าเรือ, นาลองของ, นาแก้วสมคาม, นาหอหน้า, นาหมาตายดีก, นาพวกไก, นาพวกไก่, นาแพ, นาเจ้าน้อย, นาแควงบอน 1, นาล่องของ, พุทธศาสนา, มุจลินทอาราม, คามเขตมุจลินทอาราม, เถราภิเษกมหาสังฆนายก, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, พระราชอาชญาลายจุ้ม, เวียก, การงาน, นรหิต, พระศาสนา, โลภตัณหา, ไร่นา, ทุกข์, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, ฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สงวน รอดบุญ, จันทรเกษม, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2137, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, บุคคล-พระวรรัตนธรรมประโชติฯ, บุคคล-พระหน่อเมือง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2137 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2161?lang=th |
80 |
จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด ปรากฏเพียงรายนามพระสงฆ์ และขุนนาง ที่ได้รับมอบหมายให้ร่วมกันทำหรือสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
จารึกมหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่นฯ, จารึกเจ้าแสนพยาว, พย. 22, พย. 22, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเจ้าพรม, มหาสังฆราชเจ้าผญาวัดหมื่น, มหาเถรหลานเจ้า, หลวงมงคล, เจ้าแสนพยาว, เจ้าหมื่นนาหลังแท่น, ธรรมะโชติปาละ, พุทธศาสนา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ธรรมะโชติปาละ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1684?lang=th |
81 |
จารึกพุทธศาสน์ |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏเพียงชื่อวัน |
จารึกพุทธศาสน์, พย. 24, พย. 24, หินทรายสีเทา, แผ่นสี่เหลี่ยม ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, พุทธศาสน์, วันกดไส้, เม็ง, มอญ, วันประหัด, วันพฤหัสบดี, ติดถิ, ติดถี, ดีถี, ริก, ฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1691?lang=th |
82 |
จารึกพระสัตย์ปฏิญาณ |
ฝักขาม |
เป็นข้อความที่กล่าวถึงคำ “พระสัตย์ปฏิญาณ” ระหว่างพระราชภาคิไนย (หลาน) และพระมาตุลา (น้า) ผู้ครองราชสมบัติ |
จารึกพระสัตย์ปฏิญาณ, ลพ. 14 จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย (ประมาณ พ.ศ. 2025-2050), ลพ. 14 จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย (ประมาณ พ.ศ. 2025-2050), หลักที่ 83 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, หลักที่ 83 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน, ลพ. 14, ลพ./14, พช. 26, 347, ลพ. 14, ลพ./14, พช. 26, 347, หินทรายสีแดง, ชำรุด, หลักสี่เหลี่ยม, วัดพระธาตุหริภุญไชย, มุมตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สัปปุรุษ, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, โลการถจรรยา, ภัยอันตราย, ราชสมบัติ, คำพระสัตย์ปฏิญาณ, บุญญาภิสนท์, ธรรม, อนาคต, เทพดา, อารักษ์, มงคลจักราพาล, จักรวาล, ผลบุญ, โลกัตถจริยา, โทษ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2508) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2077?lang=th |
83 |
จารึกพระศรีมหาโพธิ |
ฝักขาม |
กล่าวถึงต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่านำมาจากทางทิศใต้ทุกต้น |
ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21 23, ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 12, ชร.12, หินชนวนสีน้ำตาล, ลักษณะ, แผ่นรูปไข่, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, พุทธศาสนา, ทักขิณ, ทักษิณ, พระทันตธาตุ, ไทย, ล้านนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปวงรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ต้นพระศรีมหาโพธิ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1464?lang=th |
84 |
จารึกพระวชิรเถรสร้างพระพุทธรูป |
ธรรมล้านนา |
พระวชิรเถระสร้างพระพุทธรูปหิน โดยขอให้ได้ตรัสรู้ในพระโพธิญาณ |
จารึกพระวชิรเถรสร้างพระพุทธรูป, ชร.32, ชร. 32, พุทธศตวรรษที่ 21-23, พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปอาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ตรัสรู้, พระพุทธเจ้า, สัพพัญญู, โพธิญาณ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนหินทราย, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกในวังพระโบราณเวียงเดิม, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังพระโบราณเวียงเดิม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระวชิรเถระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง , มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระโบราณเวียงเดิม ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเวียงไชย จังหวัดเชียงราย |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1505?lang=th |
85 |
จารึกพระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์ (จารึกวัดบ้านริมท่าวัด) |
ธรรมอีสาน |
พระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์แห่งล้านช้างได้โปรดให้สร้างศิลาจารึกหลักนี้ ได้กำหนดเขตที่ให้อภัยชีวิตสรรพสัตว์ทั้งปวง และได้อ้างถึงพระเจ้าโพธิสาลราชว่าได้กำหนดเขตปลอดอาญาแผ่นดินไว้ก่อนแล้ว ที่น่าสนใจมากคือ เรียกเมืองสกลนครว่า “เมืองเชียงใหม่หนองหาน” และเนื้อหาที่ศิลาจารึกขาดหายไปน่าจะกล่าวถึง เขตปลอดอาญาแผ่นดิน เช่นเดียวกับจารึกวัดมุจลินทอาราม |
สน. 1, สน. 1, ศิลาจารึก วัดบ้านริมท่าวัด อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สน. 1), ศิลาจารึก วัดบ้านริมท่าวัด อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สน. 1), ศิลาจารึกวัดมหาพรหมโพธิราช บ้านริมท่าวัด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร, จารึกพระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์, จารึกวัดบ้านริมท่าวัด, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดมหาพรหมโพธิราช, บ้านริมท่าวัด, ตำบลดงชน, อำเภอเมือง, จังหวัดสกลนคร, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้า, พระมหาพรหมณ์เทโวโพธิสัตว์, พระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์, สมเด็จพระโพธิสารเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมิกราชวังวรวงศาธิราชเจ้า, คามเขต, มณฑลกวม, รัตนะเขต, หลักเหนือ, หลักหว่างตอนแก้ว, หลักทางกังรอ, หนองขวง, ทางพังรอ, หนองขวาง, เขตแดนไร่นา, ป่าอารามมิก, พุทธศาสนา, วัดกลางเชียงใหม่หนองหาร, วัดกลางเชียงใหม่หนองหาน, ปีรวายไจ้, พระราชอาชญา, พระราชอาณาจักร, อัคควรศิลาเลก, อัคควรศิลาเลขสัพพสัตว์, แก่สรรพสัตว์, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้งสาม |
วัดมหาพรหมโพธิราช บ้านริมท่าวัด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร |
พุทธศักราช 2179 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2442?lang=th |
86 |
จารึกพระธาตุเจ้าเสด็จฯ |
ฝักขาม |
เป็นการบันทึกเหตุการณ์ที่น่าอัศจรรย์ โดยถือว่าพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฎิหาริย์ ว่า “ธาตุพระเจ้าได้เสด็จออกมาปรากฏดุจดังพระจันทร์ เมื่อวันเพ็ญ เดือน 6 ปีจอ จุลศักราช 973” ได้กล่าวถึง (คล้ายเรื่องที่มีอยู่ในตำนาน) ว่า “พระพุทธเจ้าโคตมะ ได้มาโปรดบริษัททั้งหลาย ถึงม่อนดอย” เรื่องที่ได้มาจากจารึกหลักนี้ แสดงว่าหมดสมัยราชวงศ์กษัตริย์มังรายแล้ว และดินแดนทางภาคเหนือของประเทศไทยในขณะนั้นบางครั้งก็ตกอยู่ในอำนาจของประเทศพม่า และในบางครั้งก็ขึ้นอยู่กับพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2154 เป็นรัชกาลของสมเด็จพระเอกาทศรถครองนครศรีอยุธยา เข้าใจว่าเมืองเชียงใหม่ตลอดจนล้านนา ตกอยู่ในอำนาจของพระองค์ด้วย เรื่องพระธาตุเสด็จในจารึกนี้ น่าเสียดายที่จารึกขาดหายไป จึงไม่รู้ว่า เป็นม่อนดอยอะไร หากจะให้สันนิษฐานแล้ว มั่นใจเหลือเกินว่าเรื่องนี้จะเป็นเรื่องตำนานพระธาตุจอมกิตติที่เมืองเชียงแสน เพราะองค์พระธาตุนั้นยังตั้งอยู่บนม่อนดอยขนาดย่อมอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ |
จารึกพระธาตุเจ้าเสด็จฯ, ลพ. 17, ลพ./17, พช. 19, 336, ศิลาจารึก ลพ. 17 อักษรไทย จ.ศ. 973, ลพ. 17, ลพ./17, พช. 19, 336, ศิลาจารึก ลพ. 17 อักษรไทย จ.ศ. 973, พ.ศ. 2154, พุทธศักราช 2154, พ.ศ. 2154, พุทธศักราช 2154, จ.ศ. 973, จุลศักราช 973, จ.ศ. 973, จุลศักราช 973, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, เจ้าอานนท์, อรหันตาเจ้า, พระเจ้าโคตมะ, บริษัท, ขุนหมื่น, พระสังขมงคลปัญโญ, พระญาขวาเชียงราย, ม่อนดอย, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุเจ้า, ถวายนา, อุทิศนา, คระชิง, กระชิง, ทานเคน, ทานประเคน, บุญรายสรี, บุญราศรี, เพ็ญ, ปีกดเส็ด, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, ราศีมีน, ลัคนา, ราศีเมษ, พระอังคาร, ราศีพฤษภ, พระพฤหัสบดี, ราศีกรกฎ, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, ญาน, ครัว, อากาศ, พระราหู, ราศีเมถุน, ธาตุพระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2154, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระชัยทิพ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุ, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, จารึกบ้านเชียงแล(เชียงแสน), พ.ศ.2513, จ.ศ.2153, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2153 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2132?lang=th |
87 |
จารึกพระญางำเมืองและพระญาร่วง |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ปรากฏเพียงนาม “ลาวงำเมิง” และ “พระญาร่วง” นอกนั้นจับความไม่ได้ |
จารึกพระญางำเมืองและพระญาร่วง, พย. 54, จารึกลาวงำเมืองและพญาร่วง, หินทรายสีแดง, แผ่นสี่เหลี่ยมชำรุด, วัดร้าง, น้ำอิงฝั่งเหนือ, ตำบลน้ำยง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ลาวงำเมิง, ลาวงำเมือง, พระญาร่วง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ระชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, บุคคล-ลาวงำเมิง, บุคคล-พระญาร่วง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1795?lang=th |
88 |
จารึกพบที่วัดลี |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด จับความไม่ได้ |
จารึกพบที่วัดลี, พย. 88, พย. 88, หิน, เศษจารึกชำรุด, วัดลี, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1912?lang=th |
89 |
จารึกพญาแสนหลวงพิงไชย |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกกล่าวถึง พระเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่ง ว่าทรงมีบัญชาให้พระยาแสนหลวงพิงชัยทำพิธีทานด้วยการอุทิศข้าพระให้ปฏิบัติดูแลแก่อารามป่าญางเถียงแชง |
จารึกพญาแสนหลวงพิงไชย, ลพ. 43, ลพ. 43, ศิลาจารึก (วัดช้างค้ำ) ลพ./43 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 919, ศิลาจารึก (วัดช้างค้ำ) ลพ./43 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 919, พ.ศ. 2100, พุทธศักราช 2100, พ.ศ. 2100, พุทธศักราช 2100, จ.ศ. 919, จุลศักราช 919, จ.ศ. 919, จุลศักราช 919, วัดพระธาตุหริภุญไชย, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าอยู่หัว, เจ้าพระยาแสนหลวงพิงชัย, เอกเสนานิมิตร์, เจ้าปาครัว, หญิง, เถรผดา, พุทโธปถาก, เจ้าปก, เจ้าแคว้น, นายบ้าน, นายเมือง, นายเลี้ยง, นายดู, เจ้าหมื่นดาบเรือนซ้าย, พวกตองแต้มขวา, พวกต้องแต้มขวาชื่อ, โรงดิน, พุทธศาสนา, อารามป่าญางเถียงแชง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, ราศีเมถุน, พระจันทร์, พระพุธ, พระราหู, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีตุล, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, ลัคนา, ราศีกันย์, ดิถี, นาที, มะเส็งฉนำ, กัมโพชภาษา, ขอมพิไสย, ปีเมิงไส้, ทวิราสาฒ, วันจันทร์, วันกาบสัน, ยามเที่ยง, ออก, ทาน, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2100, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระยาหลวงแสนหลวงพิงชัย, ไม่มีรูป, ไม่มีสำนา |
หอกังสดาล วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2100 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2153?lang=th |
90 |
จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีน้อยคำ จับความได้ว่ากล่าวถึงการอุทิศคนและเงินให้แก่วัด |
จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด, ชร. 24, ชร. 24, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เบี้ย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1407?lang=th |
91 |
จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีน้อยคำ ไม่ชัดเจนว่ากล่าวถึงเรื่องอะไร |
จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ, ชร. 20, ชร. 20, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, รัตนทัญ, ราญ, มวรรัตน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1403?lang=th |
92 |
จารึกบนแผ่นอิฐพุทธสร |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีข้อความว่า “ดินพุทธสร” น่าจะเป็นชื่อของที่ดินแห่งหนึ่ง |
จารึกบนแผ่นอิฐพุทธสร, ชร. 22, ชร. 22, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินพุทธสร, ดินพุดทะสอน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1405?lang=th |
93 |
จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้ปั้นอิฐคือ “ธุกขัตย” |
จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น, ชร. 23, ชร. 23, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ปั้นอิฐ, ธุกขัตยะ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3931?lang=th |
94 |
จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 27 ตาราง 62 ก้อน ช |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้าง ได้แก่ หม่อมจำดวง |
จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 27 ตาราง 62 ก้อน ช, จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 27 ตาราง 62 ก้อน ช, ดินเผา, แผ่นอิฐ, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, หม่อมจำดวง, พุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึก พ.ศ. 2244, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191-2244, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นอิฐ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-หม่อมจำดวง, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2217?lang=th |
95 |
จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 26 ตาราง 62 ก้อน ช |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้าง คือ นางเชียงจู |
จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 26 ตาราง 62 ก้อน ช, จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 26 ตาราง 62 ก้อน ช, ดินเผา, แผ่นอิฐ, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, นางเชียงจู, พุทธศาสนา, ดินจี่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึก พ.ศ. 2244, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191-2244, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นอิฐ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-นางเชียงจู, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2215?lang=th |
96 |
จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 4 ตาราง 62 ก้อน ช |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้าง ได้แก่ แก่นศิลา |
จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 4 ตาราง 62 ก้อน ช, จารึกบนแผ่นอิฐ หมายเลข 4 ตาราง 62 ก้อน ชวัตถุ, ดินเผา, แผ่นอิฐ, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, แก่นศิลา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึก พ.ศ. 2244, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191-2244, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นอิฐ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-แก่นศิลา, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2213?lang=th |
97 |
จารึกบนแผ่นอิฐ |
ฝักขาม |
จารึกชำรุดมาก ปรากฏข้อความเพียงน้อยคำ ไม่สามารถจับใจความได้ |
จารึกบนแผ่นอิฐ, ชร. 16, ชร. 16, ดินเผา, แผ่นชำรุด, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แอวี, โลกย์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1399?lang=th |
98 |
จารึกบนระฆังวัดพระสิงห์ |
ฝักขาม |
เมื่อ พ.ศ. 2129 พระยาแสนหลวงพิงไชยและพระเทวีได้มีศรัทธาสร้างระฆังลูกนี้ไว้ตีเพื่อบูชาพระพุทธเจ้า และใช้เตือนพระสงฆ์ให้ลงอุโบสถปวารณากรรม |
ชม. 22 จารึกวัดพระยาแสนหลวงพิงคไชย, ชม. 22 จารึกวัดพระยาแสนหลวงพิงคไชย, ชม. 22 จารึกบนระฆังวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2129, ชม. 22 จารึกบนระฆังวัดพระสิงห์ พ.ศ. 2129, ชม. 22, ชม. 22, วัดพระสิงห์ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, โลหะสีเขียว, รูประฆัง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2129, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, วัตถุ-จารึกบนโลหะสีเขียว, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ลงอุโบสถ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, บุคคล-พระยาแสนหลวงพิงไชย |
วัดพระสิงห์ (หอระฆังด้านซ้ายหลังวิหาร) ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2129 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12899?lang=th |
99 |
จารึกบนดินขอโรงเหนือ |
ธรรมล้านนา,พม่า |
บอกประวัติของดินขอแผ่นนี้ว่าถูกปั้นขึ้นเมื่ออยู่โรงเหนือ |
ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 23, ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 23, พุทธศตวรรษที่ 21 23, ดินเผา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เวียงห้าว ตำบล หัวงุ้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย, ล้านนา, โรงเหนือ, พุทธ, ดินขอ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1610?lang=th |
100 |
จารึกบนดินขอญาณปั้น |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีคำเดียว คือ “ญาณปั้น” |
จารึกบนดินขอญาณปั้น, ชร. 19, ชร. 19, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญาณปั้น, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ญาณปั้น, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1401?lang=th |
101 |
จารึกนางแสนพลัวสร้างพระพุทธรูปไสยาสน์ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2129 (หรือ พ.ศ. 2130 ถ้านับแบบลังกา) นางแสนพลัวได้สร้างพระพุทธรูปด้วยใจศรัทธา |
จารึกนางแสนพลัวสร้างพระพุทธรูปไสยาสน์, นน. 5, นน. 5, พ.ศ. 2129, พุทธศักราช 2129, พ.ศ. 2129, พุทธศักราช 2129, พ.ศ. 2130, พุทธศักราช 2130, พ.ศ. 2130, พุทธศักราช 2130, จ.ศ. 948, จุลศักราช 948, จ.ศ. 948, จุลศักราช 948, หินทราย,รูปใบเสมา, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อดีตพุทธ, อนาคตวรพุทธศาสนา, อนาคตพุทธ, นางแสนพลัว, มหาอุบาสิกา, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, สร้างพระพุทธปฏิมา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, ราศีมังกร, พระอังคาร, พระราหู, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีเมษ, ลัคนา, ราศีมีน, ปีจอ, ปีระวายเส็ด, เดือนมาฆ, ศุกลตติยา, ออก, กาไก๊, นักขัตฤกษ์, ธนิษฐา, พระพุทธปฏิมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัติศาสตร์ล้านนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2129, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุแช่แห้ง น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางแสนพลัว, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดพระธาตุแช่แห้ง ตำบลม่วงตื๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2129 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1538?lang=th |
102 |
จารึกที่แหล่งตัดหิน |
ฝักขาม |
ข้อความในจารึกกล่าวว่ามีพระพุทธรูปอยู่ใต้หินก้อนนี้องค์หนึ่ง |
จารึกที่แหล่งตัดหิน, นวพรรณ ภัทรมูล, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่แหล่งตัดหินทราย พะเยา |
แหล่งตัดหินทราย บริเวณเทือกเขาใกล้สำนักวิปัสสนาผาธรรมนิมิต ตำบลท่าวังทอง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19147?lang=th |
103 |
จารึกที่แกนปลีใต้กลีบบัวหงายพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช |
ขอมอยุธยา |
กล่าวถึงการซ่อมส่วนยอดของพระบรมธาตุเจดีย์ซึ่งหักลงใน พ.ศ. 2190 |
จารึกที่แกนปลีใต้กลีบบัวหงายพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช, จารึกที่แกนปลีใต้กลีบบัวหงาย, โลหะ, แกนปลี, วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช, สยาม, ไทย, อยุธยา, ปราสาททอง, กรุงศรีอยุธยา, สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช, พุทธ, ปลียอด, แกนปลีเหตุการณ์, แกนปลีชำรุด, แกนปลีหัก, ซ่อมแซม, บูรณะ, ปฏิสังขรณ์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2190, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่แกนปลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน |
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พุทธศักราช 2190 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1321?lang=th |
104 |
จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายที่ดินแด่พระพุทธรูปไสยาสน์ |
จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21 23, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทรายสีเทา, รูปครึ่งวงกลม, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินมาดา, ดินทารอก, พุทธศาสนา, ถวายที่ดิน, พระพุทธรูป, พระไสยาสน์, ที่ดิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1392?lang=th |
105 |
จารึกตัวเลข |
ฝักขาม |
อักษรในจารึกเป็นตัวเลขทั้งหมด |
จารึกตัวเลข, พย. 83, พย. 83, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบันทึกตัวเลข, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1904?lang=th |
106 |
จารึกด้านหลังฐานพระพุทธรูปหินทราย |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “(-)ามบ่อเงิน” |
จารึกด้านหลังฐานพระพุทธรูปหินทราย, พย. 74, พย. 74, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, บ่อเงิน, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1886?lang=th |
107 |
จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2147 (สมเด็จ) บรมบพิตรพระเป็นเจ้าเมืองเชียงแสน พร้อมทั้งพระมหาสมเด็จราชครู วัดพระหลวง และพระสังฆโมลี ร่วมกันสร้างรูปพระฤาษีตนนี้ ต่อจากนั้นเป็นคำไหว้พระธาตุบนดอยตุง ตำนานพระธาตุดอยตุงโดยย่อ และคำอธิบายรูปที่ฐานรูปพระฤาษี |
ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, จารึกดอยตุง, ชร. 6, ชร. 6, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, T. 62, ช.ส. 58, T. 62, ช.ส. 58, Dòy Tung A.D. 1605, Dòy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, ประติมากรรมฤาษีกัมมะโล, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, สำริดสีเขียว, สัมฤทธิ์สีเขียว, ฐานพระฤาษีวัชมฤค, วัดน้อยดอยตุง, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้ารัสสี, พ่อนาง, แม่นาง, บรมบพิตร, พระเป็นเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, พระมหาสมเด็จราชครูเจ้าวัดพระหลวง, พระพุทธเจ้า, พระสงฆมูฬีเจ้า, พระสงฆ์มูฬีเจ้า, ประธาน, อำมาตย์, ลูกชาวสากยะ, พระเจ้าไพลองอากาศ, อานนท์, พระยาอินทร์, เทวบุตร, พระยามังราย, พระยามังคราม, พระยาแสนพู, พระยาคำฟู, พระยาผายู, ท้าวพันตู, ชาวมิลักขุ, พระยาอุชุตตราช, กวาง, หม้อน้ำมัน, ภาชนะ, ไหน้ำ, ไม้คาน, ก้อนเส้า, ไม้เท้า, หินหมากนาวตัด, ข้าว, ทุง, ธง, เมิงเชียงแสน, เมืองเชียงแสน, ดอยปู่เจ้า, เมิงยวน, เมืองยวน, พุทธศาสนา, บูชาพระธาตุเจ้า, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีธนู, พระราหู, ราศีตุล, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีกาบสี, ออก, เม็ง, มอญ, ไทยกาบสัน, กลองงาย, กรรมภาระ, นิทาน, พุทธทำนาย, บิณฑบาต, บิณฑบาต, นิพพาน, ผืน, หยาดน้ำ, อุปฐาก, ครัว, แช่ง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2147, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรูปเคารพ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุดอยตุง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงแสน, บุคคล-พระมหาสมเด็จราชครู, บุคคล-พระสังฆโมลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2147 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1441?lang=th |
108 |
จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม |
ฝักขาม |
เมื่อปี จ.ศ. 964 หรือ พ.ศ. 2145 พญาแสนหลวงพิงไชยนครและพระสงฆ์เชิญชวนให้บรรดาเจ้าขุนทั้งหลายร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยมีเจ้าหัวแสนหลวงไนเป็นองค์อุปถัมภ์ |
ลป. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม พ.ศ. 2145, ลป. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปไสยาสน์วัดเกาะวาลุการาม พ.ศ. 2145, วัดเกาะวาลุการาม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, จ.ศ. 964, พ.ศ. 2145, จ.ศ. 964, พ.ศ. 2145, จุลศักราช 964, พุทธศักราช 2145, จุลศักราช 964, พุทธศักราช 2145, อาณาจักรล้านนา, พญาแสนหลวงพิงไชยนคร, สร้างพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และแม่ฮ่องสอน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2145, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเกาะวาลุการาม ลำปาง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-พญาแสนหลวงพิงไชยนคร |
วัดเกาะวาลุการาม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560) |
พุทธศักราช 2124 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18127?lang=th |
109 |
จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุถึงบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “เม(เมีย)นายร้อยสวนลิ” |
จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง, พย. 76, พย. 76, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นายร้อยสวนลิ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เมียนายร้อยสวนลิ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1890?lang=th |
110 |
จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “เถ้าเอ้ย” |
จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง, พย. 79, พย. 79, หินทรายสีน้ำตาลปนแดง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เถ้าเอ้ย, เฒ่าเอ้ย, เถ้าเอื้อย, เฒ่าเอื้อย, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาลปนแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เถ้าเอ้ย |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1896?lang=th |
111 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี |
สิงหล |
ข้อความจารึกเป็นคาถา ว่าด้วย จตุราริยสัจ อันประกอบด้วย อริยสัจ 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค |
พย. 32, พย. 32, จารึกภาษามคธบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกษศรี จ. เชียงราย, หลักที่ 80 จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกศศรี จังหวัดเชียงราย, หลักที่ 80 จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่วัดเกศศรี กิ่งอำเภอภูกามยาว จังหวัดเชียงราย, พย. 32 จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี พุทธศตวรรษที่ 21 - 22, พย. 32 จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดวัดเกษศรี พุทธศตวรรษที่ 21-22, วัดเกษศรี, บ้านร้อง, ตำบลดงเจน, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นักปราชญ์, ปัญญา, อรรถ, จตุราริยสัจ, ส.ม.นิ., ทุ.นิ.ม., ส.ม.ทุ., ส.นิ.ทุ., โตฏกฉันท์, ทุกขอริยสัจ, สมุทยอริยสัจ, นิโรธอริยสัจ, มรรคอริยสัจ, สัตวโลก, สัตว์โลก, สกลักษณะ, คาถา, ชรา, มรณะ, สังสารทุกข์, นิพพาน, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538), , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดเกษศรี บ้านร้อง ตำบลดงเจน อำเภอภูกามยาว (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอเมือง) จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2531?lang=th |
112 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “สามเจ้า” |
จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง, พย. 64, พย. 64, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สามเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1857?lang=th |
113 |
จารึกฐานพระพุทธรูปสามหมากม่วงสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “สามหมากม่วง” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง, พย. 78, พย. 78, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สามหมากม่วง, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามหมากม่วง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-สามหมากม่วง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1894?lang=th |
114 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 1 |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุศักราชและวันที่จารึก ปรากฏชื่อบุคคลคือ สมเด็จสงคสามเจ้าพันไชย ข้อความต่อจากนี้ชำรุด จับความไม่ได้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 1, พ.ศ. 2127, พุทธศักราช 2127, พ.ศ. 2127, พุทธศักราช 2127, จ.ศ. 946, จุลศักราช 946, จ.ศ. 946, จุลศักราช 946, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, ตำบลเวียงคุก, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จสงคสามเจ้าพันไชย, พุทธศาสนา, ปีสัน, ปีวอก, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2127, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-สมเด็จสงคสามเจ้าพันไชย |
พระพุทธรูปองค์ซ้ายมือของพระประธาน ในอุโบสถวัดโพธิสมภรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี |
พุทธศักราช 2127 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2407?lang=th |
115 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกศักราชปีที่สร้าง และนามผู้สร้าง คือ เจ้าหมื่นทิพย์ พร้อมด้วยครอบครัว ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อเป็นที่สักการะบูชาแก่คนทั้งหลาย |
นค. 18, นค. 18, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3, พ.ศ. 2199, พุทธศักราช 2199, พ.ศ. 2199, พุทธศักราช 2199, จ.ศ. 1018, จุลศักราช 1018, จ.ศ. 1018, จุลศักราช 1018, ฐานพระพุทธรูปประธาน, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย,ไทย, ล้านช้าง, เจ้าหมื่นทิพย์, ภริยา, บุตร, ธิดา, ปู่ย่าตานาย, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, ปีรวายสัน, มื้อรวงเม้า, ยามแถใกล้เที่ยง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2199, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหมื่นทิพย์ |
ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2199 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2467?lang=th |
116 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 2 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายข้าโอกาสกับพระพุทธรูป |
นค. 20, นค. 20, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 2, พ.ศ. 2191, พุทธศักราช 2191, พ.ศ. 2191, พุทธศักราช 2191, จ.ศ. 1010, จุลศักราช 1010, จ.ศ. 1010, จุลศักราช 1010, สัมริด, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ด้านขวามือพระประธาน, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, หญิงเจิม, บักหมื่นข้าว, ลูก, บักบุญข่า, ผัวเมีย, บักสุกโต, ข้อย, พุทธศาสนา, ให้ทาส, อุทิศทาส, ถวายข้าโอกาส, ขายทาส, ไถ่ทาส, มื้อกาบยี่, มื้อกาบยี, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2171, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหม่อมแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายพระพุทธรูป |
ในพระอุโบสถ ด้านขวามือพระประธาน วัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2191 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2477?lang=th |
117 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงนางหมื่นนาหลัก ให้ทาสโอกาสแก่วัด และได้กำหนดค่าตัวของทาสไว้ด้วย |
นค. 19, นค. 19, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 1, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, สัมริด, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เจ้านางหมื่นนาหลัก, ข้าทาส, ข้อย, เทวทัต, พุทธศาสนา, ให้ทาส, อุทิศทาส, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, วันไส้, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2179, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าวิชัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าต่อนคำ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้านางหมื่นนาหลัก |
ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2179 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2469?lang=th |
118 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นตุม |
ธรรมล้านนา |
ตอนต้นระบุถึงวันเวลาและฤกษ์ยามที่สร้างพระพุทธรูปองค์นี้เมื่อจุลศักราช 924 จากนั้นผู้สร้างได้กล่าวถึงการถวายบ้านแด่พระพุทธรูปองค์ดังกล่าว อีกทั้งให้บุคคลนามว่า คำสน และหลานชื่อสุนทร รวมทั้งภรรยาของตนดูแลเรื่องจังหันของพระ โดยกำชับไม่ให้ลูกชายมาอยู่ที่บ้านหลังจากตนเสียชีวิตไปแล้ว หากภรรยาตายให้น้องชื่อว่า กิ และบุคคลอื่นๆ กระทำแทน ตอนท้ายมีคำสาปแช่งให้ฉิบหาย |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหมื่นตุม, ชม. 90, 21 วัดหมื่นตุม, ชม. 90, 21 วัดหมื่นตุม, จุลศักราช 924, พุทธศักราช 2105, จุลศักราช 924, พุทธศักราช 2105, จ.ศ. 924, พ.ศ. 2105, จ.ศ. 924, พ.ศ. 2105, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, ปางอุ้มบาตร, วัดหมื่นตุม, จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, ท้าวเมกุ, แม่กุฏิ, ตองอู, ศาสนพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, สาปแช่ง, คำสน, สุนทร, กิ, พันตวาน, พันทวาร, พันประตู, หมื่นตุมตาม, พันตุมตาม, หมื่นหนังสือ, พวกดาบเรือนขวา, พวกล่าม, พินัยกรรม, จังหัน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2105, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดหมื่นตุม, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
วัดหมื่นตุม ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2105 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1706?lang=th |
119 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางหมอปวง |
ธรรมล้านนา |
ข้อความในจารึกกล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปของบุคคลชื่อ นาคเสน นางแสนโฆสาผู้เป็นภรรยา และนักบุญทั้งหลาย เมื่อ พ.ศ. 2155 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางหมอปวง, พุทธศักราช 2155, พุทธศักราช 2155, พ.ศ. 2155, พ.ศ. 2155, วัดปางหมอปวง ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย, ปลีเต่าไจ้, ปีเต่าไจ้, มหาสามีนาคเสน, นางแสนโฆสา, ฐานพระพุทธรูปสำริด, ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, อัญชลี สินธุสอน, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2155, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระชัยทิพ, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระช้อย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดปางหมอปวง เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-มหาสามีนาคเสนเจ้า, บุคคล-นางแสนโฆสา |
วัดปางหมอปวง ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2155 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19122?lang=th |
120 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปราสาท |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 952 พระยาหลวงเจ้านามว่าแสนคำ สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เจ้าหมื่นทองมีความปรารถนา ให้ตนได้บวชในสำนักพระอริยเมไตรย ขอให้ได้เป็นพระอรหันต์ เหมือนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปราสาท, ชม. 91, 23 วัดปราสาท, ชม. 91, 23 วัดปราสาท, จุลศักราช 952, พุทธศักราช 2133, จุลศักราช 952, พุทธศักราช 2133, จ.ศ. 952, พ.ศ. 2133, จ.ศ. 952, พ.ศ. 2133, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดปราสาท ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, สาวถีนรตรามังซอศรีมังนรธาช่อ, ขุนนางพม่า, อาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระยาหลวงเจ้านามว่าแสคำ, เจ้าหมื่นทอง, โมคคัลลานะ, สารีบุตร, พระศรีอารย์, เมไตรย, อาริยเมตตรัย, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2133, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงใหม่, จารึกวัดปราสาท, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป |
ภายในวิหารวัดปราสาท ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2133 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1584?lang=th |
121 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 3 |
ธรรมล้านนา |
จุลศักราช 953 เจ้าหัวหมื่นหลวงดาบเรือนซ้าย และครอบครัวบ้านหน้าวัดไชยผาเกียน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อให้เป็นที่บูชาแก่คนและเทวดา |
ชม. 92 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 3, ชม. 92 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 3, 24 วัดชัยพระเกียรติ์, 24 วัดชัยพระเกียรติ์, จุลศักราช 953, พุทธศักราช 2134, จุลศักราช 953, พุทธศักราช 2134, จ.ศ. 953, พ.ศ. 2134, จ.ศ. 953, พ.ศ. 2134, ปีรวงเหม้า, ปีเถาะ ตรีศก, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดชัยพระเกียรติ จังหวัดเชียงใหม่, สาวถีนรตรามังชซอศรีมังนรธาช่อ, ขุนนางพม่า, พม่าปกครอง, ตองอู, ล้านนา, พุทธ, เจ้าหัวหมื่นหลวงดาบเรือนซ้ายผัวเมีย, พ่อแม่ลูกบ้านหน้าวัดไชยผาเกียน, วัดไชยผาเกียน, เชียงใหม่, การสร้างพระพุทธรูป, วันกัดไส้, ยามกลองงาย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2134, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกบนฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยุ๋ปัจจุบัน-จารึกวัดชัยพระเกียรติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหัวหมื่นหลวงดาบเรือนซ้าย |
วัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2134 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1617?lang=th |
122 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 1 |
ธรรมล้านนา,พม่า |
กล่าวถึงประวัติการสร้างพระพุทธรูป คือ ในจุลศักราช 927 เจ้าทัพไชยสังรามจ่าบ้าน ร่วมกับเสนาอามาตย์ และราษฎรทั้งหลาย ร่วมกันอัญเชิญพระพุทธรูปต่างๆ ที่ชำรุด มาหล่อรวมกันเป็นพระพุทธรูปองค์เดียว มีพระนามว่า “พระพุทธเมืองรายเจ้า” นอกจากนี้ยังสร้างรั้วลงชาด ปิดทองคำล้อมพระมหาเจดีย์ ตอนท้ายเป็นคำอธิษฐาน ขอให้ตนได้ไปเกิดในสวรรค์ ทันพระศรีอาริยเมไตรย และถึงแก่นิพพาน เป็นต้น |
ชม. 54 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 1, 22 วัดชัยพระเกียรติ์, ชม. 54 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดชัยพระเกียรติ 1, 22 วัดชัยพระเกียรติ์, ชม. 54, ชม. 54, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดชัยพระเกียรติ์ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ล้านนา, พระนางวิสุทธิเทวี, วิสุทธเทวี, ตองอู, พระนางสุทธิเทวี, เจ้าทัพไชยสังรามจ่าบ้านสมเด็จ, พระธัมมิกราชาธิราชเจ้า เจ้าช้างเผือกหอคำ, บุเรงนอง, เจ้าฟ้าบยินยอง, วัดชัยผาเกียร, วัดชัยพระเกียรติ์, พม่า, กรุงอังวะ, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, เอหิภิกขุ, บวช, สัพพัญญู, อริยเมตไตร, เมไตรยะ, พระศรีอารย์, อนาคตพุทธเจ้า, ดาวดึงส์, ตาวติงสา, รั้วลงชาดปิดทองคำ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2108, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระนางวิสุทธเทวี, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดชัยพระเกียรติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระพุทธเมืองรายเจ้า, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอารยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าทัพไชยสังราม |
ภายในวิหารวัดชัยพระเกียรติ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศักราช 2108 |
ไทย,พม่า |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1701?lang=th |
123 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พุดเถ้างาง” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง, พย. 65, พย. 65, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุดเถ้างาง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พุดเถ้างาง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1861?lang=th |
124 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมหล้าสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พันซัมหล้า” พร้อมด้วย “แม่เม” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมมหล้าสร้าง, พย. 82, พย. 82, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พันซัมหล้า, เม, เมีย, พุทธศาสนา, ศอก, พระพุทธสมณะ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พันซัมหล้า, บุคคล-แม่เม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1902?lang=th |
125 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อบุญ” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง, พย. 60, พย. 60, หินทรายสีเทา, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบสถานที่พบ: จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อบุญ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1846?lang=th |
126 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเถรอนงค์ |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พระเถรอนงค์” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเถรอนงค์, พย. 63, พย. 63, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเถรอนงค์, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเถรอนงค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1852?lang=th |
127 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26 |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พระเจ้าเถร” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26, จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ 26, พย. 61, พย. 6, หินทรายสีเทา, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้าเถร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเจ้าเถร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1848?lang=th |
128 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อจน” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน, พย. 62, พย. 62, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อจน, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พ่อจน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1850?lang=th |
129 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อพระพุทธรูป คือ “พระพุทธสรณัง” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “แม่คำเชียง” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง, พย. 77, พย. 77, หินทรายสีแดง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แม่คำเชียง, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่คำเชียง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1892?lang=th |
130 |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร |
ฝักขาม |
ระบุชื่อพระพุทธรูป คือ “พระพุทธตัณหังกร” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “ไสพ่อเ-” |
จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร, พย. 75, พย. 75, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูป, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ไสพ่อ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21 ,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ไสพ่อ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1888?lang=th |
131 |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร |
ธรรมล้านนา |
กล่าวถึงการสร้างพระพุทธรูปโดยเอาตนแลกกับปัจจัยเป็นเงินจำนวนหนึ่งมาสร้าง ในจุลศักราช 951 (พ.ศ. 2132) รวมถึงการสร้างคัมภีร์ และอุโบสถ ตอนท้ายระบุนามผู้อุปฐาก คือ นางคำใส |
จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, นน. 19, นน. 19, จุลศักราช 951, พุทธศักราช 2132, จุลศักราช 951, พุทธศักราช 2132, จ.ศ. 951, พ.ศ. 2132, จ.ศ. 951, พ.ศ. 2132, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, ล้านนา, มังนรธาช่อ, พระยาหน่อคำเสถียรชัยสงคราม, ตองอู, พม่า, นางคำใส, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, การสร้างคัมภีร์, การสร้างอุโบสถ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2132, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกวัดช้างค้ำวรวิหาร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, เจ้าเมืองน่าน, พระยาหน่อคำเสถียรชัยสงคราม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2132, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดช้างค้ำวรวิหาร น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางคำไส |
วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน |
พุทธศักราช 2132 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1788?lang=th |
132 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2781/92) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ อัปรีย์ |
ธ. 2781/92, ธ. 2781/92, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 26, กรุหมายเลข 26, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, อัปรีย์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อัปปรีย์, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2180?lang=th |
133 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2752/92) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุถึงผู้สร้างพระพุทธรูป ว่าเป็น “ลูกทั้ง 5” สร้างเพื่ออุทิศแก่ผู้ตาย |
ธ. 2752/92, ธ. 2752/92, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, พุทธศักราช 2191, พุทธศักราช 2191, พ.ศ. 2191, พ.ศ. 2191, จุลศักราช 1010, จุลศักราช 1010, จ.ศ. 1010, จ.ศ. 1010, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 26, กรุหมายเลข 26, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้าง, ลูกทั้ง 5, ลูกทั้ง 5, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2188?lang=th |
134 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2719/92) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ เจ้าเรือนกลาง สร้างเพื่ออุทิศให้เจ้าองค์พี่ (ผู้ล่วงลับไปแล้ว) |
ธ. 2719/92, ธ. 2719/92, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย} ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 26, กรุหมายเลข 26, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้าเรือนกลาง, เจ้าองค์พี่, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเรือนกลาง, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2186?lang=th |
135 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2506/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ พ่อเจ้าเปาะ |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2506/93), จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2506/93), จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 21, กรุหมายเลข 21, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, พ่อเจ้าเปาะ, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเจ้าเปาะ, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2178?lang=th |
136 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2494/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ ตาเขาวงผัวเมีย ตอนท้ายตั้งความปรารถนาที่จะบรรลุนิพพาน |
ธ. 2494/93, ธ. 2494/93, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 21, กรุหมายเลข 21, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม,ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, ตาเขาวง, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ตาเขาวง, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2184?lang=th |
137 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 1934/95) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ เจ้าเรือนใต้ |
ธ. 1934/95, ธ. 1934/95, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 15, กรุหมายเลข 15, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้าเรือนใ, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเรือนใต้, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2176?lang=th |
138 |
จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 1913/95) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป ได้แก่ แม่บัวแก้ว สามี และบุตร |
ธ. 1913/95, ธ. 1913/95, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 14, กรุหมายเลข 14, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, แม่บัวแก้ว, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แม่บัวแก้ว, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2248 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2174?lang=th |
139 |
จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง |
ฝักขาม |
ปรากฏชื่อพระพุทธรูป คือ “ทีปังกร” และบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “พ่อหลอม” |
จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง, พย. 66, พย. 66, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหลอม, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, บุคคล-พ่อหลอม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1863?lang=th |
140 |
จารึกฐานพระพุทธรูปทองคำ ฐานบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2443/93) |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป คือ เจ้าสุด ตามด้วยรายชื่อข้าโอกาสที่ถวายแด่พระพุทธรูป |
ธ. 2443/93, ธ. 2443/93, จารึกฐานพระพุทธรูปทองคำ ฐานบุเงิน ปางมารวิชัย, จารึกฐานพระพุทธรูปบุทองคำ ฐานบุเงิน ปางมารวิชัย, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 20, กรุหมายเลข 20, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร , อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้าสุด, บักขุย, อีชู, แม่คำ, เขาชุม, ข้อย, ข้าทาส, ข้าโอกาส, ทาสโอกาส, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, ถวายทาส, ถวายข้าทาส, พระเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสาน, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2191, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าสุด, ไม่มีรูป |
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2191-2244 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2182?lang=th |
141 |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกกล่าวว่า ซาวหมุกเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง, พย. 41 จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 41 จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พุทธศตวรรษที่ 21-22, สำริดสีดำ, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาวหมุก, พุทธศาสนาพิธี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ไม่มีรูป |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1748?lang=th |
142 |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “ซาวจัน” |
จารึกฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง, พย. 80, พย. 80 หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาวจัน, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ซาวจัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1898?lang=th |
143 |
จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง |
ฝักขาม |
ระบุชื่อบุคคลผู้สร้างพระพุทธรูป คือ “คำต่อน” และ “นางสิ” |
จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง, พย. 81, พย. 81, หินทรายสีน้ำตาล, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ขัดสมาธิราบ, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, คำต่อน, นางสิ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-คำต่อน, บุคคล-นางสิ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1900?lang=th |
144 |
จารึกญอดเถรเจ้า |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกชำรุด จับความไม่ได้ |
จารึกญอดเถรเจ้า, พย. 87, พย. 87, หิน, เศษจารึกชำรุด, วัดลี, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1910?lang=th |
145 |
จารึกชื่อคัมภีร์ |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ศิลาจารึกชำรุดมาก เข้าใจว่าข้อความจารึกมีว่า มีการถวายคัมภีร์พระธรรม รวมทั้งอรรถกถา และฎีกาแด่วัดแห่งหนึ่ง มีรายชื่อหนังสือดังกล่าวจารึกไว้ แต่ชื่อหนังสือเหล่านั้นไม่สมบูรณ์แล้ว |
ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 22-23, ชร. 37, ชร. 37, 165/30, 165/30, จารึกเวียงชัย, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, Wiang Chai A.D. 1598-1617, Wiang Chai A.D. 1598-1617, หิน, ตำบลเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายคัมภีร์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1416?lang=th |
146 |
จารึกชิ้นส่วนแผ่นอิฐวัดลี |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกระบุวันและเดือน |
จารึกชิ้นส่วนแผ่นอิฐวัดลี, พย. 85, พย. 85, ดินเผา, เศษจารึกชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, วันเปิกสี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนเศษจารึก, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1906?lang=th |
147 |
จารึกชิ้นส่วนหินทรายสันกู่ห้อ |
ฝักขาม |
ชำรุด จับใจความไม่ได้ |
จารึกชิ้นส่วนหินทรายสันกู่ห้อ, พย. 71, พย. 71, หินทรายสีแดง, ชิ้นส่วน, วัดห้วย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21,อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่น, ลักษณะ-จารึกชำรุด, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1878?lang=th |
148 |
จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 2 |
ฝักขาม |
ชำรุด จับใจความไม่ได้ |
จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 2, พย. 70, พย. 70, หินทรายสีแดง, ชิ้นส่วน, วัดห้วย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนเศษชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1875?lang=th |
149 |
จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 1 |
ฝักขาม |
ชำรุด จับใจความไม่ได้ |
จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ 1, พย. 69, พย. 69, หินทราย, ชิ้นส่วน, วัดห้วย, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกเศษชิ้นส่วน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเศษชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1871?lang=th |
150 |
จารึกคำสาปแช่ง |
ฝักขาม |
จารึกชำรุด ข้อความที่เหลือกล่าวสาปแช่งบุคคลผู้กระทำความผิด ให้ตกนรกอวจี อย่าได้ผุดได้เกิด |
จารึกคำสาปแช่ง, พย. 19, พย. 19, หินทรายขัดสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ขุนชื่อ, เมิงคน, เมืองคน, เมืองมนุษย์, หม้ออเพจี, หม้อเพจี, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, บ้าน, พุทธศาสนา, เม็ง, ออก, พระพุทธรูป, เนียนพาน, เนียรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1657?lang=th |
151 |
จารึกคามวาสีอรัญวาสี |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการอุปถัมภ์ค้ำจุนพุทธศาสนา ทั้งฝ่ายคามวาสีและอรัญวาสี |
จารึกคามวาสีอรัญวาสี, พย. 56, พย. 56, จารึกวัดครามวาสี อรัญวาสี, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, ชำรุด, วัดร้าง, กว๊านพะเยา, โรงสีแสงพะเยา, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, อำเภอเชียงคำ, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าภิกษุ, พุทธศาสนา, คามวาสี, อรัญวาสี, พระไตรปิฎก, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1802?lang=th |
152 |
จารึกคอระฆังเจดีย์หินทรายวัดลี |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีน้อยคำ กล่าวถึงศิลาหลักหนึ่ง และชาวบ้านเริง |
จารึกคอระฆังเจดีย์หินทรายวัดลี, พย. 30, หินทรายสีแดง, ชิ้นส่วนคอระฆังเจดีย์, วัดลี, ตำบลเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวบ้านเริง, หิน, ศิลา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนระฆังเจดีย์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1729?lang=th |
153 |
จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ |
ไทยสุโขทัย |
ข้อความจารึกเป็นคำอธิษฐานของผู้สร้าง ขอให้ได้เกิดในยุคของพระศรีอาริย์ ด้วยอานิสงส์จากการสร้างพระพุทธรูป 1,000 องค์ นั้น |
1.4.1.1 กู่บ้านค่ายเจริญ, 1.4.1.1 กู่บ้านค่ายเจริญ, ชร. 35, ชร. 35, จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ พุทธศตวรรษที่ 21–23, จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ พุทธศตวรรษที่ 21–23, หินสีเทา, แผ่นรูปใบเสมา, พระมหาจักรพรรดิ, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระอริยเมตไตรย, พญาจักรพรรดิ, พุทธศาสนา, พระบรรณศาลา, สร้างศาสน, เดินเจ็ด, วันพุธ, พระเจ้าพันตน, ปีดับใส้, ปีดับไส้, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมิ่งเมือง เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดมิ่งเมือง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3933?lang=th |