ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก

ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 9 พ.ค. 2565 16:19:21 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 09:55:35 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกแสดงผลกรรมนำสู่นิพพาน

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึก เนื่องจากกลางส่วนของศิลาจารึกชำรุดหักหายไป ข้อความไม่ต่อเนื่องกันเท่าที่เหลือพอสรุปได้ คือ การบำเพ็ญธรรมเพื่อทำใจให้ตั้งอยู่ในทางที่ชอบที่ดี จนได้เห็นกระแสแห่งธรรม คือ “นิพพาน”

จารึกแสดงผลกรรมนำสู่นิพพาน, พร. 2, พร. 2, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดแพร่, ไทย, สุโขทัย, ครูบาอาจารย์, พุทธศาสนา, ธรรม, เนียรพาน, นิพพาน, บุญ, ผลกรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึก พ.ศ. 1914-1940, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1914-1940

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/136?lang=th

2

จารึกเมืองเสมา

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระอุมา และพระสรัสวดี จากนั้นได้กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 หรือพระบาทบรมวีรโลกว่าทรงเป็นโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมัน และทรงสืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์ (โสมานฺวย) กล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ว่าได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจไว้อย่างไรบ้าง สุดท้ายก็ได้กล่าวถึงข้าราชการผู้ใหญ่ที่ได้สร้างเทวรูปและพระพุทธรูปไว้หลายองค์ พร้อมทั้งถวายทาสและสิ่งของต่างๆ แด่ศาสนสถานไว้อีกด้วย

จารึกเมืองเสมา, นม. 25, นม. 15, Stele de Sema (Korat) (K. 1141), พ.ศ. 1514, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, มหาศักราช 893, ศิลา, หินทรายสีขาว, หลักสี่เหลี่ยม, เมืองเสมา, ตำบลเสมา, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอุมา, พระรุทระ, พระวิษณุ, พระพรหม, เคารี, สรัสวตี, สรัสวดี, กามเทพ, ศิวลิงค์, ลิงค์, พระมเหศวร, ศิวลึงค์, ยัชญวราหะ, ศิขรสวามี, พระเทวี, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญภควดี, พระประติมากรรม, พระพุทธรูป, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, จันทรวงศ์, ศรีโรทรวรมัน, ศรีทฤฒภักดีสิงหวรมัน, ตระลาว, ตระลาวศรีโรทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญผู้ราชา, โฆ, ไต, พราหมณ์, พระสหาย, คนอนาถา, คนมีทุกข์, คนยากจน, บัณฑิต, คนยากไร้, คนตาบอด, คนป่วยไข้, คนแก่เฒ่า, คนชรา, มนตรี, ทาส, กำเพรา, ตฤป, จน, กำประวาด, ถะเอียก, กำวิด, กำพิด, กำปราก, กัญชน, อุย, นาราย, ประวาด, โขลญวิษัย, เสตงอัญพระครู, กำเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, สัตว์เดรัจฉาน, ช้างป่า, ไทยทาน, จัญจูล, อาสนะบัว, ทอง, ธนู, ประทีป, น้ำ, ดอกบัว, อาภรณ์โภคะ, ขันเงิน, ภาชนะ, ข้าวสาร, อากร, ทุรคาอิศวรบุรี, ทัมรง, สวรรค์, ปราสาท, สวน, พราหมณ์, ฮินดู, พระเวท, พระมนูศาสตร์, ไศวะนิกาย, บุณย์, บุญ, สมาธิ, คัมภีร์พระเวท, พระมนูศาสตร์, คุณธรรม, นิกายไศวะ, ทาน, พระธรรม, วรรณาศรม, อาศรม, พลีกรรม, การอภิเษก, การกัลปนา, พลีกรรม, การถวายทาส, พิธีเบิกพระเนตร, สาปแช่ง, การเฉลิมฉลอง, กลียุค, ฝนแก้วมุกดา, ไตรโลก, ไตรเพท, สรรพวิทยา, มนตร์, พระจันทร์, องค์สี่, จักรวาล, คำกลอน, ละคร, วิทยาการ, ราชสมบัติ, วันคราส, ทุ่งนา, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1514, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี , ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ,เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระสรัสวดี, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1514

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/353?lang=th

3

จารึกเมืองศรีเทพ

ปัลลวะ

เนื้อความไม่สมบูรณ์แต่พอจับใจความได้ว่า เป็นจารึกที่กล่าวสรรเสริญบุคคล ซึ่งอาจเป็นพระราชา หรือ เชื้อพระวงศ์ที่ปกครองเมืองศรีเทพในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 12

จารึกเมืองศรีเทพ, ศิลาจารึกศรีเทพ, พช. 1, พช. 1, Si Tep, Si Thep, K. 499, พช./1, พช./1, ศิลา, หินทรายสีเทา, เมืองโบราณศรีเทพ, อำเภอศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, เจนละ, ปาลวะ, พุทธศาสนา, บุญ, ธรรม, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, เรื่องเที่ยวที่ต่างๆ ภาค 3 เล่าเรื่องเที่ยวมณฑลเพชรบูรณ์, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกที่เมืองศรีเทพ, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสากลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก, มีภาพจำลองอักษร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/527?lang=th

4

จารึกเมืองลอง

ไทยสุโขทัย

เนื้อหาจารึกนี้กล่าวถึงมารดาผู้ทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ขุนนางผู้หนึ่งซึ่งเป็นบุตรและได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว มารดานั้นได้อธิษฐานให้ตนได้ไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิตและขอให้ได้พบกับบุตรตนอีกครั้ง หากแม้นสิ้นชาติที่จะเป็นมารดาและบุตรกันแล้ว ในชาติภพหน้านางขอเกิดใหม่เป็นผู้ชายที่มีบุญหนักศักดิ์ใหญ่ ไม่มีความเป็นหญิงอีกต่อไป

ลป. 14 จารึกเมืองลอง, ลป. 14 จารึกเมืองลอง, อำเภอลอง จังหวัดแพร่, เมืองลอง จังหวัดลำปาง), วันอังคาร, วันดับเม็ด, ปีกาเปล้า, ไทยดับเหม้า, อนาคตวรพุทธศาสนา, พระครูธรรมจินดามุนี, เมืองนครลัมพาง, เจ้าอารามวัดสวนดอกบุปปาวราราม, พระองค์พ่อเจ้าบุญวาทวงษามานิต, เจ้าพระยาสุวันทราช, เสนาหลวง, เจ้าสวาริด, เจ้าบุรี, เจ้าราชบุตร, เจ้าราชปกิตตวงษา, ปฏิสังขรณ์ศาลา, ระเบียง, พระมหาชินธาตุเจ้า, พระองค์มหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระครูธรรมจินดามุนี, พระครูลักขิตตคุณ, พระธรรมเสนาวัดคลีชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2456, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในคลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18136?lang=th

5

จารึกเพนียด 1

ขอมโบราณ,นาครี

เป็นพระราชโองการว่าด้วยธรรมเนียมปฏิบัติของบรรดาบุคคล ผู้เฝ้าแหนติดตามพระมหากษัตริย์ ที่จะเสด็จไปประกอบพระราชพิธีทางศาสนาในอาศรม ว่าบุคคลแต่ละตำแหน่ง แต่ละชนชั้นควรประพฤติปฏิบัติตนอย่างไร เช่น ถ้าเป็นสามัญชนก็ห้ามสวมเครื่องประดับ และห้ามเข้าไปในอาศรม ส่วนนักบวช ให้เข้าพักในอาศรมได้ แต่ถ้าเป็นนักบวชที่มีความประพฤติไม่ดี ก็ห้ามเข้าพักในอาศรม เป็นต้น

จารึกเพนียด 1, จารึกเพนียด 1, จบ. 2, จบ. 2, Phniat, K. 479, ศิลา, หินทราย, เมืองเพนียด, ตำบลคลองนารายณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดจันทบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระวิษณุ, พระศิวะ, พราหมณ์, เชื้อพระวงศ์, มนตรี, สามัญชน, พระเจ้ายโศวรมัน, พระเจ้ายโสวรมัน, โภชนาหาร, ฉัตร, กลด, เครื่องบูชา, นรก, กัมพุช, พระอาศรม, พราหมณ์, ฮินดู, บุญ, กุศล, ดวงอาทิตย์, ดวงจันทร์, โองการ, พระโศลก, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, นิยะดา ทาสุคนธ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/345?lang=th

6

จารึกเจดีย์น้อย

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ถวายคำสัตย์ต่อสมเด็จเจ้าพระยา

จารึกเจดีย์น้อย, สท. 14, สท.14, หลักที่ 40, หลักที่ 40 พิเศษ, ศิลาจารึกเจดีย์น้อย พุทธศตวรรษที่ 20-21, หลักที่ 40 ศิลาจารึกเจดีย์น้อยวัดพระมหาธาตุ, หลักที่ 40, หลักที่ 41 พิเศษ, ศิลาจารึกเจดีย์น้อย พุทธศตวรรษที่ 20-21, หลักที่ 40 ศิลาจารึกเจดีย์น้อยวัดพระมหาธาตุ, หินแปร, แผ่นสี่เหลี่ยม, เจดีย์น้อย, เจดีย์ 5 ยอด, เจดีย์ 5 ยอด, วัดพระมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระยา, สมเด็จเจ้าพระยา, มนตรีกวีราช, พระยาบรเทศ, ปู่พระยา, น้าพระยาพระมหาสวามีศรีสังฆราช, พระมหาเถรธรรมทัสสี, มนตรี, กวีราช, บริพาร, หรรษาธิบดี, สมเด็จพระมหาธาตุ, มหาธรรมราชาธิราชบพิตร, สงฆ์, เจ้าไทย, สาธุสัตบุรุษ, น้าพระยา, พระศรีรัตนตรัยบพิตรเป็นเจ้า, ท้าว, ปู่พระยา, ราชา, หม้อน้ำ, สำนัก, ประเทศเจ้าพระยา, ขุนเขาเมรุ, ยโสธร, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, พระศรีรัตนมหาธาตุเจ้า, อเวจี, สงคราม, สรรพโทษา, พระสัตย์ประฎิชญา, คามวาสี, อรัญวาสี, พระมหาสุพรรณบัฏ, ปรโลก, หนทางทุรคติ, บาป, บุญ, ศีล, บิณฑิบาต, กุศล, ปทโมกษ์, อพิจี, นรก, ไพศาขบูรมีศรีศุภฤกษ์วิศาข, พระจันทร์, ภพ, ดวงดาว, อนันตริยกรรมห้า, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศตวรรษ 20-21

สันสกฤต,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/180?lang=th

7

จารึกอุบมุง

ขอมโบราณ

จารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม และพระอุมา จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชดำรัสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (มหาศักราช 968-1001) ให้ถวายอาศรมและที่ดินแก่พระผู้เป็นเจ้า และให้ร่วมกันปฏิบัติดูแลพระผู้เป็นเจ้า (เทวรูป) และหากผู้ใดไม่ทำตามก็แช่งให้ตกนรก จากนั้นก็เป็นรายนามทาส และจำนวนสิ่งของที่ถวาย

จารึกอุบมุง, อบ. 10, ฐ.จ. 18, อบ. 10, ฐ.จ. 18, Inscription de Vat Pa Saen (Ubon), K. 1085, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านอุบมุง, อำเภอวารินชำราบ, จังหวัดอุบลราชธานี, ตำบลโคกสว่าง, อำเภอสำโรง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, พระพรหม, พระมเหศวร, พระอุมา, พระรุทระ, ศักติ, พระพิฆเนศ, พระเทวี, พระคงคา, พระอาทิตย์, พระกัมรเตงชคต, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วาบ, ไต, สิ, โลญ, ศักดิ์พยาปิ, เสตงอัญอาจารย์ภควัน, เสตงอัญกษิการ, เสตงอัญพระลำพาง, มรตาญขโลญศรีนฤเปนทรริมถะ, อาจารย์ภควันประสาน, พระกัมรเตงอัญประสาน, สัตยานตราจารย์, บพิตร, ปวิตร, พระเจ้าแผ่นดิน, ประธาน, พระผู้เป็นเจ้า, หร, อาศรม, ถะเง, ปโรง, พรุณ, กันเดง, ขชะ, เขมา, กำประหวาด, ดันเทบ, อาย, กำพระ, ปราณ, ตันเชส, จำเลา, ตีรถะ, กำบิด, ปันทน, ปันทัน, ดันทวาจ, กันตฤป, กำเพรา, กันธะ, ขะทะวาด, กำพระ, กำบร, ขะนล, กำ ไพ, ไว, ภัทระ, สำอบ, สนุม, กำไว, ปันลส, ปันลัส, กันโส, อคด, อคัด, กำพิ, กำวิ, ถะเอียก, กำดอ, กันอส, กันอัส, กำบญ, กำบัญ, กันธีบ, กันเชส, บิณฑะ, ถะเง, กำบู, สวัสดี, ถะลก, ปันสม, ปันเตม, บำนบ, บันนับ, บันทน, บันทัน, กำนจ, กำนัจ, ปะนวส, คันธะ, กันรวน, กันสอ, เถลิม, กันสรัจ, ธรรม, กันเทส, สุริยะ, กันเหียง, อัจยุต, ผะเอม, ปันโส, ปิ่น, ดอกบัว, สังข์, ดอกไม้, ถั่วจตุรมาส, ถั่วเดือนสี่, ถาด, ขันทองแดง, เครื่องกระยา, น้ำสรง, มะพร้าว, จรุ, สะเอกระ, ทรัพย์, พลเพียลเชิงพลุก, ถาดมีขา, เชิงตริบาท, น้ำมัน, ธูป, เทียน, กระทะ, ขันทองแดง, จาปะทองแดง, ขันเงิน, แหวนประดับพลอยสีขาบ, ถ้วย, หม้อทองแดง, เสลี่ยง, ดอกบัว, สังข์, ผลไม้, ต้นขวัส, ต้นขวส, ต้นตะกุ, ต้นตะกู, หญ้า, ทีปธารณ์, ถบลรญโคศาลมวาย, รัญโคศาลมวาย, ตรางทวาร, เชงพระยัชญะ, สันธานิบุรี, สดุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทาร, โชร, หินขยวาย, ทำนบ, พะนวน, สันธานิบุรี, สตุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทร, เชิงกรานทองแดง, ข้าวสุก, ทำนบหิน, หนองกก, ประเทศ, สวรรค์, พราหมณ์, ฮินดู, กุติสรวจ, กุติสรวาจ, ลิงคปุระ, กันโลง, กุติสระวาจ, อาศรม, กัลปนา, ทักษิณาทาน, การบูชาพระเพลิง, การถวายข้าทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, สังสารวัฏ, สงกรานต์, พระเพลิง, ทะนาน, ถะโงย, จำโบง, ปรัสถะ, งานมหรสพ, พระบรมราชโองการ, พระเนตร, จอมอสูร, โลก, สะดือบัว, สรีระ, เทวดา, มณเฑียร, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, คำสาปแช่ง, ตกนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1536, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายอาศรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1536

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/388?lang=th

8

จารึกอุทิศสิ่งของ

ไทยสุโขทัย

ข้อความจารึกไม่ชัดเจน เนื่องจากศิลาจารึกหลักนี้ เป็นชิ้นส่วนของแผ่นจารึกที่แตกชำรุด แต่ข้อความที่ยังคงเหลืออยู่น่าจะเป็นเรื่องการอุทิศสิ่งของ

หลักที่ 295 จารึกอุทิศสิ่งของ, หลักที่ 295 จารึกอุทิศสิ่งของ, พร. 3, พร. 3, หินชนวนสีเทา, จังหวัดแพร่, ไทย, สุโขทัย, หม้อข้าวหม้อแกง, หมอน, ฟูก, บุง, เกือก, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานีร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 19 (ตอนปลาย)

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/275?lang=th

9

จารึกอัญชัยวรมัน

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ และกล่าวถึงพิภพพระยานาคในโลกบาดาล จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชโองการของพระเจ้าชัยวรมันที่ 4 หรือพระบาทบรมศิวบท ว่าด้วยเรื่องการถวายสิ่งของและทาสชายหญิงเป็นจำนวนมาก

จารึกอัญชัยวรมัน, ลบ. 24, ลบ. 24, ศิลา, หินทรายแป้ง, หลักสี่เหลี่ยม, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระนารายณ์, พระอาชญาธุลีพระบาทพระกัมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, กัมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, พระกมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, กมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, อัมระกันสูน, โฆ, ไต, สิ, เปา, ควาล, มหูน, ตันอส, กำบิด, ตมาส, เทวรูจี, ปวเยง, อีศวร, รด, วาบ, รันธติ, สังสาร, กันเทน, กันติ, จวยด, เจวียด, สำอบ, สังวร, ทยาน, เทียน, ตันตุร, กันเดง, กันเตง, กำปาร, กำเส, ปนำ, สนา, สำอบ, ลวน, กันสวน, กันส, กันสอ, องโอง, กำไว, กำไพ, เถา, กำพิส, สำอบ, ปันทน, กำเพรา, กันทริ, สารท, กำบิด, กันโส, วา, โปสบ, กันทรม, ชำอร, อัคร, กลิ, ลบ, บุณย์, กำผาจ, เพรา, ปราน, กญุมกำพระ, กันทะ, ลบธรรม, ศจี, พระศรีย์, อนันต์, ตกุน, อโสรก, บันดล, ปที, ลบเกา, กันทุ, ตังเกร, เกรา, กันติ, กำโปรก, ไชศรีย์, โรย, ยุวดี, ลำวี, มาล, ปริยงคศรี, กันสวม, อมร, ปังหาง, กำบิด, กันไท, ปันลบ, อนงค์, พระศุจยน, สังสารวัฏ, โลง, องครักษ์, ทยจ, เทียจ, กันตรี, รานี, โปนล, สังการ, กัญชาน, ปราปต์, ตมยง, ตะเมียง, มันทะ, จากตยก, จากะเตียก, วชิระ, พระยานาค, ข้าวสาร, พระเพลิง, ข้าวสาลี, เปรียง, น้ำมัน, พราหมณ์, ฮินดู, ไวษณพนิกาย, บาดาล, รลลบ, เทวริบุรี, เมืองโลง, กัลปนา, ธุลีพระบาท, พิภพ, สังสารวัฏ, กรรม,นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บุคคล-พระบาทบรมศิวบท, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/319?lang=th

10

จารึกสองแคว

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ศิลาจารึกหลักนี้ชำรุดมาก อ่านได้น้อยคำ ในตอนต้นมี จ.ศ. 766 ปีวอก ตอนปลายมีชื่อพระธรรมราชา เห็นจะเป็นพระธรรมราชาที่ 3 มูลเหตุที่ได้จารึกก็ไม่ปรากฏ หรือจะปรากฏก็อ่านไม่ได้ คำจารึกที่เหลืออยู่บ้างเล็กน้อยอ่านพอได้ใจความว่า เป็นเรื่องท่านเจ้าพันสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ในเมืองเชลียง เมืองสองแคว เมืองเชียงใหม่ และเมืองสุโขทัย

ศิลาจารึกสองแคว พุทธศักราช 1947, ศิลาจารึกสองแคว พุทธศักราช 1947, สท. 10, สท. 10, หลักที่ 10 ศิลาจารึก จ.ศ. 766 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 10 ศิลาจารึก จ.ศ. 766 จังหวัดสุโขทัย, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถ, วัดบวรนิเวศวิหาร, กรุงเทพฯ, ไทย, สุโขทัย, ท่านเจ้าพัน, มหาเถร, ภิกษุ, เจ้าธรรมราช, พระโพธิสัตว์, สาธุชน, ผ้าเช็ดหน้า, เงิน, ผ้าขาวแก้ว, เมืองเชลียง, สองแคว, เมืองเชียงใหม่, พุทธศาสนา, ตำหนัก, พิหาร, วิหาร, ศาลา, กระลาอุโบสถ, พระเจดีย์, พระมหาธาตุ, การบูชา, บวช, ปีวอก, วันศุกร์, วันกาบสัน, อาทิตย์, เพ็ญ, อรัญวาสี, จังหัน, พระธาตุ, พระพุทธรูป, บุญ, อนุโมทนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1947, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-ท่านเจ้าพัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1947

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/212?lang=th

11

จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี

ขอมโบราณ

คำจารึกนี้เป็นเรื่องกัลปนาที่ดินกับคนใช้และสิ่งของต่างๆ ถวาย “พระบรมวาสุเทพ” คือ พระนารายณ์

จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี, ลบ. 3, ลบ. 3, Lopburi (San Cau) K. 412, หลักที่ 21 ศิลาจารึกศาลเจ้า เมืองลพบุรี, จารึกที่ 21 ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า เมืองลพบุรี, หลักที่ 21 ศิลาจารึกศาลเจ้า เมืองลพบุรี, จารึกที่ 21 ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า เมืองลพบุรี, ศิลา, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ศาลเจ้าในเขตอำเภอเมือง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระนารายณ์, พระกัมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกัมรเดงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกมรเดงอัญศรีบรมวาสุเทพ, วาบ, โฆ, โขลญพล, โขลญ, โฉลญ, พระกัมรเตงอัญ, พระกัมรเดงอัญ, โขลญวิษัย, ตำรวจวิษัย, อบ, ดังเกร, ตังเกร, ดงเกร, จระทิด, จรทิด, ขทด, ชทัด, มหา, กัญไช, สํอบ, กำบิด, สางคะ, ควาล, ราชศรีย์, อนงค์, สุนธรี, ข้าวสาร, พืชผล, หญ้า, ข้าวเปลือก, ร่ม, อ่างเงิน, เครื่องบริวารเงิน, ละโวก, ถาด, โวทิ, จนหวาย, จันหวาย, ตลับเงิน, ละโว้, ทวารชลวิมาน, อดเสนห์, เมืองพทาง, พราหมณ์, ฮินดู, ไวษณพนิกาย, กัลปนา, การถวายสิ่งของ, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, หลังคา, เรือกสวน, มรดก, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15-16

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/339?lang=th

12

จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1)

ขอมโบราณ

มีใจความว่า ครั้งแผ่นดินพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 เมื่อมหาศักราช 944 และ 947 (พ.ศ. 1565 และ 1568) มี “พระนิยม” ตรัสให้บรรดาชีสงฆ์ ซึ่งอาศัยอยู่ในอาวาสต่างๆ ทั้งดาบส (คือพวกพราหมณ์) ทั้งพระภิกษุ ถือลัทธิมหายานก็ดี ถือสาวกยานก็ดี ให้ท่านทั้งหลายเอา “ตบะ” ของตน คือเดชะบุญกุศลที่สร้างเมื่อถือศีลสวดมนต์ภาวนา ไปถวายพระเจ้าแผ่นดินให้ทรงพระเจริญแลห้ามอย่าให้มีคนหรือสัตว์ใดๆ มารบกวนบรรดาชีสงฆ์ ในอาวาสที่เขาอยู่

จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1), ลบ. 2, ลบ. 2, Lopburi (San Sung), K. 410, หลักที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), หลักที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), พ.ศ. 1568, ม.ศ. 947, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พ.ศ. 1568, ม.ศ. 947, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พุทธศักราช 1568, มหาศักราช 947, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, พุทธศักราช 1568, มหาศักราช 947, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, ศิลา, หลักสี่เหลี่ยม, โบราณสถานศาลสูง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรรมเทวะ, พระบาทกัมรเดงกำตวนอัญศรีสุริยวรรมเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรมันเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรมเทวะ, ดาบส, ภิกษุ, สถวิระ, พระภิกษุมหายาน, บัณฑิตยศตำแหน่ง: สมาจาร, ทุราจารสัตว์: ควาย, กระบือ, สุกร, หมู, แพะ, ไก่, เป็ด, ลิง, ตโบวนาวาส, ตโปวนาวาส, ดโบวนาวาส, ตโปวนาวาส, พุทธศาสนา, มหายาน, สาวกยาน, พระนิยม, โยคธรรม, ศาลสภา, วันอาทิตย์, พระบัณฑูร, กฎ, บวช, โยคธรรม, ตบะ, ตปะ, ดบะ, ดปะ, สวดมนต์, วันพฤหัสบดี, ร่องน้ำ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1565, อายุ-จารึก พ.ศ. 1568, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1568

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/381?lang=th

13

จารึกศรีจานาศะ

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการสรรเสริญพระศิวะ จากนั้นสรรเสริญนางปารวตี ต่อจากนั้นจึงกล่าวถึงรายพระนามพระราชาแห่งอาณาจักรจานาศปุระ คือ พระราชาองค์แรกทรงพระนามว่าภคทัตต์ ผู้ที่สืบต่อลงมาจากพระเจ้าภคทัตต์องค์หนึ่งทรงพระนามว่า สุนทรปรากรม พระเจ้าสุนทรปรากรมทรงมีโอรสทรงพระนามว่า สุนทรวรมัน พระเจ้าสุนทรวรมันทรงมีโอรส 2 องค์องค์พี่ทรงนามว่านรปติสิงหวรมัน ได้เสด็จขึ้นครองราชย์แห่งอาณาจักรศรีจานาศะ องค์น้องทรงนามว่า มงคลวรมัน ได้โปรดให้สร้างจารึกหลักนี้เพื่อฉลองการสร้างพระรูปพระชนนีเป็นพระราชเทวี คือ ชายาของพระศิวะ เมื่อศักราช 859 (พ.ศ. 1480) ส่วนจารึกด้านที่ 2 นั้น เป็นรายชื่อของทาส

จารึกศรีจานาศะ, อย. 12, อย. 12, หลัก 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา, หลัก 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา, พ.ศ. 1480, ม.ศ. 859, พ.ศ. 1480, ม.ศ. 859, พุทธศักราช 1480, มหาศักราช 859, พุทธศักราช 1480, มหาศักราช 859, ศิลา, รูปใบเสมา, เทวสถาน, สะพานชีกุน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ขอมสมัยพระนคร, พระศังกร, พระศิวะ, พระหิมวัต, พระหระ, พระคุหะ, พระสกันทกุมาร, พระขันทกุมาร, พระกาม, กามเทพ, พระศรี, พระเทวี, ประติมากรรมพระมารดา,ธิดา, ภคทัตต์, ศรีสุนทรปรากรม, ศรีสุนทรวรมัน, มงคลวรมัน, ศรีนรปติสิงหวรมัน, พระมารดา, โอรส, โฆ, ควาล, ไตยศ, พระราชาราย, บูรพะ, จัก, สำอุย, ควาล, ขสาย, กำบิด, กันอิน, กันสุน, กำพี, กำวี, กันยาล, กันเลส, กำไพ, กำไว, เถลิม, กันเรา, ปันสวำ, พรรัด, วรรัด, พรรัต, วรรัต, กันลาง, กันเทง, ธรรม รันโนจ, กำพิด, ปันทัน, พระหิ, ทังหวน, กับเกบ, ขนัน, ขญุ ํ, พระ, ข้าพระ, ชวิก, กันธิ, กันอัส, ทรัพย์สมบัติ, จานาศปุระ, ศรีจานาศะ, ศรีจนาศะ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, กัลปนา, การถวายข้าทาส, พระเนตร, มวยพระเกศา, มวยผม, กลีบดอกไม้สวรรค์, ดวงจันทร์, รัศมี, ศิลป, กลา, กะลา, ราชวงศ์, ฟ้า, อวัยวะ, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, The Journal of the Siam Society XXXV, ยอร์ช เซเดส์, “หลักที่ 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา,” แปลโดย ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1480, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-นางปารวตี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีจานาศะ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าภคทัตต์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าสุนทรปรากรม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าสุนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้านรปติสิงหวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้ามงคลวรมัน, บุคคล-พระเจ้าภคทัตต์, บุคคล-พระเจ้าสุนทรปรากรม, บุคคล-พระเจ้าสุนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้านรปติสิงหวรมัน, บุคคล-พระเจ้ามงคลวรมัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1480

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/313?lang=th

14

จารึกวิหารหลวงวัดมหาธาตุ

ขอมสุโขทัย

เป็นคำกล่าวนมัสการพระรัตนตรัย

จารึกวิหารหลวงวัดมหาธาตุ, สท. 20, สท. 20, ศิลา, ใบเสมา, วิหารหลวงวัดมหาธาตุ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, พระอรหันต์, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, สาวก, ภิกษุ, พระตถาคตเจ้า, เทวดา, พุทธศาสนา, พระธรรม, ปัญญา, กุศล, คุณ, เทยยะ, พระธรรมขันธ์, ธาตุ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/175?lang=th

15

จารึกวิภูติ

ขอมโบราณ

เนื้อหาในจารึกไม่ประติดประต่อกัน จากเนื้อความเท่าที่พบคาดว่าเนื้อหาตอนต้นๆ ของด้านที่ 1 น่าจะเป็นการกล่าวสรรเสริญบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ได้บำเพ็ญบุญด้วยการบริจาคทาน ส่วนในจารึกด้านที่สอง ระบุชื่อทาสที่บริจาคคือ ไตเกส และของที่บริจาคคือ กระบือ

จารึกวิภูติ, สท. 38, สท. 38, ศิลา, หินดินดาน, วัดตะพานหิน, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ขอมสมัยพระนคร, ไต, สาธุชน, พระเทวี, เกส, กระบือ, ควาย, บุญ, พระนคร, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายกระบือ, บุคคล-ไตเกส, ไม่มีรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/350?lang=th

16

จารึกวัดใต้เทิง 2

ธรรมอีสาน

มหาราชครูปุสสีตธรรมวงศา มีศรัทธาสร้างตู้พระไตรปิฎกและเจดีย์ธาตุขึ้นไว้กับศาสนา

ศิลาจารึกอักษรไทยเหนือ และภาษาไทย, จารึกวัดใต้เทิง 2, จารึกวัดใต้เทิง 2, พ.ศ. 2377, พุทธศักราช 2377, พ.ศ. 2377, พุทธศักราช 2377, จ.ศ. 1196, จุลศักราช 1196, จ.ศ. 1196, จุลศักราช 1196, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดใต้เทิง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, มีมหาราชครูปุสสีตธรรมวงศา, สมเด็จอรรควรราชครูเจ้า, เป็นเค้า, ช่าง, มหาอรรควรราชครูเจ้า, อันเตวาสิก, นางธรณี, พระแก่นไท, เจ้าสิทธารถราชกุมาร, ท่านหัวเจ้าครูแก้ว, เณรพุทธา, พระสิทธัตถะ, วัตถุทาน, แท่นแก้ว, น้ำทักขิณโนเลศชื่อ, ชั้นฟ้าปรนิมมิตตวัสสวตี, พุทธศาสนา, สำนักพระอริยเมตไตรยเจ้าโพธิสัตว์, พุสสอรอาราม, สร้างตู้ลายรดน้ำ, สร้างพระธาตุเจดีย์, ปีกาบสง้า, มื้อระวายไจ้, มื้อรวายไจ้, นักขัตตฤกษ์, อเสล ลุกสิงห์, อเสล ลูกสิงห์, กุศล, อรหันตผลญาณ, หน่วย, ลายเครือเกี้ยวกอด, ลายคำสาชาวกาสิกราช, มัญสา, ปิตตกา, บุญราศี, คน, เทพยดา, รูปนิทานทสชาดก, เตมิยชาดก, มนุษยมารพรหม, จตุราบาย, พระยามาร, สัพพัญญู, บาป, โลก, ครู, สัตว์, โอฆสงสาร, ทิพพจักขุญาณ, ธรณี, เกศเกษี, โพธิสมภารสังสการ, อสงไขย, มหากัปป์, ลัทธพยากรณ์, พระแม่ธรณีบีบมวยผม, นิรพาน, อรหัตตมัคคญาณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 2377

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2499?lang=th

17

จารึกวัดใต้เทิง 1

ธรรมอีสาน

ข้อความจารึกกล่าวถึงอัครวรราชครูปุสสีตธรรมวงศา พร้อมด้วยลูกศิษย์และญาติโยม, พระพรหมวรราชวงศาภูมินทร์ เจ้าเมืองอุบลฯ และบรรดาเสนาอมาตย์ มีศรัทธาสร้างวิหารและพระพุทธรูปไว้กับศาสนา

อบ. 13, อบ. 13, จารึกบนไม้สัก อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย, จารึกวัดใต้เทิง 1, จารึกวัดใต้เทิง 1, พ.ศ. 2373, พุทธศักราช 2373, พ.ศ. 2373, พุทธศักราช 2373, จ.ศ. 1192, จุลศักราช 1192, จ.ศ. 1192, จุลศักราช 1192, ไม้ ประเภทสักทอง, รูปใบเสมา, วัดใต้เทิง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ, อำเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, สมเด็จเจ้าพระพรหมวรราชวงศาภูมินทร์, เจ้าแผ่นดินในเมืองอุบลราชธานี, เจ้าเมืองอุบลราชธานี, อุปราช, ราชวงศ์, ราชบุตร, เสนาเดชอำมาตย์ธิบดี, ทมคารา, ช่างไม้, อรรควรราชครูเจ้า, กับทั้งอุบาสกอุบาสีกา, อรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, อันเตวาสิกสัทธิงวิหาริก, ชาวนคร, พวกแก้วออยบุญ, ภริยา, ปุตตา, ธิดา, สมเด็จอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, สมเด็จอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาราชชมชื่น, พระยาพรหมพระยาอินทร์อิศวร, พระยาจักรพรรดิราช, ตระกูลทสราชธรรม 10 ประการ, ตระกูลทสราชธรรม 10 ประการ, ตระกูลถวายคำ, เศรษฐีปุโรหิตมาจารย์, เงินตา,เงินตรา, เครื่องอุปกรณ์, คำปิด, น้ำเกียนน้ำหางหยาบทาพอก, ทองตีตาง, การก, แก้วกาจก, โภคา, ชะกวาน, ทองคำ, ชาดน้ำกอย, ชาดแต้มหางคำปิดบางวางพอก, น้ำครั่ง, บาตรไตรคำ, บัลลังก์บุปผา, ดอกไม้, ปรางค์เงิน, ธูปเทียนเริง, บ้านแปงส้อย, บุรีประจันตเทศ, ห้องดุสิตา, เมืองแก้ว, ราชธานี, เมืองฟ้า, สวรรค์ฟากฟ้า, แหล่งหล้าโลกา, จาตุมหาราชิกา, ตาวตึงสา, ทวีปทั้ง 4, ทวีปทั้ง 4, พุทธศาสนา, เขตวิหารพัทธสีมา, สำนักพระพุทธเจ้าอริยเมตตรัยโยเจ้าฟ้า, สร้างวิหารพัทธสีมา, สร้างพัทธสีมา, หล่อพุทธรูป, หล่อพระพุทธรูป, ปีกดยี่, มนาภิรมย์, ระวายสัน, ปีรวายสัน, พระจันทร์, นักขัตฤกษ์ สรวัน, ลูกสิงห์, มังกร ณ ราศี, อุบาสกอุบาสิกา, ท้าวพระยาเจ้า, มหาอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, เป็นเค้า, ประธาน, พุทธปฏิมาเมืองม่าน, เมตตรัย สัทโธ, กุศลปรารถนา, อรหันตผลญาณ, นิพพาน, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, ปริยัติศาสนา, ปฏิบัตติศาสนา, ปฏิเวทศาสนา, สัพพัญญุตาญาณ, ปัจเจกโพธิญาณ, สาวกบารมีญาณ, ศาสตรศิลป, โทษ, อกตัญญู, มิจฉาทิฏฐิ, หินชาติ, วัฏฏสงสาร, มาสเกณฑ์, หรคุณ, อวมาณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 2353

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2497?lang=th

18

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ

ไทยสุโขทัย

ด้านที่ 1 เป็นคำสรรเสริญรอยพระพุทธบาท ที่พระยาลือไทยธรรมราชาที่ 1 ได้ประดิษฐานไว้บนยอดเขาสุมนกูฏ ด้านที่ 2 เป็นเรื่องทำการสักการะบูชา ในเวลาที่ได้แห่รอยพระพุทธบาทขึ้นบนเขาสุมนกูฏ ด้านที่ 3 ชำรุดเสียหายมาก แต่ยังอ่านได้พระนาม พระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช พระธรรมราชาองค์นั้น เป็นพระโอรสของพระยาลือไทยธรรมราชาที่ 1 ตามที่กล่าว ในตอนปลายคำจารึกนี้คือ ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 15 มีความปรากฏว่า “พระองค์ได้ขึ้นมานบพระบาทลักษณ อันตนหาก (เดิมศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ อ่านว่า “อันตนชนก” แต่ภายหลังศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ได้ตรวจสอบใหม่พบว่า คำที่ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ อ่านว่า “อันตนชนก” นั้น ที่ถูกควรอ่านว่า “อันตนหาก” เพราะตัวอักษรในจารึกเขียนเช่นนั้น ฉะนั้นที่ ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ กล่าวว่าเป็นจารึกของพระโอรสของพระยาลือไทยธรรมราชาที่ 1 นั้นจึงคลาดเคลื่อนควรเป็นจารึกของพระยาลือไทยเอง) ประดิษฐานแต่ก่อนเหนือจอมเขาสุมนกูฏ” ในคำจารึกด้านที่ 3 ยังมีเรื่องราวที่พอจะอ่านได้ คือพระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ได้เสด็จไปปราบปรามหัวเมืองข้างทิศตะวันออกถึงแม่น้ำสัก แล้วเสด็จขึ้นมาประทับอยู่สองแคว (เมืองพิษณุโลก) 7 ปี ข้างปลายด้านที่ 3 นี้กล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัยที่แผ่ออกในแผ่นดินนั้น คำจารึกด้านที่ 4 เป็นเรื่องพระธรรมราชาที่ 1 เสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฏพร้อมกับชาวเมืองต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับกรุงสุโขทัยครั้งนั้น ได้นมัสการพระพุทธบาทและโปรดให้จารึกศิลาหลักนี้ขึ้น

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ, สท. 9, ศิลาจารึกภูเขาสุมนกูฏ จังหวัดสุโขทัย, สท. 9 ศิลาจารึกภูเขาสุมนกูฏ จังหวัดสุโขทัย, จารึกหลักที่ 8, จารึกหลักที่ 8, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, หินทรายแปร, หลักรูปใบเสมา, เขาพระบาทใหญ่, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ศรีสุริยพงศธรรมราชาธิราช, พระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช. เจ้าพระยาผากอง, พระยาท้าวฟ้าง้อม, จักรพรรดิราช, เศรษฐี, พระสัก, พระพุทธเจ้า, ชาวสระหลวง, กัลปพฤกษ์, หมาก, ไพรยา, ดอกไม้, พระศรีมหาโพธิ, หวาย, ปลา, ไต้, เทียน, ประทีบ, ธูปหอม, ธงปฎาก, ขันหมาก, ขันพลู, พิณ, ฆ้อง, กลอง, พวงมาลัย, จอมเขาสุมนกูฏบรรพต, ลังกาทวีป, เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, เมืองสองแคว, เมืองน่าน, เมืองพลัว, สระหลวง, ปากยม, พระบาง, ชากังราว, สุพรรณภาว, นครพระชุม, เมืองพาน. เมืองราด, เมืองสะค้า, เมืองลุมบาจาย, พนัง, ทำนบกั้นน้ำ, น้ำน่าน, เมืองปัว, สคา, สะค้า, พุทธศาสนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, สาธุการบูชา, ราชาภิเษก, ระบำ, เต้น, การทำบุญ, การจารจารึก, รอยตีน, รอยพระพุทธบาท, เทพดา, เทวดา, สมบัติ, ปีกุน, สังขยา, อนุโมทนา, หินแลง, ไร่นา,ธรรม, พระบาทลักษณ์, พระศรีบาทลักษณ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1912, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระยาลิไทย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-รอยพระพุทธบาท, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระยาลิไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1912

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/201?lang=th

19

จารึกวัดเขมา

ไทยสุโขทัย

คำจารึกตอนต้นชำรุดมากอ่านไม่ใคร่ได้ความ เท่าที่ยังเหลืออยู่เป็นเรื่องเจ้าเทพรูจี อุปสมบทเป็นภิกษุ และภายหลังได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ พร้อมด้วยญาติและพวกสัตบุรุษ เมื่อปี พ.ศ. 2079

จารึกวัดเขมา, สท. 11, สท. 11, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเขมา, ริมถนนพระร่วง, สุโขทัย, ไทย, อยุธยา, พระมหาเถร, เจ้าเทพรูจี, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, บาผ้าขาว, เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช, นักบุญ, เจ้าหมื่นเทพเนรมิต, สมเด็จมหาอุบาสก, บาผ้าขาวเทพ, ท้าว, พระยา, ครูอุปัชฌาย์, อำแดงกอน, อำแดงหอม, อำแดงเสน, อำแดงหยาด, นายพันพิษณุกรรม, นายสัง, นายเทพไชย, อำแดงยอด, อำแดงยศ, อีบุนรัก, มหาเวสสันดร, นักบุญ, พระสงฆ์, ผ้าเบงจตี, เครื่องสำรับ, อาสน, บาตรทองเหลือง, บาตรพระเจ้า, ลางพานเทส,ลางพานเทศ, ถ้วยโคมลาย, ถ้วยบริพัน, บายศรีบูชาพระเจ้า, ตเลิงทองเหลือง, หมากบูชาพระเจ้า, เลียนทองสัมฤทธิ์, เลียนทองสำริด, เลียนเทส, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสัมฤทธิ์, น้ำบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสำริด, น้ำมังเบือ, กากะเยีย, เพดานธรรมมาส, ไม้ประดับ, ตาตุ่มทองเหลือง, ฆ้อง, กลอง, กังสะดาล, หินพิง, หินดาดที่นั่ง, ที่พระเจ้า, หินแลง, กากะเยีย , พุทธศาสนา, พิหาร, วิหาร, รีสพัง, สรีดภงส์, พระเจดีย์, อุปสมบท, บวช, กัลปนา, เทพยดา, เทพดา, เทวดา, น้ำอาบ, น้ำกิน, ทรัพย์สาธารณ, กำแพง, บาท, ตำลึง, สลึง, ปีวอก, เชษฐมาส, พยาบาล, ศอก, พระธรรมคัมภีร์, พระสมุดชายปัก, เพดานธรรมาส, ชั่ง, ธรรม, บ่อน้ำ, สวน, ไร่, นา, รือก, บิ้ง, สารากร, บุริสการ, พระพุทธ, พระธรรม, อานิสงส์, สวรรค์, นิพพาน, โพธิสมภาร, ชาติ, สมบัติ, พยาธิ, เปรตดิรัจฉาน, เปรตเดรัจฉาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จารึกสมัยสุโขทัย, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 : เป็นจารึกกรุงสุโขทัยที่ได้พบก่อน พ.ศ. 2467, อายุ-พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-เจ้าเทพรูจี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 2079

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/222?lang=th

20

จารึกวัดอโสการาม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 กล่าวถึงสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์ พระอัครมเหสี สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงมีพระราชศรัทธาประดิษฐานพระสถูปไว้ในวัดอโสการาม ด้านที่ 2 ท่านกวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก ได้รจนาเป็นภาษาบาลี กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลในวัดอโสการาม และการตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ความเป็นผู้ที่สมบูรณ์ด้วยรูป ยศ และอายุของสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์

จารึกวัดอโสการาม, สท. 26, สท. 26, ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย จากวัดอโสการาม สุโขทัย, ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษามคธ จากวัดอโสการาม สุโขทัย, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, หินแปร, แผ่นรูปใบเสมา, วัดสลัดได, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์อรรคราชมเหสี, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, พระศรีมหาโพธิวงศ์กมลญาณ, เจ้าญาณวังสราชบัณฑิต, เจ้าศรีวัง, เจ้าสังขสร, พระมหาพุทธสาคร, พระมหาเถรสรภังคเถร, เสด็จแม่อยู่หัว, มหาวันรัตนเถร, พ่ออยู่หัว, พระศรีธรรมราชมารดา, พระยาลิไทย, พระะมหาธรรมราชาธิราช (ผู้หลาน), พระอโศก,ชายา, ธรรมกถึก, สมวัด, กับปิการพยาบาล, ประธาน, นายเชียงศรีจันท์, เสด็จพระมหาสวามีเจ้า, สมเด็จพ่อออก, สมเด็จพระราชเทวี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราชพระศรีธรรมราชมารดา, ญาติกุล, ท้าวพระยา, สาธุชน, พระพุทธเจ้า, พระมหากษัตริย์พระมารดา, พระศรีธรรมราชมาดา, มเหสี, พระจอมนระ, พระราชาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระราชา, พระสงฆ์, พระราชบุตร, พระเชษฐา, พระอโศก, บัณฑิต, ญาณวงศ์, ศรีวงศ์, สังขสร, พนักงานชาวประโคม, บุรุษ, ศรีจันทร์, พระภิกษุ, สมณะ, พระเถระ, สรภังคะ, พระสวามี, มารดาบิดา, พระพุทธเมตไตรย, พุทธบริษัท, ผู้ยากจน, พระศรีมหาโพธิ์, สารภี, บุนนาค, พิกุล, มะม่วง, ขนุน, มะขวิด, มะพร้าว, เมล็ดข้าวสาร, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ผลึกรัตน, พิกุล, ข้าว, เครื่องเคาะจังหวะ,พาทย์, แตร, สังข์, ปี่, กลองใหญ่, กังสดาลใหญ่, ข้าวเปลือก, อาหารกัปปิยภัณฑ์, นิจภัต, น้ำ, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, เมืองนครไทย, เมืองวัชชะปุร, ดอยอุ้ย, แม่น้ำพิง, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุร, เมืองลักขะ, แม่น้ำยม, ลังกา, ปราการ, สะพาน, ถนน, ท่งชัย, ทุ่งชัย, ศรีจุฬาวาส, พระธรรมราชบูรณ์, รัฐมณฑล, รัฐสีมา, แควน้อย, เมืองลักขะ, เมืองแสน, เมืองสร้อย, คู, มหาสมุทร, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, สถูป, กุฎี, กุฏิ, ปราการ, สะพาน, ถนน, วิหาร, มณฑป, เจดีย์, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, ศีลวิสุทธาวาส, พระอาราม, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานครรภพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานข้าพระ, ประดิษฐานนา, ผนวช, บวช, สงสการ, สังสการ, กัลปนา, การบำเพ็ญบุญ, สถาปนารัฐสีมา, สวดพระบาลีล การบริจาคทรัพย์, ฉลองอโสการาม, บริจาคทาน, ปีเถาะ, พระมหาธาตุเจ้า, พระพุทธรูป, นักษัตรผัคคุณมาส, ฤกษ์มหุรดี, ปัญจพิธกัลญาณี, ศีลพร, ปิฎกไตร, ไตรปิฎก, นา, เกวียน, สวน, สูปพยัญชนาการ, บาตร, สำรับ, ศีลมรรยาทวัตตปฏิบัติ, กรรม, ผลานิสงส์, โกฏฐาสบุญ, ทุกภยันตราย, สุข, พระราชกุศล, อนาคต, เลขวัด, พระรัตนตรัย, บุญสมภาร, วันอังคาร, ปีวอก, ศิลป, บุญสมภาร, เทวดา, พระพุทธ, พระธรรม, พระบรมธาตุ, สีแก้วผลึก, สีดอกพิกุลแห้ง, พระธาตุในพระสถูป, วันศุกร์, กำแพง, โกฏฏิ, ปัจจัย, บุญกรรม, อุปัททวะ, สวรรค์, บุญญานุภาพ, ภาวนา, รูป, ยศ, อายุ, ทรัพย์สมบัติ, กองทรัพย์, ภพ, วัฏฏสงสาร, สัมโพธิ, ราชสมบัติ, ปูชนียวัตถุ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, บาลีสันสกฤต, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-อายุ พ.ศ. 1942, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, บุคคล-สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์, บุคคล-กวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1942

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/235?lang=th

21

จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 2

ขอมโบราณ,กวิ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า จากนั้นกล่าวถึงการบริจาคทานของกลุ่มบุคคลที่มาชุมนุมกัน

พระชินะ, ชินะ พระพุทธเจ้า พุทธศาสนา พระพุทธศาสนา สังกัสสนคร สังกัสนคร, ธรรมราชา, บริษัท, พระนาถ นาถ, ศิลา ประเภทหินชนวน, สี่เหลี่ยม, สฎ. 3, สฎ. 3, หลักที่ 24 (ก.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, หลักที่ 24 (ก.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 2, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 2, วัดเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 18

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/509?lang=th

22

จารึกวัดมะกอก

ขอมโบราณ

เป็นพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ ต่อข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ให้มาจารึกพระบรมราชโองการของพระองค์ ไว้ที่ สาธุปาลิ

จารึกวัดมะกอก, ปจ. 19, ปจ. 19, Inscription de Kok Cheng (Ta Praya), K. 999, 13/2510, 13/2510, ศิลา, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา , วัดมะกอก, ตำบลโคกแวง, อำเภอตาพระยา, จังหวัดสระแก้ว, วัดมะกอก บ้านโคกเพร็ก ตำบลทัพเสด็จ, ขอมสมัยพระนคร, กำเสตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, กมรเตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ศรีราเชนทรวรมัน, มรตาญโขลญศรีลักษมินทราริมถน, โขลญศรีลักษมินทราริมถน, ศรีลักษมินทราริมถน, อาจารย์พัชรธรรม, ลักษมินทราริมถน, มรตาญโขลญศรีปรถิวีนเรนทร, โขลญศรีปรถิวีนเรนทร, ศรีปรถิวีนเรนทร, ปรถิวีนเรนทร, มรตาญศรีนเรนทรายุทธ, ศรีนเรนทรายุทธ, วาป ศิขาพรหม, ไทยทาน, น้ำมันสรง, ทอง, ข้าวขาว, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, สาธุปาลิ, สิทธายะ, กำเสตงชคตลิงคบุรี, ลิงคบุรี, ธุลีพระบาท, ธุลีเชิง, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อุไรศรี วรศะริน, อุไรศรี วรศะริน, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศตวรรษ 16

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/379?lang=th

23

จารึกวัดพระเสด็จ

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

นายพันเทพรักษาและนายพันสุริยามาตย์พร้อมด้วยภรรยา และท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา สถาปนาพระวิหาร ตลอดจนการบำเพ็ญกุศลต่างๆ ในสถานารามคาม

จารึกวัดพระเสด็จ, สท. 12, สท. 12, จารึกหลักที่ 15 ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ จังหวัดสุโขทัย, จารึกหลักที่ 15 ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ พุทธศักราช 2068, ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, ม.ศ. 1431, มหาศักราช 1431, ม.ศ. 1431, มหาศักราช 1431, พ.ศ. 2055, พุทธศักราช 2055, พ.ศ. 2055, พุทธศักราช 2055, ม.ศ. 1434, มหาศักราช 1434, ม.ศ. 1434, มหาศักราช 1434, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, ม.ศ. 1438, มหาศักราช 1438, ม.ศ. 1438, มหาศักราช 1438, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, ม.ศ. 887, มหาศักราช 887, ม.ศ. 887, มหาศักราช 887, หินแปร , แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระแก้ว, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, อรูปพรหม, นายพันเทพรักษา, นายพันสุริยามาตย์, อำแดงคำกอง, อำแดงคำแก้ว, พระมหาเถรราหุลเทพวันนวาสีศรีวิริยประญา, สัปบุรุษ, ประธาน, ท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา, ออกหลวงมหาเพียรประญา, ท้าวยอดท้าว, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จพระสังฆราชจุฑามณีศรีสังฆปรินายกสธรรมดิลกบรมเวธาจารีย์บพิตร, สมเด็จพระสังฆราชเจ้า, อำแดงศรีบัวทอง, มหาพรหมรัตน์, วิลาศ, นายไกรเชียร, มหาเทพ, มหาจันทร์, มหามงคล, มหานนท์, อีแก้ว, นายพันเทพ, อำแดงน้อย, แม่ศรีบัวทอง, ข้าพระ, พระสงฆ์, มหาเถรราหุลเทพวันนวาสี, มหาเทพภิกษุ, มหานนท์, เจ้าพันรด, นายไกรเชียร, ข้าอุโบสถ, ฆ้อง, ทอง, เงิน, สบู, หินสีมา, หินเสมา, หินดาด, น้ำทักษิโณทก, ผ้าขาวบูรพัตร, ผ้าข้าวสวรัตน์, อารามกานสอ, สังฆิการาม, วัดพระเสด็จ, วันนาวาส, พุทธศาสนา, พระวิหารสถานารามคาม, พระพิหารสถานพระสรรเพชญ, พัทธสีมาอุโบสถ, พระวิหารสถานสีมา, พระพิหารสถานสีมา, อุโบสถวัดพระเสด็จ, การสถาปนาพระวิหาร, การสถาปนาพระพิหาร, การสถาปนาอุโบสถ, กัลปนา, ปีมะเส็ง, บูรณมี, ไพสาข, วันพุธ, ศุภมหุรดี, ปีมะแม, ปีกุน, ปีขาล, ปีระกา, ชั่ง, ตำลึง, บาท, บุญ, กุศล, คุณาธิคุณ, มฤคศิร, โรค, ทุกข์, สวรรค์, นิรพาน, นิพพาน, ปรัชญา, มหาปรัชญา, สัปตศก, พินัยกรรม, กรรมาวสาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2064, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุุคคล-พันเทพรักษา, บุคคล-นายพันสุริยามาตย์, บุุคคล-เจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 2068

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/111?lang=th

24

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3)

ขอมสุโขทัย

พระมหาธรรมราชาที่ 3 กษัตริย์ผู้ครองเมืองสุโขทัย ทรงมีพระบรมราชโองการในที่ประชุมฯ ให้สถาปนาพระบรมครูติโลกดิลกฯ สังฆราชา มหาสามีเจ้า ขึ้นเป็น “สังฆปรินายกสิทธิ” มีอำนาจสิทธิ์ขาดในคณะอรัญวาสี และได้กล่าวถึงการแต่งตั้งพระมงคลวิลาสมหาเถร เป็นเจ้าอาวาสในวัดกัลยาณวนาราม จึงได้มีวิวาทาธิกรณ์เกิดขึ้น ด้วยเหตุนี้ พระมหาธรรมราชาที่ 3 เจ้าเมืองสุโขทัย จึงมีพระราชโองการในที่ประชุมพร้อมด้วยพระราชมารดา หมู่เสนาอำมาตย์ราชบัณฑิตและภิกษุสงฆ์ทั้งหลายทรงตั้งพระบรมครูสังฆราช คือตัวท่านให้เป็นสังฆปรินายกทั้งพระราชทานอำนาจสิทธิ์ขาด ที่จะระงับอธิกรณ์ต่างๆ ได้เองในคณะอรัญวาสี ด้วยได้รับราชอำนาจดังกล่าวมา พระบรมครูจึงได้ตั้งพระมงคลวิลาสมหาเถรเป็นเจ้าอาวาสในวัดกัลยาณวนาราม อีกครั้งหนึ่งได้โดยเรียบร้อย

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3), จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3), สท. 8, สท. 8, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3) จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 3) จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 3 พุทธศักราช 1949, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 3 พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1931, พุทธศักราช 1931, จ.ศ. 750, จุลศักราช 750, พ.ศ. 1931, พุทธศักราช 1931, จ.ศ. 750, จุลศักราช 750, หินทราย, รูปใบเสมาล ฐานพระเจดีย์, วัดบวรนิเวศฯ กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, ตัณหังกรมหาเถร, เวสสภูมหาเถร, มงคลวิลาสมหาเถร, สารีบุตรมหาเถร, พุทธวังศมหาเถร, มหาธรรมราชาธิราชผู้หลาน, ศรีธรรมราชมารดา, ปู่พระยา, นักปราชญ์, นายสวรปรัชญา, บาธรรมไตรโลก, ราชามาตย์, ขุนสุคนธรสราชมนตรี, นายเพนีพมูยราชศาสตร์, สงฆ์, สังฆราชญาณรุจีมหาเถร, ไตรปิฎกมหาเถร, พุทธวังศเถร, มหาอาริพงศเถร, บาญาณคันธิก, บาสวรเทพ, บาราหุล, บาญาณวิลาส, ธมรังสีมหาเถร, สุโพธานันทมหาเถร, ภิกษุบริษัท, สุมงคลมหาเถร, เขมมงคลมหาเถร, ธรรมโฆสมหาเถร, ญาณคัมภีร์มหาเถร, สมณเทพมหาเถร, พุทธวิลาสมหาเถร, สุริยามหาเถร, รามรังสีมหาเถร, ธรรมเสนาบดีมหาเถร, ปัญญาธิกมหาเถร, สุพรรณสยามมหาเถร, อานนทมหาเถร, อรรคญาณมหาเถร, ธรรมกิตติเถร, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระมหาธรรมราชาที่ 3, พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคันธวนวาสีธรรมกิตติสังฆราชามหาสวามีเจ้า, บา, ขุน, สังฆราช, สังฆปรินายก, สงฆ์, มหาธรรมราชาธิราช, ศรีราชมาดา, ภิกษุ, กัลยาณวนาวาส, สวรรคารามบรรพต, ทะเลฉาง, พระพิหารสีมากระลาอุโบสถ, พระวิหารสีมากระลาอุโบสถ, เสมา, อรัญญวาสี, ปีจอ, สุขบริโภค, อธิกรณ์, คามวาสี, พระพุทธรูป, เดือนอ้าย, วันอาทิตย์, ประถมยาม, อายุ-จารึก พ.ศ. 1949, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระมงคลวิลาสมหาเถร, บุคคล-พระมหาธรรมราช, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1949

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/210?lang=th

25

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 2)

ขอมสุโขทัย

พระมหาธรรมราชาผู้ปู่ (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ให้อาราธนาพระมหาสมณเถระ มาที่วัดป่าแดง และได้กล่าวถึงการบูชาพระมหาธาตุ การเข้าอยู่จำพรรษาในวัดป่าแดง การไปเมืองเหนือของพระมหาสมณเถระ เมื่อ จ.ศ. 731 (พ.ศ. 1912)

จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2, จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2, สท. 7, สท. 7, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 พุทธศักราช 1949, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 2 พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, จ.ศ. 724, จุลศักราช 724, จ.ศ. 724, จุลศักราช 724, พ.ศ. 1906, พุทธศักราช 1906, พ.ศ. 1906, พุทธศักราช 1906, จ.ศ. 725, จุลศักราช 725, จ.ศ. 725, จุลศักราช 725, พ.ศ. 1907, พุทธศักราช 1907, พ.ศ. 1907, พุทธศักราช 1907, จ.ศ. 726, จุลศักราช 726, จ.ศ. 726, จุลศักราช 726, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, พ.ศ. 1912, พุทธศักราช 1912, จ.ศ. 731, จุลศักราช 731, จ.ศ. 731, จุลศักราช 731, หินทราย, แผ่นรูปใบเสมา, ฐานพระเจดีย์, วัดบวรนิเวศฯ กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระมหาธรรมราชาผู้ปู่, พระมหาธรรมราชา ที่ 1, พระมหาธรรมราชาที่ 1, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระยาลือไทย, พระเจ้าลือไทย, มหาสมณเถร, พล, พระพุทธเจ้า, เจ้ากู, วัดป่าแดง, เมืองสุโขทัย, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, อาวาสสุมม่วง, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, ปีขาล, ปีเถาะ, ปีมะโรง, ปีมะเส็ง, ปีระกา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1912, อายุ-จารึก พ.ศ. 1949, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระมหาสมณเถระ, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1949

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/208?lang=th

26

จารึกวัดป่าแดง (แผ่นที่ 1)

ขอมสุโขทัย

เมื่อ จ.ศ. 705 (พ.ศ. 1886) ครั้งท่านยังเป็นศิษย์พระพระมหากัลยาณเถระ เจ้าอาวาสวัดป่าแดง จนเมื่อ จ.ศ. 723 พระมหากัลยาณเถระอาพาธหนัก และทราบว่าจะต้องถึงมรณภาพแน่นอน จึงให้ภิกษุสงฆ์มาประชุมกันและถามที่ประชุมว่าจะเห็นพระเถระรูปใดที่สมควรจะรับตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าแดงแทนได้ ที่ประชุมได้อุปโลกตัวท่านให้เป็นเจ้าอาวาสแทน และเวลาที่พระธรรมราชาที่ 1 เจ้าเมืองสุโขทัย ได้เสด็จมากระทำสักการะบูชาพระศพพระมหากัลยาณเถระ ก็ได้ทรงตั้งให้ท่านเป็นเจ้าอาวาสในวัดป่าแดงอีก และให้เป็นเจ้าคณะในอรัญญวาสีด้วย นอกจากนี้ในปี จ.ศ. 721-722 (พ.ศ. 1902-1903) พระธรรมราชาที่ 1 ทรงนำพลไปเมืองแพร่

จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1, จารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1, สท. 6, สท. 6, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 9 ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 พุทธศักราช 1949, ศิลาจารึกวัดป่าแดง แผ่นที่ 1 พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, พ.ศ. 1949, พุทธศักราช 1949, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, จ.ศ. 768, จุลศักราช 768, พ.ศ. 1886, พุทธศักราช 1886, พ.ศ. 1886, พุทธศักราช 1886, จ.ศ. 705, จุลศักราช 705, จ.ศ. 705, จุลศักราช 705, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, จ.ศ. 719, จุลศักราช 719, จ.ศ. 719, จุลศักราช 719, พ.ศ. 1902, พุทธศักราช 1902, พ.ศ. 1902, พุทธศักราช 1902, จ.ศ. 721, จุลศักราช 721, จ.ศ. 721, จุลศักราช 721, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, จ.ศ. 723, จุลศักราช 723, จ.ศ. 723, จุลศักราช 723, หินทราย, แผ่นรูปใบเสมา, ฐานพระเจดีย์, วัดบวรนิเวศฯ กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระมหาธรรมราชาผู้ปู่, พระมหาธรรมราชา ที่ 1, พระมหาธรรมราชาที่ 1, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระยาลือไทย, พระเจ้าลือไทย, พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า พระสังฆปรินายก, พระมหากัลยาณเถระ, ภิกษุสงฆ์, ชีผ้าขาว, พระมหาเถร, มหาสมณเถร, พล, พระพุทธเจ้า, เจ้ากู, ผ้าสังฆาฏิ, เมืองศรีสัชนาลัย, เมืองแพร่, วัดป่าแดง, สุโขทัย, เมืองแพล, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, กุฎี, อาวาสสุมม่วง, กุฏิ, วัด, ป่าแดง, วัดป่าแดง, อาวาสธรรมารมณ์, อุปสมบท, บวช, สังสการ, คามวาสี, อรัญญวาสี, ปีมะแม, ปีระกา, ปีกุน, ปีฉลู, ปีขาล, ปีเถาะ, เดือนหกออก, วันอังคาร, พุทธฎีกา, พยาธิ, ศพ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1886, อายุ-จารึก พ.ศ. 1949, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระยางั่วนำถม, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระมหากัลยาณเถระ, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคนธวันวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสามีเจ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1949

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/206?lang=th

27

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 2

ไทยสุโขทัย

จารึกด้านที่ 1 กับด้านที่ 3 ชำรุด อ่านจับใจความไม่ได้ ส่วนด้านที่ 2 กับด้านที่ 4 นั้นพออ่านได้บ้าง ข้อความที่จารึก ได้กล่าวถึงพระมหาธรรมราชาที่ 1 ทรงสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ในป่ามะม่วง และทรงผนวช

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 2, จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 2, สท. 5, สท. 5, หลักที่ 7 จารึกวัดป่ามะม่วง อักษรไทย ภาษาไทย หลักที่ 2, หลักที่ 7 จารึกวัดป่ามะม่วง อักษรไทย ภาษาไทย หลักที่ 2, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 2 พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 2 พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, หินทรายแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ป่ามะม่วง, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระกัสสป, พระยาศรีสุริยพงศ์ธรรมราชาธิราช, พระยานาพดาล, ขสิณาสรพ, พระขีณาสพ, พระอารยกัสสป, พระเป็นเจ้า, ขุนมัลลราช, สงฆ์, สังฆราชา, มหาสมณลังกาทวีป, พระยาศรีสุริยพงศ์ธรรมราชาธิราช, พระยามหาธรรมราชาธิราช, พระพุทธเจ้า, โลงทอง, กุสินารนคร, ลังกาทวีป, ป่ามะม่วง, แผ่นดินป่าม่วง, พุทธศาสนา, กุฎีวิหาร, กุฏิวิหาร, เสมา, สีมากระลาอุโบสถ, บวช, การประดิษฐานสีมา, พระนิพพาน, พระไตรปิฎก, นรก, ศักราชปีฉลู, หนไทย, ปีรวงเป้า, ปีเถาะ, กัดเม้า, อมริดถสัญญา, อริฏฐสัญญา, มรณสัญญา, ธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1904, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1904

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/196?lang=th

28

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 1

ไทยสุโขทัย

คำจารึกภาษาเขมร กับคำจารึกภาษาไทยผิดกันบ้างเล็กน้อย ยกเป็นตัวอย่าง คำจารึกภาษาไทยไม่กล่าวถึง เรื่องพรญาฦาไทยเสด็จไปปราบจลาจลในเมืองสุโขทัย เมื่อ ม.ศ. 1269 และไม่กล่าวถึงเรื่องประดิษฐานรูปพระอิศวร พระนารายณ์ ในหอเทวาลัยป่ามะม่วง ส่วนเรื่องพระยารามราช คือ พ่อขุนรามคำแหง ได้ปลูกต้นมะม่วงมีแต่ในจารึกภาษาไทย ในคำเขมรไม่มี นอกจากนั้นคำจารึกทั้งสอง มีเนื้อความอย่างเดียวกันทุกๆ ประการ

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาไทย) หลักที่ 1, อย. 1, อย. 1, (อย./1), (อย./1), หลักที่ 5 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง จังหวัดสุโขทัย ภาษาไทย อักษรไทย, หลักที่ 5 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง จังหวัดสุโขทัย ภาษาไทย อักษรไทย, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 1 พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาไทย หลักที่ 1 พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, วัดใหม่, ปราสาททอง, อำเภอนครหลวง, จังหวัดนครศรีอยุธยา, ไทย, สุโขทัย, พระพิษณุกรรม, พระยารามราช, พระยาลือไทย, พระยาศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระพิษณุกรรม, มหาสังฆราช, ท้าว, ไพร่ฟ้าข้าไท, ข้าเสิก, ข้าศึก, พระพุทธเจ้า, มหาสามีสังฆราช, ลูกเจ้าลูกขุน, เถรานุเถระ, ภิกษุสงฆ์, สามเณร, ดาบส, พระธรรมราชาที่ 1, พระธรรมราชที่ 1, พระศรีมหาโพธิ, มะม่วง, ไม้ม่วง, ปลา, มกุฏ, ขันศรีเศวตฉัตร, ดอกไม้, ไต้, เทียน, ผ้าบัญจรงค์, ผ้าเบญจรงค์, ทอง, เงิน, เบี้ยสิบล้าน, เบี้ย, หมาก, ผ้าจีวร, บาตร, หมอนนั่ง, หมอนนอน, ฟูก, พูก, ข้าว, กระยาทาน, เครื่องกระยา, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, เมืองศรีสัชนาลัย, นครพัน, ลังกาทวีป, เมืองฉอด, เมืองสุโขทัย, ป่าม่วง, เมืองฟ้า, พุทธศาสนา, สถูปเจดีย์, กุฎี, กุฏิพิหาร, กุฏิวิหาร, พระสัมฤทธิ์, พระศรีรัตนมหาธาตุ, พระพุทธรูปทอง, ราชมนเทียร, ราชมณเทียร, ปลูกไม้ม่วง, ปลูกมะม่วง, อภิเษก, ทำบุญ, ก่อสถูปเจดีย์, ปลูกพระศรีมหาโพธิ, ทำมหาทาน, ทำทาน, ฉลองพระพุทธรูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, ฉลองสดับธรรม, บวช, สมาทานศีล, พระไตรปิฎก, พระปิฎกไตร, กฎหมาย, หัวนอน, ตีนนอน, ยัดยัญ, ทศพิธราชธรรม, สิน, สงสาร, สังสาร, บุญ, ธรรม, ปีฉลู, ศีลาจาร, กษิณาศรพ, พระขีณาสพ, พีดาน, พิดาน, เพดาน, ตะวัน, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระพุทธรูปสำริด, พระสัมฤทธิ์, พระสำริด, ร้อย, วันพุธวาร, หนไท, รวงเป้า, ปุนัพสุนักษัตร, นิพพาน, พระพุทธรูปทอง, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1904, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกมะม่วง, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-16, ไฟล์; ST_002f1 และ ST_002f3)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1904

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/130?lang=th

29

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร)

ขอมสุโขทัย

ความในจารึกเป็นคำยอพระเกียรติของพญาฦาไทย (พระธรรมราชาที่ 1) ทั้งเพื่อจะให้เป็นที่ระลึก การที่พระองค์ทรงอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากลังการูปหนึ่ง มาที่เมืองสุโขทัยเมื่อ มหาศักราช 1283 (พ.ศ. 1905) และการซึ่งพระองค์ได้ทรงพระราชศรัทธา ออกทรงผนวช ข้อความนี้จะได้เรียบเรียงและจารึกลงในศิลา ในปีเดียวกับปีที่มีงานสมโภชนั้นๆ หรือจะได้จารึกต่อมาภายหลัง ก็ไม่สามารถจะทราบได้ เพราะด้านที่ 3 ของศิลานั้นได้ลบเลือนไปเสียแทบสิ้นแล้ว ด้านที่ 1 ในตอนต้นกล่าวถึงเรื่องพญาฦาไทยเสด็จออกจากเมืองศรีสัชนาลัย ไปปราบจลาจลในเมืองสุโขทัย เมื่อ ม.ศ. 1269 (พ.ศ. 1890) ที่เกิดจลาจลนั้นเห็นจะเป็นด้วยเหตุ พญาเลอไทย พระชนกพึ่งสิ้นพระชนม์ครั้งนั้น เมื่อได้เมืองแล้ว พญาฦาไทยได้ทำพระราชพิธีราชาภิเษกในกรุงสุโขทัย ตอนที่ 2 เป็นคำยอพระเกียรติของพญาฦาไทยธรรมราชา ตอนนี้ชำรุดเสียหายมาก แต่สันนิษฐานได้บ้าง เพราะในศิลาจารึกภาษาไทย (หลักที่ 5) มีเนื้อความอย่างเดียวกัน ข้างสุดท้ายด้านที่ 1 กล่าวถึงเรื่องประดิษฐานรูปพระอิศวร พระนารายณ์ พระ (คเณศ) ในเทวาลัยมหาเกษตรที่ป่ามะม่วง ด้านที่ 2 ตอนต้นเป็นคำสรรเสริญพระปัญญาของพญาฦาไทยทรงรู้ศิลปานุศิลทั้งปวง และได้แก้ไขศักราช ตอนที่ 2 กล่าวถึงงานรับพระมหาสามีสังฆราช และการซึ่งพญาฦาไทยได้ทรงผนวช ด้านที่ 3 ชำรุดเหลือที่จะอ่านได้ ด้านที่ 4 เป็นข้อความตักเตือนสัตบุรุษ ให้รีบเร่งทำบุญกุศล และข้างสุดท้ายกล่าวถึงคาถา ซึ่งพระมหาสามีสังฆราชได้จารึกไว้ในป่ามะม่วง (คือหลักที่ 6)

หลักที่ 4 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษาเขมร, หลักที่ 4 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษาเขมร, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร พุทธศักราช 1904, สท. 3, สท. 3, สท./3, สท./3 , พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, พ.ศ. 1283, พุทธศักราช 1283, พ.ศ. 1890, พุทธศักราช 1890, พ.ศ. 1890, พุทธศักราช 1890, ม.ศ. 1269, มหาศักราช 1269, พ.ศ. 1269, พุทธศักราช 1269, หินแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, ปราสาทเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระอิศวร, พระมเหศวร, พระวิษณุ, พระวิษณุกรรม, พระพิษณุกรรม, พระบาทกมรเดงอัญฦาไทยราช, พระบาทกมรเตงอัญฦาไทยราช, พระบาทกัมรเดงอัญฦาไทยราช, พระบาทกัมรเตงอัญฦาไทยราช, พระบาทกมรเดงอัญศรีรามราช, พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช, พระบาทกัมรเดงอัญศรีรามราช, พระบาทกัมรเตงอัญศรีรามราช, พ่อขุนรามคำแหง, พลพยุหเสนา, พลโยธา, ไพร่พล, พญาฦๅไทย, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระธรรมราชาที่ 1, พระธรรมราชาที่ 1, พระมหาสามี, สังฆราช, สัตรู, ศัตรู, พระบิดา, พระอัยกา, กษัตริย์, พระบาทกมรเดงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกัมรเดงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกัมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, สมณะ, พราหมณ์, ดาบส, นักพรต พระมหาเถร, พระภิกษุสงฆ์, พระมหาสามีสังฆราช, พระพุทธเจ้า, โลกาจารย์กฤตยา, สมเด็จบพิตร, ราชบัณฑิต, นายช่าง, พระเถรานุเถร, สามเณร, ประชาชน, กัลปพฤกษ์, นาคราช, หมาก, ดอกไม้, มกุฏ, มงกุฎ, พระขรรค์ชัยศรี, เศวตฉัตร, ข้าวตอก, เทียน, ธูป, พวงดอกไม้, ผ้าเบญจรงค์, ทอง, เงิน, เบี้ย, จีวร 4, หมอนนอน, หมอนนั่ง, เสื่อ, กระยาทาน, บริขาร, พระแสงอาญาสิทธิ์, เมืองศรีสัชนาลัย, พระวิสัย, เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, ป่ามะม่วง, ลังกาทวีป, นครพัน, เมืองฉอด, เมืองเชียงทอง, เมืองบางจันทร์, เมืองบางพาน, เมืองบางพาร, ทางหลวง, พระราชมรรคา, ทางสวรรค์, พระราชมณเทียร, ปราสาทราชมณเทียรทอง, ปราสาททอง, พุทธศาสนา, พราหมณ์, ฮินดู, ถนน, พระเจดีย์, รูปพระอิศวร, รูปพระวิษณุ, หอเทวาลัยมหาเกษตร, พระพุทธรูปสำริด,พระมหาธาตุ, พระพุทธรูปทอง, พระราชมนเทียร, ศิลาจารึก, กฏิวิหาร, พัทธสีมา, อภิเษก, การประดิษฐานเทวรูป, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การบูชา, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, พระพรรษา, การทำทาน, การทำมหาทาน, การฉลองพระพุทธรูป, ฟังธรรม, การสมาทานศีล, การบวช, การจารศิลาจารึก, พระไตรปิฎก, ชั่ง, ล้าน, กระแส, บาดพจุะ, ปีกุน, วันศุกร์, พระบัณฑูร, ประตู, ไอสูรยาธิปัตย์, สังสารทุกข์, ปีฉลู, ปุรวาษาฒนักษัตรฤกษ์, เพดาน, ไตรมาส, พระพุทธรูปสำริด, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระวินัย, พระอภิธรรม, เพทศาสตราคม, ความยุติธรรม, โชยติศาสตร์, ดาราศาสตร์, ปี, เดือน, สุริยคราส, จันทรคราส, อธิกมาส, วันวาร, ปฏิทิน, พระกรณียกิจ, ราชสมบัติ, ศีล, ศิลาจาร, พระขีณาสพล ทราย, วันเพ็ญ, พระราชทรัพย์, วันพุธ, ปุนัสสุฤกษ์, ดาบสเพศ, พระเนตรพระพุทธรูปทอง, จักรพรรดิสมบัติ, อินทรสมบัติ, พรหมสมบัติ, ไตรสรณาคมณ์, แผ่นดินไหว, มหัศจรรย์, บุญ, บาป, พระคาถา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1890, อายุ-จารึก พ.ศ.1904, อายุ-จารึก พ.ศ.1905, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พญาเลอไทย, บุคคล-พระมหากัลยาณเถระ, บุคคล-พญาฦาไทย, บุคคล-พระธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พญาเลอไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1904

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1329?lang=th

30

จารึกวัดบูรพาราม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 ว่าด้วยพระราชประวัติพระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย นับแต่การประสูติ จบการศึกษาศิลปศาสตร์ การเสวยราชย์ การปราบดาภิเษก การขยายพระราชอาณาเขตไปยังทิศานุทิศ มีเมืองฉอด เมืองพัล ลุมบาจาย ยโสธร นครไทย เชียงดง เชียงทอง เป็นต้น จากนั้นกล่าวถึงสมเด็จมหาธรรมราชาธิราช เสด็จออกทรงผนวช และเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1951 นอกจากพระราชประวัติ ยังได้กล่าวถึงสายสัมพันธ์ราชสกุลแห่งพระราชวงศ์ การประดิษฐานพระมหาธาตุใน “บูรพาราม” การสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา ท้ายของด้านที่ 1 นี้กล่าวถึง สมเด็จพระราชเทวีเจ้าทรงกัลปนาอุทิศบุณยโกฏฐาส เพื่อทรงอุทิศส่วนพระราชกุศล ถวายแด่สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช สมเด็จพระศรีธรรมราชมาตาพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ มีสมเด็จปู่พระยา พ่อออก แม่ออก เป็นต้น ส่วนข้อความจารึกด้านที่ 2 กล่าวถึงพระเทวีสังฆมารดาและพระเทวี ร่วมกันบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวถึงพระราชประวัติพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงประสูติจากพระครรภ์พระศรีธรรมราชมารดา พระอัครมเหสีของ “สิริราชา” เมื่อเดือน 8 ศักราช 730 (พ.ศ. 1900)

หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, สท. 59, สท. 59, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, พุทธศักราช 730, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, จ.ศ. 758, จุลศักราช 758, จ.ศ. 758, พุทธศักราช 758, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, พุทธศักราช 770, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, พุทธศักราช 774, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, จ.ศ. 775, จุลศักราช 775, จ.ศ. 775, พุทธศักราช 775, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระศรีธรรมราชมารดา, สมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา, สมเด็จพระราชเทวีศรีจุฬาลักษณ์อัครราชมหิศีเทพยธรณีดิลกรัตนบพิตรเป็นเจ้า, สมเด็จรามราชาธิราช, ศรีธรรมาโศกราช, พระมหาอานนท์, สาธุชน, พระมุนี, พระศาสดา, พระทศพล, พระเทวีสังฆมารดา, พระเทวีศรีจุฬาลักษณ์, อัครมเหสี, พระราชบิดา, สิริราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, นางเทวนารีอัปสร, พระนางพิมพา, พระนางมหามายา, พระนางจันทิมา, พระนางสรัสวดี, พระสงฆ์, พระราชบุตร, กนิฏฐกะ, พระญาณคัมถีรเถระ, โชติปาละ, พระเถระ, พระฏิปิฎกาจารย์, เทวมงคล, พระธรรมกรรมกะ, พระอินทโฆสะ, บัณฑิต, พระปาลีติตะ, บุรุษ, สามเณร, พระภิกษุ, อุบาสก, พระสารีบุตรปิยทัสสะ, พระจันทิยยภุยยะ, พระพุทธปาลสิริวังสะรับ, ลวะ, เหมะ, พระสลิสรานันทเถระ, ประมุข, พระติโลกติลกรตนสีลคันธารวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสมณะ, พระสมณินทัสสเถระ, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, พระกันโลง, ปราชญ์, ท้าวพระยา, บาทบริจาริการัตนชายา, สมเด็จรามราชาธิราชบรมนารถบุตร, พระนุช, ศรีธรรมาโศกราช, อาจารย์, อินทรโฆรสราชบัณฑิต, รัชตะ, บาไปรียะ, พระมหาอานนท์, ปู่พระยาพ่อออก, ภัษฎราธิบดี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, ญาติ, พระยาสามนตราช, เลือง, ต้นโพธิ, มะพร้าว, มะขามป้อม, ต้นพิกุล, มะม่วง, สมอ, บุนนาค, กากะทิง, สาระภี, กอปทุม, เมล็ดถั่ว, ทองคำ, แก้วผลึก, สังข์, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ดอกพิกุล, ข้าวเปลือก, ผ้าหนังสัตว์, ภิกษา, บาตร, จีวร, ไม้เท้า, ที่นอน, ข้าวสารสาลี, กระยาทาน, เมืองฉอด, เมืองพัล, ลุมบาจาย, ยโสธร, นครไทย, เชียงดง, เชียงทอง, ปกกาว, ศรีสัชชนาลัย, กรุงสุโขทัย, รัฐกาว, รัฐชวา, เมืองพระบาง, เมืองนครไทย, เมืองเพชรบูรณ์, เมืองไตรตรึงส์, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุระ, เมืองเชียงแสน, แม่น้ำพิงค์, แม่น้ำโขง, เกาะลังกา, คู, กำแพง, สะพาน, เกาะสิงหล, แดนพัล, สาย, ริด, เมืองสุโขทัย, ท่งไชย, ทุ่งไชย, ฝั่งของ, ฝั่งโขง, เมืองพัน, ทุ่งชัย, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, ปุพพาราม, ห้องพระธาตุ, พระเจดีย์, พระวิหาร, พระพิหาร, พระอุโบสถ, อาราม, บูรพาราม, พระมหามณฑปเจดีย์, คันธวนวาส, พระพุทธเจดีย์, วัดอโสการาม, วัดศีลวิสุทธาวาส, การอภิเษก, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, สร้างศาลา, สถาปนาพระเถระ, บวช, ผนวช, บรรพชา, อุปสมบท, บำเพ็ญมหาทาน, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, กัลปนา, สัตว์โลก, ทศพลญาณ, ธรรม, อนันตญาณ, มาร, เสนามาร, โอฆะสงสาร, สรรพัญญุตญาณ, นรก, คนธชาติ, ราคะ, ศิลป, ธุรบัญญัติ, ทุกข์, ภพ, สุข, ธรรมนาวา, โมหะ, พระพุทธพจน์, พุทธธรรม, ศีล, ปัญญา, กุศลกรรมบท 10, กุศลกรรมบท 10, บุญ, ทักขิไณยบุคคล, พระรัตนตรัย, รัชสมบัติ, ทิศอุดร, ทิศอิสาน, ทิศทักษิณ, ทิศบูรพา, ทิศอาคเนย์, ทิศพายัพ, ปีฉลู, ปีมะโรง, มะโรงนักษัตร, วันพฤหัสบดี, ศีล, ยศ, ขัตติยา, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระธาตุ, ปาฏิหาริย์, พระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, ที่นา, ทรัพย์, สมาธิ, ปัญญา, กุศล, วอกนักษัตร, ปีวอก, อาษาฒมาส, กลาศาสตร์, มูรฒรณรงค์, ฉลูนักษัตร, ปีฉลู, ราชสมบัติ, ออกใหม่, ปัญจพิธ, กัลญาณี, ญาณคัมถีร์, ศีลวัตร์, กรรม, กรยาการ, โกฏฐาส, พระราชกุศล, กระยาการ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7 : ประมวลจารึกที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, 2) ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2566

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 ตุลาคม 2566)

พุทธศตวรรษ 20

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/254?lang=th

31

จารึกวัดตำหนัก

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

มหาเถรสุมงคลราชรุจีศรีพิเชียรปรีชญา กับพระสงฆ์อีก 100 รูป และอุบาสก อุบาสิกา ร่วมเป็นประธานในการพิมพ์พระด้วยเนื้อต่างๆ เช่น เนื้อทองคำ เนื้อเงิน

จารึกวัดตำหนัก, หลักที่ 108 ศิลาจารึกวัดตำหนัก, หลักที่ 108 ศิลาจารึกวัดตำหนัก, พจ. 2, พจ. 2, พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, จ.ศ. 842, จุลศักราช 842, พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, จ.ศ. 842, จุลศักราช 842, รูปใบเสมา, วัดตำหนัก, ตำบลบางคลาน, อำเภอโพทะเล, จังหวัดพิจิตร, ไทย, สุโขทัย, พระศรีสักยมุนีโคตมบพิตร, พระศรีศากยมุนีโคตมบพิตร, มหาเถรสุมงคลราชรุจีศรีพิเชียรปรีชญา, นายเพ็งแล, แม่ผาม, พระสงฆ์, อุบาสก, อุบาสิกา, พระรามาธิปบดีศรีสินทรบรมจักรพรรดิราชาธิราชราเมศวรธรรมิกราชเดโชชัยพรหมเทพาดิเทพ ตรีภูวนาธิเบศร์บรมบพิตร, พระ(ทอง)คำ, พระสัมฤทธิ์(สำริด), พระเงิน, พระดีบุก, มหานครนิพพาน, พุทธศาสนา, ปีมะเมีย, ปีชวด, วันเสาร์, ฤกษ์ภรณี, พระสารีริกธาตุ, พระคำ, พระพุทธรูป, พระสัมฤทธิ์, พระสำริด, พระเงิน, พระดีบุก, อายุ-จารึก พ.ศ. 2023, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคลล-พระมหาเถรสุมงคลราชรุจีศรีพิเชียรปรีชญา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 2023

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/243?lang=th

32

จารึกวัดตาเถรขึงหนัง

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึกในส่วนภาษาบาลี เป็นคำกล่าวนมัสการพระรัตนตรัย และคำไหว้อาจารย์ ส่วนจารึกภาษาไทย ได้กล่าวถึงสมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา และสมเด็จมหาธรรมราชาธิบดี ราชโอรส ขึ้นเสวยราชย์ในนครศรีสัชนาลัยสุโขทัย ตลอดถึงการอาราธนาสมเด็จพระมหาศรีกิรติ จากพชรบุรีศรีกำแพงเพชร มาสร้าง “ศรีพิจิตรกิรติกัลยาราม” และสมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา ปลูกพระศรีมหาโพธิ

จารึกวัดตาเถรขึงหนัง, สท. 16, สท. 16, หลักที่ 8 ค, หลักที่ 8 ค, หลักที่ 46 ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง, หลักที่ 46 ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง, ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง พุทธศักราช 1947, ศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง พุทธศักราช 1947, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, พ.ศ. 1943, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, พุทธศักราช 1943, จ.ศ. 762, จุลศักราช 762, พ.ศ. 1943, พุทธศักราช 1943, จ.ศ. 762, จุลศักราช 762, พ.ศ. 1946, พุทธศักราช 1946, จ.ศ. 765, จุลศักราช 765, พ.ศ. 1946, พุทธศักราช 1946, จ.ศ. 765, จุลศักราช 765 , หินชนวน , แผ่นรูปใบเสมา จารึกวัดตาเถรขึงหนัง วัดตาเถรขึงหนัง, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, วัดศรีพิจิตรกิรติกัลยาราม, ไทย, สุโขทัย , พระพุทธเจ้า, พระสงฆ์, อาจารย์, ศัตรู, สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดามหาดิลกรัตนราชนาถกรรโลง, สมเด็จมหาธรรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, กษัตริย์, สมเด็จพระมหาศรีกิรติ, สมเด็จแม่, เจ้าเหง้าพุทธางกูรพันลอก, อริยะ, เจ้ามหาสัปปุรุษ, แม่ออก, พระศรีมหาโพธิ, พระพฤกษาธิบดีศรีมหาโพธิ, นครศรีสัชนาลัยสุโขทัย, พชรบุรีศรีกำแพงเพชร, พระบาง, หนอง, ห้วย, แพร่, พุทธศาสนา, ศรีพิจิตรกิรติกัลยาราม, พระราชสีมา, พระอาวาสอาสน์, ศักราช 762, นาคนักษัตร, ปีมะโรง, ศักราช 765, ปีมะแม, เดือนอ้าย, แปดค่ำ, วันพฤหัสบดี, ศักราช 766, มักกฏนักษัตร, ปีวอก, พระธรรม, พระรัตนตรัย, พระชาณุยุคล, นาคนักษัตร, ปีมะโรง, มหามไหสวริยอัครราช, ปีมะแม, เดือนอ้าย, ออกใหม่, วันพฤหัสบดีศรีทินพารกาล, อายุ-จารึก พ.ศ.1947, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, บุคคล-สมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิบดี, บุคคล-สมเด็จพระมหาศรีกีรติ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1947

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/121?lang=th

33

จารึกวัดตะพาน

ไทยอยุธยา

เจ้าเมืองทองและครอบครัวร่วมกันสร้างพระวิหาร โดยอาราธนาเจ้าเถรเทพเมาลีและพระสงฆ์ มาชุมนุมพระศรีรัตนมหาธาตุ มีการเชิญพระพุทธรูปสู่คูหาแก้วและถวายที่ดินแก่วัด ตอนท้ายอธิษฐานขอให้ได้พบพระศรีอาริย์ และฝากวัดแห่งนี้ไว้กับผู้ครองเมืองคนต่อไป

จารึกวัดตะพาน, สฎ. 5, สฎ. 5, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, จารึกวัดแวง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, หินทรายสีแดง, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, วัดตะพาน, อำเภอไชยา, จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไทย, อยุธยา, เจ้าเมืองทอง, แม่เจ้าคำศรี, เจ้าแม่ท้าวสร้อยทอง, เจ้าเถรเทพเมาลี, ขุนเลา, พระสงฆ์, ชาวเจ้า, เจ้าศรัทธาธิก, พ่อผู้เฒ่า, องค์นางเมืองผู้เฒ่า, ลูกเจ้า, ขุน, อุบาสก, อุบาสิกา, ท่านเจ้าเมือง, ขุนเลา, พระยาเจ้า, เจ้าท้าว, ท้าวเหม, ขุนน้อย, พ่อแม่ญาติกา, สรรเพชญ, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารยเมตไตรย์, เงิน, ดอกไม้, พุทธศาสนา, พระพิหาร, พระวิหาร, วัดแวง, พระคูหาแก้ว, ฉลองบุญธรรม, พระพุทธรูป, บุญ, จังหัน, ไศวรรย์สมบัติ, ไอศวรรย์สมบัติ, วันพุธ, พระศรีรัตนธาตุ, นา, สิ่งสิน, ชั่ง, กุศลผลบุญ, จำศีลภาวนา, พระราชสมบัติ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-เจ้าเมืองทอง, บุคคล-เจ้าเถรเทพเมาลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1935-1970

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/658?lang=th

34

จารึกวัดช้างล้อม

ไทยสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึก ได้กล่าวถึงพนมไสดำออกบวชในสุมม่วง การประดิษฐานพระพุทธปฎิมา การสร้างหอพระปิฎกธรรม การปลูกพระศรีมหาโพธิ ตลอดจนการบำเพ็ญกุศล และการสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา

จารึกวัดช้างล้อม, สท. 18, สท. 18, หลักที่ 106 ศิลาจารึกวัดช้างล้อม, หลักที่ 106 ศิลาจารึกวัดช้างล้อม, คำอ่านศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดช้างล้อม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดช้างล้อม พุทธศักราช 1927, ศิลาจารึกวัดช้างล้อม พุทธศักราช 1927, พ.ศ. 1927, พุทธศักราช 1927, พ.ศ. 1927, พุทธศักราช 1927, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดช้างล้อม, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, ไทย, สุโขทัย, พนมไสดำ, มหาสังฆราชาสุกลุม, สมเด็จมหาธรรมราชา, มหาเถรพุทธสาคร, มหาเถรอนุราธ, พระยาศรีเทพาหูราช, ข้าพระ, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ภิกษุ, เถรานุเถระ, เจ้าไทย, ไพร่ฟ้า, มหาเทวี, ชี, เจ้าพรมไชย, เถรเทพเมาลี, ท้าวพระยา, สาธุสัตบุรุษ, พระศรีมหาโพธิ์, วัว, โคสิ่ง, ลวดเงิน, สาด, ผม, ผลึกรัตนแก้วเขียว, พันลุ, พลุ, ลูกพันลับ, ลูกพลับ, ลูกมะพลับ, ลูกพุทธรักษา, สร้อยทอง, ผ้าสนับเชิงอาธาร, พัดสวดธรรม, จรามขัน, ฟูก, หมอน, บังงา, ประทีป, ตีนเทียน, ประธูป, กระดิ่ง, ไหดิน, ดอกไม้, เต้าปูน, สลง, พาทย์, ฆ้อง, กลอง ,แตร, สังข์, เขาควาย, ทอง, เงิน, จีวร, สลกบาตร, บาตร, ผ้านบพระ, ตะไล, แว่น, ชามลาย, ชามเล็ก, ขันกินน้ำ, ขันเชิง, เบี้ย, ข้าว, เงิน, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระพุทธรูปสำริด, พระสัมฤทธิ์, พระสำริด, ธงปะฏาก, ธงเล็ก, สุมม่วง, สิงหล, รพูญ, ลำพูน, สุโขทัย, พุทธศาสนา, หอพระปิฎกธรรม, สำนัก, พระพิหาร, พระวิหาร, กุฏิชี, กุฏิพิหารสถานธรรม, กุฏิวิหารสถานธรรม, บวช, ผนวช, การประดิษฐานพระพุทธรูป, ประดิษฐ์สถาพุทธปฏิมา, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, เนียรพาน, นิพพาน, ปีชวด, พุทธพาร, วันพุธ, สงสาร, สังสารวัฏ, ไตรสรนาถ, ราชสมบัติ, บุญ, ปรโลก, ปีมะเส็ง, เทพดาสูร, เทวดาสูร, พระอภิธรรม, บวรณมี, ปุรณมี, ศีล, พระบดจีน, ศอก, พระหิน, พระศรีรัตนธาตุ, ปาฏิหาริย์, เรือน, จังหัน, ผีพ่อ, ผีแม่, ผีพี่อ้าย, ผีพี่ยี่, ผีพี่เอื้อย, ผีลูก, ผีหลาน, ผีตะไภ้, ทาน, ตำลึง, เกวียน, กุศล, ตระกูลพงศาคณาพนม, กฤดาธิการ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1927, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรอยพระพุทธบาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอพระปิฎกธรรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธประติมา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, บุคคล-พนมไสดำ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1927

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/250?lang=th

35

จารึกวัดกำแพงงาม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 กล่าวถึง เจ้าไทยออกบวชในพระพุทธศาสนา และการบูชาพระเจดีย์ธาตุและพระบาทลักษณ์ จะต้องชำระล้างร่างกายให้สะอาดเสียก่อน ด้านที่ 2 กล่าวถึง พระนิพพานและชื่อพรหมโลกชั้นต่างๆ

จารึกวัดกำแพงงาม, สท. 13, สท. 13, ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย และอักษรขอมภาษาบาลี สมัยสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดกำแพงงาม พุทธศักราช 1893, ศิลาจารึกวัดกำแพงงาม พุทธศักราช 1893, หลักที่ 291 จารึกวัดกำแพงงาม, หลักที่ 291 จารึกวัดกำแพงงาม, พ.ศ. 1955, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 1955, พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 1955, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 1955, พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, ม.ศ. 1284, มหาศักราช 1284, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, ม.ศ. 1905, มหาศักราช 1905, แผ่นหินดินดาน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดกำแพงงาม, ตำบลสวน, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลบ้านกล้วย, ไทย, สุโขทัยล อินทรา, พรหม, เจ้าไทย, กุมาร, พระพุทธเจ้า, เจ้าเถรสัทธรรมธารารัตนาจารย์, ขุนมนตรีครูบา, อรหันต์, พระปัจเจก, พุทธศาสนา, พระเจดีย์ธาตุ, บวช, พระบาทลักษณ์, ถนน, ปีขาล, อุทร, เดือนสาม, วันพุธ, มาฆนักขัตฤกษ์, ธรรมพระวิฎกตรัย, ธรรมพระปิฏกตรัย, พระไตรปิฏก, พระเจดีย์, จักรวรรดิราชสมมติ, เนียรพาน, นิพพาน, เทพดา, เทวดา, สุทสสี, สุทัสสี, สุทสสา, สุทัสสา, อตปปา, อตัปปา, อวิหา, สุทธาวาสา, อสญญีสตตา, อสัญญีสตตา, เวหปผลา, เวหัปผลา, สุพภกิณหกา, สุภกิณหากา, อปปมานสำ, อัปมานสุภา, ปริตตสุภา, ปริตตาสุภา, อาภสรา, อาภัสสรา, อปปมานาภา, อุปมานสุภา, ปริตตาภา, มหาพรหมา, พรหมปโรหิตา, พรหมปุโรหิตา, พรหมปาริสชชา, พรหมปาริสัชชา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1955-2079, อายุ-จารึก-พ.ศ. 1955, อายุ-จารึก พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, สมัย-จารึกสมัยสุโขทัย วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1955-2079

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/266?lang=th

36

จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1

ขอมโบราณ

ได้กล่าวถึงการอุทิศที่ดินซึ่งประกอบด้วยอาศรมแห่งเดียว หรือหลายแห่ง และทาสหญิงชายตามพระราชโองการของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 จากนั้นได้กล่าวถึงขอบเขตของที่ดินซึ่งเป็นสถานที่อุทิศในคราวนี้

จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ปจ. 10, ปจ. 10, Stele Provenant de la Province de Prachinburi, (K. 991), พ.ศ. 1551, พุทธศักราช 1551, พ.ศ. 1551, พุทธศักราช 1551, ม.ศ. 930, มหาศักราช 930, ม.ศ. 930, มหาศักราช 930, ศิลา, รูปใบเสมา, จังหวัดสระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, ลักษมี, ศรีสูรยวรมัน, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ทาสชาย, ทาสหญิง, กํเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรรมเทพ, กำเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีนรปตีนทรวรมัน, โขลญสำดับ, เชษฐา, พระราชินี, ปิตุลา, บุรุษ, มารดา, วิษัย, วรีหะ, เปรียง, โขลญมุข, โขลญพลชระเลียง, สตุกกัด, หมู่บ้านกันตวรสันโตมะ, ตระพังกุเรก, ตรีณิ, หมู่บ้านตูเรีย, สำโรง, ตระพังตันโนด, ไพรกันโลง, พราหมณ์, ฮินดู, อาศรม, นฤปตีนทราลัย, การถวายทาส, การถวายที่ดิน, กัลปนา, การบริจาคทรัพย์, การบูชา, ศีลธรรม, พระราชโองการ, ที่ดิน, สวนผลไม้, พระสภาสัด, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ยอร์ซ เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1551

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/393?lang=th

37

จารึกพระศรีสูรยลักษมี

ขอมโบราณ

ข้อความจารึกด้านที่ 1 ชำรุดมาก พบเพียงข้อความข้างต้นที่กล่าวนมัสการเทพเจ้า ได้แก่ พระศิวะ และต่อด้วยการสรรเสริญพระเจ้าศรีสูรยวรมเทวะ ซึ่งยังไม่ทราบแน่ชัดว่าคือพระเจ้าศรีสูรยวรมันที่ 1 หรือพระเจ้าศรีสูรยวรมันที่ 2 ข้อความจารึกด้านที่ 2 กล่าวถึงประวัติและพระราชกิจของกัมรเตงอัญเทวี ศรีสูรยลักษมี ได้แก่การประดิษฐานเทวรูปและสร้างพระศิวลึงค์ไว้ในเมือง ข้อความจารึกดานที่ 3, 4 และขอบล่าง กล่าวถึงพระราชกิจของกัมรเตงอัญเทวี ศรีสูรยลักษมี ได้แก่การประดิษฐานเทวรูป สร้างพระศิวลึงค์ และประทานวัตถุสิ่งของ ข้าทาส ให้อยู่รับใช้เทวสถานในหมู่บ้านต่างๆ ที่ทรงประทานนั้นด้วย

จารึกพระศรีสูรยลักษมี, ขก. 22, ขก. 22, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, หินทราย, รูปใบเสมา, อำเภอพล, จังหวัดขอนแก่น, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, หริเทพ, พระหริ, พระภัทเรศวร, รูปพระปฏิมา, พระศิวลึงค์, พระศิวลิงค์, พระศรีสูรยวรมเทวะ, พระเจ้าพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระศรีสูรยวรมันเทวะ, สวามีเนทรภะ, ชญานี, นักบวช, ทาส, พระนางกานติ, พราหมณ์, ศรีสูรยลักษมี, กุลิ, ไต, ปราชญ์, บัณฑิตชน, กัมรเตงอัญเทวีศรีสูรยลักษมี, โฆยศ, กษัตริย์, มหามนตรี, พระอนุชา, โหราจารย์, ประธาน, มหาอัครชายา, พระเทวี, อาจารย์, ประธารโหราจารย์, ตำรเปง, ปะโรงเฉวง, เนก, เชน, สัตลัญไช, กัญชา, กันตาล, ต้นไม้สวรรค์, ต้นกัลปพฤกษ์, ข้าวเปลือก, ข้าวสาร, กระเชอ, ลูกศร, ทรัพย์, เศรษฐปุระ, ศตคราม, เมืองกรณะ, หมู่บ้านพระสังเก, หมู่บ้านวำชุล, ไพรกันทวาร, กันทวารวนา, ถ้ำ, แหล่งน้ำ, หมู่บ้าน, สิงหลี, ตระพาง, นาต้นเปรียง, นาเตฏเกทำ, นาต้นสำโรง, นาเลวงววึม, นาลากกาง, หมู่บ้านโฉกตราจรัญกาง, สิทธิญชัย, หมู่บ้านไตถยะ, พราหมณ์, ฮินดู, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, กัลปนา, พิธีสงกรานต์, การประดิษฐานเทวรูป, ราชสมบัติ, ฤคเวท, วิทยา, พระศิวบาท, ถลวง, ศิวาสบท, วรรณะ, กฤตติกา, วันพุธ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1565, อายุ-จารึกศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระศรีสูรยลักษมี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สร้างพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระศรีสูรยลักษมี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศตวรรษ 17

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1198?lang=th

38

จารึกพระปิฎก

ไทยสุโขทัย

ข้อความที่เหลืออยู่ 7 บรรทัด ไม่ต่อเนื่องกัน

หลักที่ 296 จารึกพระปิฎก, หลักที่ 296 จารึกพระปิฎก, พร. 4 จารึกรัตนดิลก, พร. 4 จารึกรัตนดิลก, หินชนวนสีเทา, จังหวัดแพร่, ไทย, สุโขทัย, พระศรีอาริยเมตตรัย, พุทธศาสนา, พระไตรปิฎก, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 19 ตอนปลาย

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/134?lang=th

39

จารึกพระธรรมกาย

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึก ศาสตราจารย์ฉ่ำ ทองคำวรรณ ได้ตรวจสอบในหนังสือพระธรรมกายาทิ เป็นเรื่อง พระธรรมกาย

จารึกพระธรรมกาย, พล. 2, พล. 2, หลักที่ 54 ศิลาจารึกภาษาไทยและมคธ, หลักที่ 54 ศิลาจารึกภาษาไทยและมคธ, พ.ศ. 2092, พุทธศักราช 2092, พ.ศ. 2092, พุทธศักราช 2092, หินชนวนสีเขียว, แผ่นสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดเสือ, จังหวัดพิษณุโลก, ไทย, สุโขทัย, มหาเถรศรีพงศ์, มหาพรหมกุมาร, อุบาสก, ทายก, พุทธศาสนา, ปีวอก, มาฆมาศ, ศุกรวาร, วันศุกร์, เชษฐฤกษ์, อุษาโยค, พระพรรษา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2092, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 2092

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/186?lang=th

40

จารึกป้านางเมาะ

ไทยสุโขทัย

ศิลาจารึกหลักนี้ กล่าวถึง การทำบุญให้แก่ป้านางเมาะและคำปรารถนาต่างๆ เช่น ขอให้รูปงามเหมือนนางวิสาขา ขอให้มีใจตั้งมั่นในพระรัตนตรัย ขอให้ได้บำเพ็ญเบญสาธารณะ ดั่งเมณฑกเศรษฐี เนื่องจากข้อความบางตอนชำรุดหายไปจึงไม่อาจทราบได้ว่า ผู้ใดเป็นผู้จารึก

หลักที่ 288 จารึกป้านางเมาะ, หลักที่ 288 จารึกป้านางเมาะ, สท. 56, สท. 56 , หินทราย, ทรงใบเสมา, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระอินทร์, พระพรหม, พระยม, มหาชน, ป้านางเมาะ, ผู้ชาย, อำแดงพิสาขา, อำแดงวิสาขา, เบญจกัลยาณี, เมณฑกเศรษฐี, มหาเพสสันดร, มหาเวสสันดร, พระพุทธศรีอาริยไมตรี, พระพุทธเจ้า, จักร, ข้าวตอก, ดอกไม้เงิน, ดอกไม้ทอง, เทียนเงิน, ประทีปเงิน, ประทีปทอง, เทียน, ธูป, พุทธศาสนา, นันทนาภิเสก, ทำบุญ, ดุสิตาสวรรค์, ดุสิดาสวรรค์, เมืองฟ้า, พุทธสุจจริต, น้ำธารพินทุ, พระศรีรัตนตรัย, ราคะ, เกลส, กิเลส, ปริสุทธิอุตตมะ, เทพดา, เทวดา, สาธุสัตตปุรุส, คาถา, บุณย์, บุญ, ทาน, บารมี, ปีเม็ด, ปีมะแม, ไพสาขะ, ไวสาขะ, กระเดจญุดา, กตัญญุตา, มหาธาตุ, ดวง, พุทธบูชา, ธรรมบูชา, สังฆบูชา, เบญจสาธารณ์, เคราะห์, เผ่าพันธุ์, กินนร, กรภิก, การวิก, การเวก, ปฏิฆมัคค์, สรรอิน, สักกญาณ, อันโทล, สงสารภพ, โลก, อันตรกาล, หอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, กรุงเทพมหานคร, พระศรีอารย์, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึก พ.ศ. 1935, อายุ-จารึก พ.ศ. 1947, อายุ-จารึก พ.ศ. 1935-1947, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ป้านางเมาะ, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1935-1947

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/36?lang=th

41

จารึกปราสาทหินพิมาย 2

ขอมโบราณ

เนื้อความด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระเจ้าผู้มีพระพักตร์ 4 ทิศ จากนั้นก็กล่าวถึงการซื้อทาส แลสิ่งของเพื่อถวายแด่เทวรูปในเทวสถาน ในวันบรรพวิวัสนะ และวันสงกรานต์ เนื้อความด้านที่ 2 กล่าวสรรเสริญพระเจ้าสุริยวรมันผู้มีทรัพย์มากและมีธรรมอันแน่นหนา

จารึกปราสาทหินพิมาย 2, จารึกปราสาทหินพิมาย 2, นม. 29, นม. 29, หลักที่ 59 ศิลาจารึกปราสาทหินพิมาย, หลักที่ 59 ศิลาจารึกปราสาทหินพิมาย, พ.ศ. 1589, ม.ศ. 968, พ.ศ. 1589, ม.ศ. 968, พุทธศักราช 1589, มหาศักราช 968, พุทธศักราช 1589, มหาศักราช 968, ศิลา, ใบเสมา, ปราสาทหินพิมาย, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคต, กัมรเตงชคต, พระพรหม, พระวิษณุ, มาร, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระพุทธเจ้า, ศรีสูรยวรมะ, ศรีสูรยวรมัน, ไต, ทอง, ข้าวสาร, จันลยากอรุง, ผ้า, บัลลังก์, น้ำมัน, ดอกบัว, พระบาท, ภาวะรายชื่อ, กำวิด, พราหมณ์, ฮินดู, การถวายสิ่งของและข้าทาส, การกัลปนา, มะเส็ง, บรรพทิวัสนะ, วันสงกรานต์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1579, อายุ-จารึก พ.ศ. 1589, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่องการบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระพุทธเจ้า

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1589

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/395?lang=th

42

จารึกปราสาทหินพิมาย 1

ขอมโบราณ

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ มีการกล่าวถึงฤษีนามว่า มุนีราทัศมะ ว่าเป็นผู้สร้างอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งข้อความในส่วนนี้ลบเลือนไป

จารึกปราสาทหินพิมาย 1, จารึกปราสาทหินพิมาย 1, นม. 26, นม. 26, Phimai, K. 1000, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพิมาย บ้านพิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย, เจนละ, ขอมสมัยพระนคร, ขอมพระนคร, ฤษี, มุนีราทัศมะ, ศรีเสารยยวรมม, ศรีเสารยวรมัน, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-มุนีราทัศมะ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/328?lang=th

43

จารึกปราสาททัพเสียม 2

ขอมโบราณ

ข้อความในจารึกกล่าวสรรเสริญพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 2 ว่าทรงเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งหลาย พระองค์ทรงสร้างพระศิวลึงค์ เทวรูป (พระศิวะ) และพระเทวีไว้บนภูเขา

จารึกปราสาททัพเสียม 2, จารึกปราสาททัพเสียม 2, ปจ. 8, ปจ. 8, Piedroits de Prasat Tap Siem, K. 234, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตู ปราสาททัพเสียม อ. อรัญประเทศ จ. ปราจีนบุรี, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตู ปราสาททัพเสียม อ. อรัญประเทศ จ. ปราจีนบุรี, ศิลา, หลืบประตูรูปสี่เหลี่ยม, ปราสาททัพเสียม, อำเภออรัญประเทศ, สระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอัคนี, พระจันทร์, พระอาทิตย์, กามเทพ, พระเทวี, พระอิศวร, พระลักษมี, พระหริเทวรูป: พระศิวลึงค์, รูปพระศิวะ, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, ศรีสูรยวรมัน, ศรีสูรยะ, ศรีสมร, พระเจ้าวีรวรมัน, ศรีธรณีนทรวรมัน, ธรณีนทรวรมัน, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, ปราชญ์, อาจารย์, พระราชา, พระเชษฐา, กษัตริย์, โอรส, พระมเหสี, พระมเหษี, พระภคินี, อนุชา, พระยาเนื้อ, เนื้อ, กวาง, งูสิ่งของ: มาลี, สีวิกา, สีพิกา, ยาน, ทรัพย์, ดาวทองคำ, น้ำโสม, อุบล, เครื่องประดับ, ประตู, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกายสถานที่: สวรรค์, ภูเขา, การบูชายัญอื่นๆ: ทิพยศักดิ์, มฤตยู, อสูร, รัศมี, เปลวไฟ, พระจันทร์, พระอาทิตย์, คลื่น, แสงไฟ, ท้องฟ้า, น้ำ, วาจา, อมร, เนตร, เดช, ไฟบูชายัญ, โทษ, ปฐพี, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลืบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์, เรื่อง-กษัตริย์และผู้8รองนคร, เรื่อง-กษัตริย์และผู้นครองนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, เรื่อง-การสรรเสริญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-การสร้างศิวลึงค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 17

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/412?lang=th

44

จารึกปราสาททัพเสียม 1

ขอมโบราณ

เป็นรายนามของทาส จำนวนของสิ่งของ และอาณาเขตของที่ดินที่ถวายแด่เทวรูป

จารึกปราสาททัพเสียม 1, จารึกปราสาททัพเสียม 1, ปจ. 7, ปจ. 7, Piedroits de Prasat Tap Siem, K. 234, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตูที่ปราสาททัพเสียม อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตูที่ปราสาททัพเสียม อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี, ศิลา, หลืบประตูรูปสี่เหลี่ยม, ปราสาททัพเสียม, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงค์, โฆ, ไต, กำเพรา, กำเวรา, ภัทร, ภัทระ, กันเทส, กำบิด, เถอียก, ถอยก, เศรษฐี, ชีพ พราม, กันสาน, กันสอ, กัญชาน, กันโส, มานภาคยะ, กัญชุ, กันเชส, กำบิด, วรุณ, กำไพ, กำไว, สถาน, กำโจน, เบน, เปน, จังกาส, สราคปุณยะ, กัญยุก, เสถียร, ปโรง, บโรง, ภักติยะ, วีระ, หฤทัย, อารฆะ, โคศักดิ์สิทธิ์, วัว, กระบือ, ควาย, แหวน, วุทิ, กระโถน, แจกันเงิน, อาหาร, ชันชยง, ชันเชียง, กระจก, จวารโม, ปิงขลาศาสนา: พราหมณ์, ฮินดู พิธีกรรม: การถวายทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, กัลปนา, หลักเขต, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน,, ลักษณะ-จารึกบนหลืบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 17

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/431?lang=th

45

จารึกปราสาทตาเมียนโตจ

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปไวโรจนชินเจ้า และจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล ด้านที่ 3 กล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ส่วนใหญ่เป็นรายชื่อสมุนไพร ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ต่อจากด้านที่ 3 จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้

จารึกประสาทตาเมียนโตจ, ศิลาจารึกปราสาทตาเมียนโตจ, จารึกประสาทตาเมืยนโตจ, ศิลาจารึกปราสาทตาเมืยนโตจ, สร. 1, สร. 1, Prasat Ta Man Toc, K. 375, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ยอดทรงกระโจม, ทรงยอ, ปราสาทตาเมียนโตจ, จังหวัดสุรินทร์, บ้านหนองคันนา, ตำบลตาเมียง, กิ่งอำเภอพนมดงรัก, ขอมสมัยพระนคร, พระกฤษณะ, นางลักษมี, พระลักษมี, กามเทพ, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, นางกีรติ, พระกีรติ, รูปพระชิโนรส, รูปพระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, พระสุคต, พระไวโรจนชินเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, ประชาชน, ศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมัน, พระเจ้าศรีธรณินทรวรมัน, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, โอรส, ศัตรู, สตรี, สามี, ราษฎร, นักปราชญ์, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าหญิง, แพทย์หลวง, เจ้าเมือง, โหราจารย์, บรมครู, มนตรี, ผู้ปกครองเจ้าหน้าที่, เจ้าแห่งกัมพุ, โค, วัว, เหลือบ, พระราชสิงหะ, ดอกบัว, เครื่องประดับ, รัตนะ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่องสังเวย, อาวุธ, ทรัพย์, ข้าวเปลือก, ยา, ฟืน, ข้าวสาร, เครื่องบูชาเทวรูป, เครื่องพลีทาน, เครื่องบูชายัญ, สิ่งบูชายัญ, ผลตำลึง, อาหารโค, อาหารวัว, ผ้าลายดอก, เครื่องนุ่งห่มสีแดง, เครื่องนุ่งห่มสีขาว, โอสถ, ข้าวบาร์ลีย์, ดีปลีผง, บุนนาค, จันทร์เทศ, การบูร, ไม้จันทน์, ยางสนข้น, ดอกไม้, ผลกระวานใหญ่, ขิงแห้ง, พริกไทยพันธุ์ขาว, กฤษณา, ขี้ผึ้ง, เทียนขี้ผึ้ง, น้ำผึ้ง, น้ำมัน, เนยใส, ผลกระวานเล็ก, กำยาน, เกลือ, มหาหิงคุ์, ถั่วฝักยาว, น้ำตาลกรวด, อบเชย, หญ้ากระด้าง, กิ่งไม้, น้ำกระเทียม, เปลือกกระเทียม, มิตรเทวะ, น้ำผึ้ง, พริกขี้หนู, พุทรา, น้ำดอกไม้, ผ้ายาว, ภาชนะดีบุก, ของกำนัล, สิ่งประดิษฐาน, เครื่องอุปโภคสถานที่: เชิงเขา, เมืองชยาทิตยปุระ, โรงพยาบาล, คลัง, เมืองกัมพุ, มหาสมุทร, สวรรค์, โมกษปุระ, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหาร, ศรีราชวิหาร, การรักษาพยาบาล, พิธีศราทอื่นๆ: นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, รัศมี, ราชสมบัติ, พระจันทร์, พระเวท, ท้องฟ้า, บาท, เศียร, สงคราม, แผ่นดิน, ทาน, สายน้ำ, อินทรีย์, โรค, กรรม, บุญ, อายุ, ยุค, น้ำอมฤต, เภษัช, กลียุค, เท้า, โทษ, สนาม, โลก, ร่างกาย, อายุรเวท, อัสตรเวท, ดวงจันทร์, พระวรกาย, สูรยะ, จันทระ, ธุรการ, สถิติ, โทรณะ, วันเพ็ญ, เดือนไจตระ, กุทุวะ, ปละ, ศรปะ, ภาษี, ปณิธาน, โมกษะ, นางเทพธิดา, ยักษ์, อกุศล, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 18

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/473?lang=th

46

จารึกปราสาท

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปไวโรจนชินเจ้า และจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล ด้านที่ 3 กล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ส่วนใหญ่เป็นรายชื่อสมุนไพร ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ต่อจากด้านที่ 3 จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้

จารึกปราสาท, สร. 4, สร. 4, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ยอดทรงกระโจมสถานที่พบ: อำเภอปราสาท, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, พระกฤษณะ, นางลักษมี, พระลักษมี, นางกีรติ, พระกีรติ, กามเทพ, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, พระไวโรจนชินเจ้า, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, รูปพระชิโนรส, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, ศรีชัยวรมัน, ประชาชน, พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีธรณินทรวรมันที่ 2, สตรี, ศัตรู, สามี, โอรส, แพทย์หลวง, ราษฎร, บุรุษ, นักปราชญ์, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, ศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7ยศ, ราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าหญิง, เจ้าเมือง, โหราจารย์, บรมครู, มนตรี, เจ้าแห่งกัมพุ, โค, วัว, เหลือบ, พระราชสิงหะ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่องสังเวย, ดอกบัว, เครื่องประดับ, รัตนะ, อาวุธ, ทรัพย์, ยา, ข้าวเปลือก, ฟืน, ดอกไม้, หญ้าบูชายัญ, ข้าวสาร, เครื่องบูชาเทวรูป, เครื่องพลีทาน, คลัง, เครื่องนุ่งห่ม, ผ้าสีขาว, อาหารโค, อาหารวัว, เทียนไข, กฤษณา, เทียนขี้ผึ้ง, น้ำผึ้ง, น้ำมัน, เนยใส, พริกผง, บุนนาค, จันทร์เทศ, มหาหิงคุ์, เกลือ, ผลกระวานเล็ก, กำยาน, น้ำตาลกรวด, ไม้จันทร์, ยางสนข้น, เมล็ดธานี, พริกไทย, ผักทอดยอด, อบเชย, ทารวเฉท, ใบไม้, น้ำกระเทียม, เปลือกกระเทียม, มิตรเทวะ, น้ำผึ้ง, พริกขี้หนู, น้ำพุทรา, ผ้า, ภาชนะดีบุก, ข้าวสาร, เทียนไข, เครื่องอุปโภค, สิ่งประดิษฐาน, เมืองชยาทิตยปุระ, เชิงเขา, สวรรค์, โรงพยาบาล, ราชธานี, มหาสมุทร, ภพ, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหาร, เทวสถาน, ศรีราชวิหาร, เมืองกัมพุ, โมกษปุระ, พิธีศารท, พิธีบูชายัญ, สายน้ำ, ทาน, อินทรีย์, รัศมี, ราชสมบัติ, พระจันทร์, ท้องฟ้า, พระเวท, นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, บาท, โรค, เศียร, สงคราม, แผ่นดิน, กรรม, อายุ, บุญ, น้ำอมฤต, เภษัช, กลียุค, เท้า, ร่างกาย, โลก, อายุรเวท, อัสตรเวท, เภษัช, ดวงจันทร์, ท้องฟ้า, พระหฤทัย, พระวรกาย, สูรยะ, จันทระ, สถิติ, พลีทาน, บัตร, บัตรสลาก, ธุรการ, โทรณะ, วันเพ็ญ, เดือนไจตระ, ปรัสถะ, ปละ, กุทุวะ, กัฏฏิกา, ขาริกา, ภาษี, ปณิธาน, กุศล, ครอบครัว, โมกษะ, นางเทพธิดา, ยักษ์, อกุศล, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 18

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/478?lang=th

47

จารึกบ้านวังไผ่

ปัลลวะ

เป็นจารึกที่สร้างขึ้นในโอกาสที่พระมหากษัตริย์ขึ้นครองราชย์ โดยพระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ทรงเป็นพระราชนัดดาของพระจักรพรรดิ์ ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าปฤถิวีนทรวรมัน ผู้เป็นใหญ่เสมอกับพระเจ้าภววรมันที่ 1 แต่ในจารึกไม่ได้ระบุว่า พระมหากษัตริย์ที่กล่าวถึงในจารึกนี้คือผู้ใด

จารึกศรีเทพ พช. 2, พช. 2, K. 978, จารึกวังไผ่, Wang Phai, ศิลาจารึกศรีเทพ พช./2, ศิลาจารึกศรีเทพ พช./2, Si Thep, Si Tep, ศิลา ประเภทหินภูเขาไฟบะซอลต์, เสาเหลี่ยม, บ้านวังไผ่ อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์, เจนละ, เศรษฐปุระ, พระศิวะ, พระอินทร์, พระกฤษณะ, พระอิศวร, ศรีปฤถิวีนทรวรมัน, ศรีภววรมัน, ศรีจักรวรรติน, ภววรมัน, ศิลาจารึก, พราหมณ์, ฮินดู, บรมราชาภิเษก, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, Inscriptions du Cambodge vol. VII, กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินบะซอลต์, ลักษณะ-จารึกบนเสาเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรทวารวดี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/529?lang=th

48

จารึกบ้านพังพวย

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 กล่าวถึงพระเจ้าราเชนทรวรมัน ว่าได้มีบัญชาให้บรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในเมืองวนปุระ ให้ร่วมกันดูแลเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเทวสถาน โดยถวายน้ำมัน และลูกสกา เป็นเวลา 1 ปี ส่วนในเรื่องของที่นาและพืชผลที่มีขึ้นในนานั้น ให้สิทธิแก่บรรดาข้าทาส และลูกทาส ส่วนวัวควายไม่ควรขึ้นกับโขลญวิษัย (ผู้ดูแลสถานที่) โขลญข้าว และโขลญเปรียง (ผู้ดูแลน้ำมัน) และอย่าปล่อยให้เข้าไปในที่ดินของเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเทวสถาน หากชาวบ้านไม่ทำตามคำสั่งให้จับส่งเจ้าหน้าที่ ส่วนด้านที่ 2 กล่าวถึงการมีบัญชาให้ร่วมกันดูแลเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเมือง โดยถวายข้าวสาร น้ำมัน ผลไม้ หอก ผ้า ห้ามไม่ให้โขลญวิษัยและโขลญเปรียงเข้าไปในป่า ให้อยู่คอยรับใช้บรรดาข้าราชการผู้ใหญ่ นอกจากนั้นยังมีการกล่าวถึงการตั้งที่ประชุมหรือศาล

จารึกบ้านพังพวย, ปจ. 3, ปจ. 3, Stele de Nong Pang Puey, K. 957, พ.ศ. 1484, พุทธศักราช 1484, พ.ศ. 1484, พุทธศักราช 1484, ม.ศ. 863, มหาศักราช 863, ม.ศ. 863, มหาศักราช 863, หินทรายสีแดง, บ้านพังพวย, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, บ้านหนองพังพวย ตำบลโคคลาน อำเภอตาพระยา, ขอมสมัยพระนคร, พระกํมรเตงอัญชคต, กมรเตงอัญชคต, กัมรเตงอัญชคต, พระอวธิบุคคล: กํเสตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ปาลภาควะ, ไต, ใต, ศรามพฤทธะ, ข้าพระ, โค, กระบือ, วัว, ควาย, สุภากูต, กันลาง, บัลลังก์ทอง, น้ำมัน, ลูกสกา, ที่นา, ระเงียง, สวาย, กทัมพะ, ชีศรี, พระบุณย์, ปรัตยะ, ปรัตยยะ, กํเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, เสตญอัญจตุราจารย์, โขลญวิษัย, โขลญสรู, ขโลญบรรยงก์, โขลญเปรียง, กํเสตงอัญราชกุล, เสตญอัญจตุราจารย์, โขลญ, โขลญบรยยงมุขคาป, โขลญเปรียงมุขคาบ สถานที่: วนปุระ, ลิงคปุระ, หนองสวาย, ตะโบคีรี, ตะโปคีรี, ป่ากทัมพะ, อมริยาท, หนอง, ป่าช้า, คลอง, อุทยาน, สระ, พระสภาปิโป, ธรรมะ, ธรรม, พราหมณ์, ฮินดู, กัลปนา, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, การถวายที่นา, การถวายทาส, ธุลีพระบาท, เดือนสราวณะ, วันอาทิตย์, พระราชดำรัส, ที่นา, ที่ดิน, คำพิพากษา, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึก พ.ศ. 1488, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1484

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/316?lang=th

49

จารึกทวลระลมทิม

ขอมโบราณ

กล่าวถึงการตัดสินคดีความว่าด้วยเรื่องทาส คือ เจ้าของทาสยกทาสให้ผู้อื่น แล้วปรากฏว่าทาสนั้นหนีไป แทนที่เจ้าของทาสจะแจ้งแก่ทางราชการ กลับปิดบังไว้ แล้วส่งคนอื่นไปรับใช้แทนทาสที่หนีไปนั้น และเมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้ที่เป็นเจ้าของทาสนั้นจะต้องถูกลงโทษ

จารึกทวลระลมทิม, ปจ. 6, ปจ. 6, Tuol Rolom Tim, K. 233, ศิลา, หินทรายเนื้อละเอียด, แท่งสี่เหลี่ยมชำรุด, ตำบลโคกสูง, อำเภอตาพระยา, จังหวัดสระแก้ว, กิ่งอำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, พระลำพาง, วาบ, ไต, พระกัมรเตงอัญศิวปัตตนะ, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระบาทพรหมโลก, พระกัมรเตงอัญ, โขลญสรูเชิงพนม, เรา, ทศาธิกฤต, โนส, กันเหียง, อเบ, กำบิด, กำปิด, วากเศม, ควาย, กระบือ, ศิลาจารึก, วิชัยปัตตนะ, วิชัยปัตตะ, พนมเจรง, พรหมโลก, เสตญพนมเจรง, เมืองบานทาคาร, สภาจาเรวยะ, ธุลีพระบาท, ธุลีเชิง, พระราชการ, คำประกาศทางราชการ, คดี, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-พิจารณาและตัดสินคดี, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 16

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/371?lang=th

50

จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายที่ดินแด่พระพุทธรูปไสยาสน์

จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทรายสีเทา, รูปครึ่งวงกลม, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินมาดา, ดินทารอก, พุทธศาสนา, ถวายที่ดิน, พระพุทธรูป, พระไสยาสน์, ที่ดิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1392?lang=th

51

จารึกด่านประคำ

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปไวโรจนชินเจ้า และจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล ด้านที่ 3 ชำรุด ไม่ทราบใจความ ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้

จารึกด่านประคำ, บร. 2, บร. 2, Dan Pa Kam, K. 386, ศิลาจารึกด่านปะคำ, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, ตำบลด่านประคำ, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ด่านปะคำ ตำบลปะคำ อำเภอปะคำ, ขอมสมัยพระนคร, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระกฤษณะ, พระลักษมี, พระกีรติ, กามเทพ, พระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, พระสุคต, พระไวโรจนชินเจ้า, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, เทพธิดา, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, ศรีธรณีนทรวรมัน, ศรีธรณินธรวรมัน, ศรีชัยวรมัน, พระชิโนรส, ศัตรู, สตรี, พระราชสิงหะ, ราชา, แพทย์หลวง, ราษฏร, บุรุษ, ยักษ์ยศ, มนตรี, โค, วัวสิ่ง, ดอกบัว, เภษัช, รัตนะ, เครื่องประดับ, ทาน, เครื่องสังเวย, น้ำอมฤต, รูปจำลอง, เสื้อยาว, ภาชนะ, ข้าวสาร, กฤษณา, เทียนขี้ผึ้ง, เครื่องอุปโภค, อาวุธ, สถิติ, ทรัพย์, ยา, ข้าวเปลือก, ฟืน, ดอกไม้, หญ้าบูชายัญ, พลีทาน, บัตร, สลาก, น้ำผึ้ง, กัมพุ, โมกษปุระ, ชยาทิตยปุระ, มหาสมุทร, โรงพยาบาล, สวรรค์, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนามหายาน, นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, อุเบกขา, อินทรีย์, บุญ, คุณธรรม, ภพ, กุศล, โมกษะ, อกุศล, วิหาร, อโรคยศาลา, อโรคยาศาลา, เทวสถาน, ศรีราชวิหาร, การสร้างโรงพยาบาล, การสร้างอโรคยศาลา, การสร้างอโรคยา, พระเวท, กลียุค, อายุรเวท, อัสตรเวท, รัศมี, ความเกษม, ความไม่มีโรค, ราชสมบัติ, โรค, พระจันทร์, ท้องฟ้า, บาท, แผ่นดิน, ดวงจันทร์, พระหฤทัย, พระวรกาย, ภาษี, กลางวัน, กลางคืน, สงคราม, ยุค, สูรยะ, จันทระ, โทษ, ความสุข, อำนาจ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 18

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/468?lang=th

52

จารึกดงแม่นางเมือง

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 เนื้อความอ้างถึงพระเจ้าอโศกมหาราช รับสั่งให้พระเจ้าสุนัตถวายที่นา เพื่อบูชาพระธาตุ ด้านที่ 2 กล่าวถึงรายการและจำนวนของถวาย ของพระเจ้าศรีธรรมาโศก ที่ถวายแด่พระเจ้าศรีธรรมาโศกในพระบรมโกศ จากนั้นกล่าวถึงการถวายที่นาของพระเจ้าสุนัต ที่ถวายแด่พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชในพระบรมโกศเช่นกัน ตอนท้ายได้บอกกำหนดเขตของที่นานั้นด้วย

จารึกดงแม่นางเมือง, นว. 1, นว. 1, Dong Me Nang Muong, K. 966, หลักที่ 35 ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง, หลักที่ 35 ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง, บ้านดงแม่นางเมือง, พ.ศ. 1710, ม.ศ. 1089, พ.ศ. 1710, ม.ศ. 1089, พุทธศักราช 1710, มหาศักราช 1089, พุทธศักราช 1710, มหาศักราช 1089, ศิลา, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, ดงแม่นางเมือง, ตำบลบางตาหวาย, อำเภอบรรพตพิสัย, จังหวัดนครสวรรค์, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีธรรมาโศก, กมรเตงชคต, กัมรเตงชคต, กมรเตงชคัต, กัมรเตงชคัต, พระเจ้าอโศกมหาราช, พระเจ้าสุนัต, กรุงศรีธรรมาโศก, ศรีภูวนาทิตย์อิศวรทวีป, กรุงสุนัตยศ, มหาราชาธิราช, ข้าบาทมูล, มหาเสนาบดี, ช้าง, ม้า, นาคล สิ่งสักการะ, พาน, ถ้วยเงิน, สีวิกา, พระบูชา, ข้าวสาร, ธานยปุระ, คลองหมูแขวะ, ชรูกเขวะ, ธานยปุระ, ฉทิง, คลอง, บางฉวา, ฉทิงชรูกแขวะ, โสรงขยำ, นาตรโลม, นาทรกง, คลองเปร, ศรก, บึงสดก, กํติง, กำติง, ศรุก, เขต, พุทธศาสนา, การถวายที่นา, กัลปนา, พระสรีรธาตุ, พระธาตุ, พระราชโองการ, บัญชี, วรรณ, เดือน 3, เดือน 3, วันอาทิตย์, บูรพาษาฒ, ที่นา, บูรพา, ปัศจิม, อาคเนย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1710, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, บุคคล-พระเจ้าอโศกมหาราช, บุคคล-พระเจ้าสุนัต, บุคคล-พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1710

บาลี,เขมร,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/489?lang=th

53

จารึกจันทบูร

ปัลลวะ

จารึกหลักนี้ น่าจะสั่งให้ทำโดยพระเจ้าศรีอีศานวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1158-1178) และทรงรับสั่งให้นำมาประดิษฐาน ณ เทวสถานใดเทวสถานหนึ่งในเขตอำเภอเมืองฯ จังหวัดจันทบุรี เนื่องจากปรากฏข้อความที่กล่าวว่า “ศิลาที่สกัดด้วยเหล็ก ที่พระเจ้าศรีอีศานวรมันได้พระราชทานไว้” เนื้อความโดยส่วนใหญ่ เป็นรายชื่อของทาสจำนวนมาก และ โค-กระบือ ที่พระองค์ทรงอุทิศถวายไว้ให้แก่เทวสถานนั้น

จารึกวัดทองทั่ว, จารึกวัดไชยชุมพล, จารึกวัดทองทั่ว-ไชยชุมพล, ชัยชมภูพล, จบ.3, จบ.4, จบ. 3, จบ. 4, K 502, ศิลา, วัดทองทั่ว, วัดไชยชุมพล, คลองนารายณ์, จันทบุรี, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, ศรีอีศานวรมัน, สิทธายตนะ, โปญการตัมลิงก์, อิศานวรมันที่ 1, อีศานวรมันที่ 1, อิสานวรมันที่ 1, อีสานวรมันที่ 1, อิศานวรมันที่ 1, อีศานวรมันที่ 1, อิสานวรมันที่ 1, อีสานวรมันที่ 1, พระกัมรตางอัญ, มรตาญ, มรตาญ, โกลญ, กุ, วา, มรตาง, โกลญ, อสันนะ, สุธน, สิต, รโณจรุง, มาสกันธิน, หิงเคา, รังหวญ, อังรส, อังโรก, สิ, งิ, ตขาหวะ, กะโนจ, วะโลย, นวุมี, กัมโปญ, กุนนิ, ปง, ริง, สุนทรี, ปลง, ยาง, กุยเคง, สุนธรี, ปัง, กุจิม, กันทระ, อนงค์, ยุง, หวิป, งา, โปญ, อังรส, กระบือ, ควาย, โค, วัวชื่อ, ตระปาต, ธากยุน, กัลปนา, การถวายทาส, พุทธศาสนา, มหายาน, ตรงใจ หุตางกูร, George Cœdès, Bulletin de l'École Française d’Éxtrême-Orient XXIV, Inscriptions du Cambodge vol. VII, R. C. Majumdar, Inscriptions of Kambuja, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรเจนละ-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/521?lang=th

54

จารึกกฎหมายลักษณะโจร

ไทยสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึก คือ พระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติกฏหมายลักษณะโจร

จารึกกฎหมายลักษณะโจร, สท. 17, สท. 17, จารึกวัดพระมหาธาตุ วัดสระศรี (หลักที่ 7 ก.), จารึกวัดพระมหาธาตุ วัดสระศรี (หลักที่ 7 ก.), หลักที่ 38 ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร, หลักที่ 38 ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระมหาธาตุ, วัดสระศรี, อำเภอเมือง, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระยารามราช, สมเด็จบพิตร, มหาราชบุตร, ศรีบรมจักรพรรดิ, พระยาพังเกษตรสคาบุรี, พระยาพังศรีสัชชนาลัยบุรี, พระยาพังไทวยนทีศรียมนา, พระยาทานพัง, พระราชมาตุละบพิตรมนตรีอนุชิต, เจ้าเมืองไตรตรึงส์, นักปราชญ์ราชกวี, ศรมณะพราหม, ลูกขุนมูลตวาน, ไพร่ฟ้า, จ่าข้าสุภาบดี, ข้า พระราชปรญบติ, ลูกขุนมูลนาย, ชี, บา, พระอุปัธยาจารย์, ขโมย, เจ้าบ้าน, เจ้าเมือง, เจ้าไท, ข้าผู้ใหญ่, เจ้าไทย, คหบดี, ผู้ร้าย, พระราชภักดี, ลูกส้มลูกหวาน, วัวมอ, โค, ควาย, ช้าง, ม้า, ปอฟั่น, ลูกส้ม, ลูกหวาน, เครื่องเหล็ก, หอก, ดาบ, ศรีสัชนาลัยบุรี, เมืองสุโขทัย, เชลียง, กำแพงเพชร, ทุ่งย้าง, ทุ่งยั้ง, ปากยม, สองแคว, พระนคร, พระธรรมราชสีมา, พระราชสีมา, ตาวติงสา, กำแพงเพชรบุรีศรีวิมลาสน์, จตุรงคนิกร, บุญ, สุข, โลก, พระราชโองการ, เหย้าเรือน, เมืองเล็ก, เมืองใหญ่, ถิ่นฐานบ้านนา, พีราม, วิราม, ราชศาสตร์ธรรมศาสตร์, สินไหม, ปีฉลู, ผคุนี, ผลคุนี, มนุษยธรรม, อุเบกษา, บำเหน็จ, หนี้สิน, สินจ้าง, อาชญา, โทษ, ลัก, กรรม, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19-20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติกฎหมายไทย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-พิจารณาและตัดสินคดี, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร พุทธศตวรรษที่ 19-20, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 19-20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/118?lang=th