ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2565 15:32:11 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 09:55:30 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกแผ่นทองแดงอู่ทอง

หลังปัลลวะ

กล่าวถึง พระเจ้าศรีหรรษวรมัน ผู้เป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าศรีอีศานวรมัน ได้ทรงขึ้นครองราชย์ และได้ส่งเสลี่ยงที่ประดับด้วยเพชรพลอย และคณะดนตรีฟ้อนรำ ถวายแด่เทพเจ้า

จารึกแผ่นทองแดงอู่ทอง, หลักที่ 34 จารึกแผ่นทองแดงอู่ทอง, หลักที่ 34 จารึกแผ่นทองแดงอู่ทอง, สพ. 3, สพ. 3, U Thong, K. 964, ทองแดง, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เมืองโบราณอู่ทอง, อำเภออู่ทอง, โรงเรียนอู่ทองศึกษาลัย, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ศรีธาเรศวร, พระศิวลึงค์, พระศรีมัตอมราตเกศวร, พระศรีมัตอัมราตเกศวร, ศรีหรรษวรมัน, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, ศรีอีศานวรมัน, ศรีอิศานวรมัน, พระเจ้าอีศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอีศานวรมันที่ 1, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, สิงหาสนะ, สีวิกา, รัตนะ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, การถวายสิ่งของแก่เทวรูป, ดนตรี, ตรงใจ หุตางกูร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, โบราณวิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนทองแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาเทพเจ้า, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/931?lang=th

2

จารึกแผ่นดีบุก วัดมหาธาตุ

ไทยอยุธยา

เป็นคำอุทิศส่วนกุศลจากการหล่อพระพุทธพิมพ์เท่าจำนวนวันเกิด การบูชาพระรัตนตรัย และการฟังพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ ให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย บิดา ญาติ และตนเอง โดยขอให้ตนได้ไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต เฝ้าพระศรีอารย์ และเมื่อพระองค์เสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก็ขอให้ตนได้มาเกิดในตระกูลกษัตริย์ มีปัญญารอบรู้ กล้าหาญ ฯลฯ และถึงแก่นิพพาน ตอนท้ายได้ระบุชื่อและอายุของผู้สร้างพระพิมพ์คือ พ่ออ้ายและแม่เฉา อายุ 75 ปี เนื้อหาในจารึกแผ่นนี้ทำให้ทราบถึงการสร้างพระพิมพ์ในสมัยอยุธยาว่านอกจากจะสร้างขึ้นเพื่อสืบทอดศาสนาแล้ว ยังมีขนบการสร้างให้มีจำนวนเท่ากับวันเกิดของตนเองดังเช่น พ่ออ้ายและแม่เฉา ซึ่งมีอายุ 75 ปี ได้ระบุจำนวนวันตามอายุของตนว่า “..ญิบหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยวัน..” จึงสร้างพระพิมพ์ตามจำนวนดังกล่าว (หากคำนวนตามความเป็นจริงแล้วจะพบว่าจำนวนวันเกินจากความเป็นจริงไปเล็กน้อย)

จารึกแผ่นดีบุก วัดมหาธาตุ, หลักที่ 42 จารึกแผ่นดีบุกภาษาไทย วัดมหาธาตุ, หลักที่ 42 จารึกแผ่นดีบุกภาษาไทย วัดมหาธาตุ, อย. 2, อย. 2, ดีบุก, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระปรางค์วัดมหาธาตุ, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, พ่ออ้าย, แม่เฉา, พระไมตรี, พระศรีอารย์, พระศรีสรรเพชญ์, พระพุทธเจ้า, สาธุชน, บาตร, จีพร, จีวร, พุทธศาสนา, หล่อพระพุทธพิมพ์, หล่อพระพุทธรูป, บูชาพระศรีรัตนตรัย, กัลปนา, บวช, ผนวช, พระพิมพ์, นิรพาน, นิพพาน, อธิษฐาน, กุศล, ไตรภพ, ดุสิตคัล, กษัตริย์ตระกูล, ทาน, ปราชญ์, ขพุงธรรมเทศนา, เกศ, บุญพระสัดปกรณาภิธรรม์, สัตปกรณาภิธรรม์,กเลส, กิเลส, อรหัต, พระอภิธรรม 7 คัมภีร์, พระอภิธรรม 7 คัมภีร์, สงสาร, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1917, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1, วัตถุ-จารึกบนดีบุก, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-พ่ออ้าย, บุคคล-แม่เฉา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1917 (โดยประมาณ)

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/672?lang=th

3

จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 3)

ปัลลวะ

“ลวปุระ” เป็นชื่อของเมืองโบราณ ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี

จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 3), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (อู่ทอง 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 12 (อู่ทอง 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 12 (อู่ทอง 3), Silver coin from Uthong, Lavapura coin, จารึกบนเหรียญเงินพบที่เมืองอู่ทอง, เงิน, เหรียญทรงกลมแบน, เมืองโบราณอู่ทอง, อำเภออู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ลวปุระ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร,

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1007?lang=th

4

จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 3)

ปัลลวะ

คำจารึกที่ว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปแม่โคกับบุตรนั้น ศ. ดร. ผาสุก อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “โค เป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยพลังอำนาจด้านการผลิตของธรรมชาตินี้ สัมพันธ์กับคติการนับถือพระแม่ หรือ เทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และสัมพันธ์กับคติการบูชาคช-ลักษมี (เทพีแห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์) สัญลักษณ์รูปแม่โคกับบุตร จัดเป็นหนึ่งในมงคล 108 ประการ และปรากฏบนตราประทับของกษัตริย์เมืองนคร ซึ่งเป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของอินเดีย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ และการที่กษัตริย์ทวารวดีเลือกสัญลักษณ์นี้มาใช้บนเหรียญของพระองค์ ก็เป็นเครื่องยืนยันว่าพระองค์สามารถควบคุมธรรมชาติให้มีผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท)

จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 3), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 3), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 1 (นครปฐม), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 1 (นครปฐม), นฐ. 8, นฐ. 8, เหรียญเงินมีจารึก, เหรียญตรารูปแม่วัวหันหน้าไปทางด้านซ้ายและลูกวัว, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี, silver medal-2nd type, เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, ฐานเจดีย์เก่า ห้วยจระเข้ เขตวัดพระประโทน ตำบลเนินหิน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, วัว, โค, ตรงใจ หุตางกูร, J. J. Boeles, The Journal of the Siam Society, I-Tsing, The Buddhist Religion as practised in India and the Malay Archipelago (A.D. 671-695), trans. J. Takakusu from Nam-Hai-Kia-Kui-Lai-Huab-Tung, จอง บัวเซอลีเย่, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปากร, ฉวีวรรณ วิริยะบุศย์, เหรียญกระษาปณ์ในประเทศไทย, ยอร์ช เซเดส์, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, เมธินี จิระวัฒนา, ศิลปากรม, ผาสุก อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, ฮุยลิบและงั่นจง, ประวัติพระถังซัมจั๋ง, เคงเหลียน สีบุญเรือง, ไต้ถังซือเอ็งยี่ซัมจั๋งฮวบซือตึ่ง, จารึกบนเหรียญเงิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/691?lang=th

5

จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 2)

ปัลลวะ

คำจารึกที่ว่า “ศฺรี ทฺวารวตีศฺวรปุณฺย” หรือ “พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ” เป็นการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของอาณาจักรทวารวดี ซึ่งสอดคล้องกับทั้งเอกสารจีนร่วมสมัยและโบราณวัตถุสถานที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง-ป่าสัก ในประเทศไทย ส่วนด้านหน้าของเหรียญทำเป็นรูปหม้อปูรณฆฏะนั้น ศ. ดร. ผาสุก อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ในหนังสือทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ว่า “ปูรณฆฏ หรือ กมัณฑลุ หรือ กลศ จัดเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์และสัญลักษณ์ของศิริ ตามความเชื่อของชาวอินเดียทุกศาสนา ปูรณฆฏะ คือ หม้อน้ำที่มีพันธุ์พฤกษาหรือไม่มีพันธุ์พฤกษา กมัณฑลุ คือ หม้อน้ำมีพวย และ กลศ คือ หม้อน้ำไม่มีพวย” เหรียญเงินที่มีจารึกลักษณะเช่นนี้ ปัจจุบันได้สำรวจพบแล้วในหลายพื้นที่ คือที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี) เมืองคูเมือง (จังหวัดสิงห์บุรี) เมืองพรหมทิน (จังหวัดลพบุรี) เมืองดงคอน และเมืองอู่ตะเภา (จังหวัดชัยนาท)

จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 2), จารึกเหรียญเงินทวารวดี (วัดพระประโทนเจดีย์ 2), จารึกบนเหรียญเงินประทับตราบูรณกลศ, เหรียญเงิน (รูปปูรณกลศ), Silver medal 1st type, เหรียญทวารวดี, เหรียญเงินสมัยทวารวดี, จารึกทวารวดี, เหรียญตรารูปปูรณกลศ, เหรียญมีจารึกของรัฐทวารวดี, จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 2 (นครปฐม), จารึกอักษรปัลลวะบนเหรียญเงิน 2 (นครปฐม), เงิน, เหรียญรูปกลมแบน, ฐานเจดีย์เก่า ห้วยจระเข้ เขตวัดพระประโทน ตำบลเนินหิน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, ศรีทวารวดี, หม้อปูรณกลศ, หม้อปูรณฆฏะ, ตรงใจ หุตางกูร, J. J. Boeles, The Journal of the Siam Society, I-Tsing, The Buddhist Religion as practised in India and the Malay Archipelago (A.D. 671-695), J. Takakusu from Nam-Hai-Kia-Kui-Lai-Huab-Tung, จอง บัวเซอลีเย่, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, L’Art de Dvāvaratī, ศิลปากร, ฉวีวรรณ วิริยะบุศย์, เหรียญกระษาปณ์ในประเทศไทย, ยอร์ช เซเดส์, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, เมธินี จิระวัฒนา, ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, ฮุยลิบและงั่นจง, ประวัติพระถังซัมจั๋ง, เคงเหลียน สีบุญเรือง, ไต้ถังซือเอ็งยี่ซัมจั๋งฮวบซือตึ่ง, จารึกบนเหรียญเงิน, จารึกวัดพระประโทนเจดีย์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/693?lang=th

6

จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ (สุพรรณบุรี)

หลังปัลลวะ

คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)”

จารึกเยธมฺมาฯ 7 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 7 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, สพ. 4, สพ. 4, หลักที่ 30 จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, หลักที่ 30 จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, แผ่นอิฐ, สี่เหลี่ยมผืนผ้า, บ้านท่าม่วง, ตำบลจระเข้สามพัน, อำเภออู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/150?lang=th

7

จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา

หลังปัลลวะ

คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)”

จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, รบ. 2, รบ. 2, ศิลาสีเขียว, พระพุทธรูปยืน ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, วัดเพลง, ตำบลหลุมดิน, จังหวัดราชบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ

พระอุโบสถวัดมหาธาตุวรวิหาร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/152?lang=th

8

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 2

ไทยอยุธยา

พุทธศักราช 1956 เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์และครอบครัวร่วมกันสร้างพระทอง พระเงิน และพระดีบุก

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 2, จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 2, ชน. 6, ชน. 6, จารึกเลขที่ 46/2499, จารึกเลขที่ 46/2499, หลักที่ 51 จารึกลานเงินอักษร และภาษาไทย, หลักที่ 51 จารึกลานเงินอักษร และภาษาไทย, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์, ปู่เจ้าสิงหนท, เจ้าเมือง, แม่นางสร้อยทอง, ย่าออกศรี, ย่าพระ, ย่าแม้น, แม่เอาว์, แม่สาขา, พ่อสามน้อย, แม่วัง, ปู่ญิ, พ่อไสย, แม่เพง, ชาวเจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, บรรจุพระธาตุ, เนียรพาน, นิพพาน, จัตตวารศก, จัตวาศก, เดือนสิบออกใหม่, วันพฤหัสบดี, พระทอง, พระเงิน, พระดีบุก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1956, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1956

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/655?lang=th

9

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 1

ไทยอยุธยา

พ.ศ. 1956 เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ และครอบครัว ได้บรรจุพระธาตุ และถวายสิ่งของมีค่าต่างๆ รวมถึงผู้คนแก่วัด

จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 1, จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์ 1, หลักที่ 50 จารึกอักษรไทย ภาษาไทยบนลานเงินแผ่นที่ 2, หลักที่ 50 จารึกอักษรไทย ภาษาไทยบนลานเงินแผ่นที่ 2, จารึกลานเงิน อักษรและภาษาไทย, ชน. 5, ชน. 5, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์, แม่นางสร้อยทอง, ย่าออกศรี, แม่อาม, แม่น้อย, พ่องั่ว, เจ้าเมือง, แหวน, ผ้าสนอบลาย, เสื้อ, สไบ ,ผ้าเช็ดหน้า, แท่งเงิน, พุทธศาสนา, บรรจุพระธาตุ, กัลปนา, นิพพาน, จัตวาศก, ออกใหม่, วันพฤหัสบดี, พระพิมพ์, พระทอง, พระเงิน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1956, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-เจ้าเถรศรีเทพคิริมานนท์, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1956

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/652?lang=th

10

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของสมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2, จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2, จารึกวัดมหาธาตุ, กพช. 54/2499, กพช. 54/2499, พจ. 3, พจ. 3} พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, ม.ศ. 1426, มหาศักราช 1426, ม.ศ. 1426, จุลศักราช 1426, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดพิจิตร, ไทย, อยุธยา, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จบพิตร, สมเด็จพระสังฆราชบพิตร, พระวรประสิทธิ, พระคุรุ, สัทธรรมธรรมโมลีศรีราชบุตร, พุทธศาสนา, พุทธฎีกา, สุพรรณบัฎ, อายุ-จารึก พ.ศ.2047, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลียม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรููปสี่เหลียมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2047

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/619?lang=th

11

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1

ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของสมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร

จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1, จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1, พจ. 1, พจ. 1, จารึกวัดมหาธาตุ, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จบพิตร, สมเด็จพระสังฆราชบพิตร, พระคุรุ, เจ้าเถรพุทธสาคร, พระวรประสิทธิ, ธรรมโมลี, พุทธศาสนา, พุทธฎีกา, สุพรรณบัฏ, พระราชโองการ, มะแมนักษัตร, ปีมะแม, นวมีโรจ, กัตติก, พุธวาร, วันพุธ, ศุภมหุรดี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1959, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระอินทราชา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรุูปสี่เหลียม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลียมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระสังฆราชพุทธสาคร, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1959

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/584?lang=th

12

จารึกเจ้าเถรคิริสัทธา

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงเจ้าเถรคิริสัทธาว่าได้อัญเชิญพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และอุบาสกอุบาสิกาให้ร่วมกระทำการอะไรบางอย่างซึ่งในจารึกมิได้ระบุไว้

จารึกเจ้าเถรคิริสัทธา, กท. 54, กท. 54, จารึกเลขที่ 51/2499, จารึกเลขที่ 51-2499, พ.ศ. 1958, พุทธศักราช 1958, พ.ศ. 1958, พุทธศักราช 1958, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระเป็นเจ้า, เจ้าเถรเทวคิริสัทธา, ภิกษุสงฆ์, สามเณร, บาสก, บาสี, บาเทพรังส, บาติวง, บายรัตน, บาศรีพงส, บาเท, บาแปด, บาเพง, บาไส, ชินบท, ชิไสย, ชิสามไสชวจ, ชิบวจสปาโค, โนท, บาน, บานพระปาะ, ชิบวจสตาปยาต, ชิแจม, ชิบวจส, พุทธศาสนา, เดินอกใหม่, เดือนออกใหม่, นิรวาร, นิพพาน, วันประหัสบดี, วันพฤหัสบดี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1958, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-เจ้าเถรคิริสัทธา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1958

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/581?lang=th

13

จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร

ฝักขาม

พ.ศ. 2019 เจ้าหมื่นคำเพชรขึ้นครองเมืองนคร ได้ยกพระธาตุเจ้าไว้ในลำพาง ก่อกำแพงแปลงวิหาร และสร้างพระพุทธรูป 1 องค์ จากนั้นได้จัดพิธีฉลองพระพุทธรุป ด้วยการอุทิศที่ดิน และข้าพระ โดยหวังจักได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในกาลภายหน้า

จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร, จารึกในจังหวัดลำปาง, หลักที่ 65 ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง, หลักที่ 65 ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2019, 1.6.1.1 วัดพระธาตุลำปางหลวง พ.ศ. 2019, ลป. 1 จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร พ.ศ. 2019, ลป. 1 จารึกเจ้าหมื่นคำเพชร พ.ศ. 2019, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, จ.ศ. 838, จุลศักราช 838, จ.ศ. 838, จุลศักราช 838, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนสตรีวัฒนา, เขตวัฒนา, กรุงเทพมหานคร, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนสตรีวัฒนา, เขตวัฒนา, กรุงเทพมหานคร, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นคำเพชร, พระพุทธเจ้า, สัปบุรุษ, น้ำทอง, ข้าวหนึ้ง, ข้าวเหนียว, เมืองนคร, ลำพาง, น้ำบ่อ, พุทธศาสนา, พระธาตุเจ้า, พระเจดีย์ศรีรัตนธาตุ, กินเมือง, ปกครองเมือง, ก่อกำแพง, แปลงวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, ฉลองพระพุทธรูป, แปลงศาลา, สร้างศาลา, อุทิศข้าพระ, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีตุล, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีรวายสัน, ปีระวายสัน, เดือนยี่, วันพุธ, เปลิกสง้า, เปิกซง้า, ฤกษ์, ปุนัพสุ, ครัว, บุญนวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2019, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฉลองพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง-เจ้าหมื่นคำเพชร, บุคคล-เจ้าหมื่นคำเพชร

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 2019

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2035?lang=th

14

จารึกเจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์

ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของพระรัตนโมลีศรีไตรโลกย์

จารึกเจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์, กท. 55, กท. 55, จารึกเลขที่ 4/6, จารึกเลขที่ 4/6, พ.ศ. 1986, พุทธศักราช 1986, พ.ศ. 1986, พุทธศักราช 1986, ม.ศ. 1365, มหาศักราช 1365, ม.ศ. 1365, มหาศักราช 1365, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระวรประสิทธิ, เจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์, เจ้านิสัย, พุทธศาสนา, รัตนนาม, สุพรรณบัฏ, ปีกุน, กุนนักษัตร, ษัษฐีเกต, ปุษย, พฤหัสบดี, อายุ-จารึก พ.ศ.1986, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2, วัตถุ-จารึกบนแผ่นทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-พระรัตนโมลีไตรโลกย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1986

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/586?lang=th

15

จารึกออกศรีไตร

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงบุคคลนามว่า ออกศรีไตร และญาติ ที่ได้ทำบุญด้วยการบรรจุพระทอง พระเงิน พระธาตุ หัวแหวน และดอกไม้ ลงในสถูปเจดีย์

จารึกออกศรีไตร, ชน. 12, ชน. 12, จารึกวัดส่องคบ, ลานเงินแผ่นที่ 8, ลานเงินแผ่นที่ 8, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, ออกศรีไตร, พระญาติ, หัวแหวน, ดอกไม้, พุทธศาสนา, บรรจุพระพุทธรูป, บรรจุพระธาตุ, นิพพาน, บุญ, สวรรค์สมบัติ, นิพพานสถาน, ปีใหเล้า, พระทอง, พระเงิน, พระธาตุ, ธา, พระธรรมคัมภีร์, กุศลผลบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระเจดีย์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ออกศรีไตร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/591?lang=th

16

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 4

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์องค์นี้เพื่อท่านปิณญะอุปัชฌายาจารย์

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 4, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 4, จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 4 (ฟ้าแดดสูงยาง), จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 4 (ฟ้าแดดสูงยาง), ดินเผา, พระพิมพ์, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/858?lang=th

17

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 3

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์องค์นี้เพื่อท่านปิณญะอุปัชฌายาจารย์

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 3, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 3, จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 3 (ฟ้าแดดสูงยาง), จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 3 (ฟ้าแดดสูงยาง), ดินเผา, พระพิมพ์, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/856?lang=th

18

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2

หลังปัลลวะ

เป็นข้อความสั้นๆ กล่าวแต่เพียงสังเขปว่า “พระพิมพ์องค์นี้ ปิณญะอุปัชฌายาจารย์ ผู้มีคุณเลื่องลือไกล” ซึ่งก็อาจแปลความได้ว่า พระพิมพ์องค์นี้ ท่านปิณญะอุปัชฌาจารย์ เกจิผู้มีชื่อเสียงได้สร้างขึ้นไว้สำหรับให้สาธุชนได้รับไปบูชา คติการจารึกชื่อผู้อุปถัมภ์ในการสร้างพระพิมพ์ในการสร้างพระพิมพ์ พบได้ในพระพิมพ์ดินเผาที่เมืองศรีเทพได้ด้วยเช่นกัน แต่ในกรณีนั้น เป็นชื่อของพระภิกษุชาวจีน ผู้มีนามว่า “เหวินเซียง”

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, กส. 2, กส. 2, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผาพุทธลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปางเทศนา ศิลปทวารวดี, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์,ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/850?lang=th

19

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1

หลังปัลลวะ

เป็นข้อความสั้นๆ กล่าวแต่เพียงสังเขปว่า “พระพิมพ์องค์นี้ ปิณญะอุปัชฌายาจารย์ ผู้มีคุณเลื่องลือไกล” ซึ่งก็อาจแปลความได้ว่า พระพิมพ์องค์นี้ ท่านปิณญะอุปัชฌาจารย์ เกจิผู้มีชื่อเสียงได้สร้างขึ้นไว้สำหรับให้สาธุชนได้รับไปบูชา คติการจารึกชื่อผู้อุปถัมภ์ในการสร้างพระพิมพ์ พบได้ในพระพิมพ์ดินเผาที่เมืองศรีเทพด้วยเช่นกัน แต่ในกรณีนั้น เป็นชื่อของพระภิกษุชาวจีน ผู้มีนามว่า “เหวินเซียง”

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, กส. 1, กส. 1, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผาพุทธลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปางสมาธิ ศิลปทวารวดี, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/848?lang=th

20

จารึกสุรินทร์ 1

ขอมโบราณ

กล่าวถึงข้อห้ามอย่างหนึ่งที่ใครฝ่าฝืนต้องได้รับโทษ

จารึกสุรินทร์ 1, จารึกสุรินทร์ 1, สร. 5, สร. 5, Inscription de Surin, K. 880, หลักที่ 124 จารึกจากจังหวัดสุรินทร์, หลักที่ 124 จารึกจากจังหวัดสุรินทร์, ศิลา, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, วาบ, อรชุณ, กำเสตงราชกุล, พระดำรัส, กัลปนา, พระจันทร์, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 15

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/341?lang=th

21

จารึกสิรินันทะ

ขอมอยุธยา

จารึกนี้มีข้อความที่ บุคคลนามว่า สิรินันทะ กล่าวถึงตนเองว่าเป็นปราชญ์ และได้สร้างพระพุทธรูปดีบุกไว้เป็นจำนวนมาก ท้ายจารึกเป็นข้อความที่สิรินันทะอธิษฐาน ขอให้ตนเองได้รับสิ่งที่ตนเองปรารถนา อันเนื่องมาจากผลบุญที่ได้กระทำนั้น

จารึกสิรินันทะ, อย. 22, อย. 22, หลักที่ 43 จารึกลานเงินอักษรขอม ภาษามคธ หลักที่ 43 จารึกลานเงินอักษรขอม ภาษามคธ, จารึกสิรินันทสัทธัมมทายกสร้างพระพุทธรูปดีบุก, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดมหาธาตุ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, สิรินันทะ, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, บริจาคทาน, สร้างพระพุทธรูปดีบุก, ผลบุญ, ภพ, กิเลส, ศีล, สมบัติ, กุศล, โทษ, อนาคตกาล, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-สิรินันทะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/601?lang=th

22

จารึกสด๊กก๊อกธม 1

ขอมโบราณ

เสตญอาจารย์โขลญสันดับ และเสตญอาจารย์โขลญพนม ซึ่งเป็นผู้ดูแลพระเทวรูป ได้แจ้งให้พระบุณย์มรเตญมัทยมศิวะ วาบบรม พรหม และแม่บส ให้ร่วมกันดูแลพระเทวรูป โดยการถวายข้าวสาร และน้ำมัน ตลอดหนึ่งปี นอกจากนั้นยังแจ้งพระบรมราชโองการถึง กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน ให้ใช้เจ้าหน้าที่มาตั้งหลักศิลาจารึกไว้ในเมืองนี้ และห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลน้ำมัน ริบเอาน้ำมันเป็นของตนเอง ห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเรื่องข้าว ริบเอาข้าวเป็นของตนเอง และห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเทวสถานเรียกใช้ทาสพระให้ไปทำงานอื่น ให้ใช้ทาสพระเหล่านั้น ในการดูแลพระเทวรูปและพระศิวลึงค์เท่านั้น ข้อความต่อจากนั้นเป็นรายนามทาสพระ

จารึกสด๊กก๊กธม 1, จารึกสด๊กก๊กธม 1, ปจ. 2, ปจ. 2, Stele dite de Sdok Kok Thom, K. 1087, พ.ศ. 1480, พุทธศักราช 1480, พ.ศ. 1480, พุทธศักราช 1480, ม.ศ. 859, มหาศักราช 859, พ.ศ. 859, พุทธศักราช 859, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านสระแจง, ตำบลโคกสูง, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, อำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, ปรเมศวร, ศิวลิงค์, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงค์, ศิวลึงค์, มรเตญมัทวยมศิวะ, วาบ, วีเรนทรวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บรม, พรหม, แม่บส, กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน, โฆ, ควาล, ข้าพระ, คนบำเรอ, ไต, ข้าวสาร, น้ำมัน, สรุ, ข้าวเปลือก, ศิลาจารึก, โขลญ, โขลญพนม, โขลญสรู, โขลญวิยะ, โขลญวรีหิ, โขลญวริหิ, พระบุณย์, ปรัตยยะ, เสตญอาจารย์โขลญสันดับ, เสตญอาจารย์โขลญพนม, พระกัมรเตงอัญ, ปรัตยยะ, ปรัตยะ, ปรัตยยะเปรียง, ปรัตยะเปรียง, วิษัย, วิปย, สันดับถะเมียง, กำบิด, ถะเกบ, สระเง, ชมะ, กันโส, ฉะโนง, เทวยาณี, สุภาสา, สรจา, องโอง, ละคาย, กำบิด, ถะเกบ, กันเดม, กันจน, กำไพ, เสน่ห์, สรัจ, เทวทาส, สำอุย, อนี, ดังกุ, ธุลีพระบาท, ธุลีเชง, พระราชดำรัส, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ.1480, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าวสาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายน้ำมัน, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-เสตญอาจารย์โขลญสันดับ, บุคคล-เสตญอาจารย์โขลญพนม, บุคคล-พระบุณย์มรเตญมัทยมศิวะ, บุคคล-วาบบรม, บุคคล-พรหม, บุคคล-แม่บส, บุคคล-กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจ 7 พฤศจิกายน 2563)

พุทธศักราช 1480

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/310?lang=th

23

จารึกศรีชยสิงหวรมัน

หลังปัลลวะ,ขอมโบราณ

ข้อความกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ (พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน) ว่าได้ทรงสร้างประโยชน์ให้แก่ชาวเมืองศุรปุระ และได้ทรงให้ทหารจำนวนหนึ่งขุดสระเพื่อทำการบูชาต่อพระศิวลึงค์

จารึกศรีชยสิงหวรมัน, มป. 9, มป. 9, ศิลา, ใบเสมาชำรุด, จำปา, จามปา, พระศิวลึงค์, ศรเสฏฐปุโรหิต, ศรีชยสิงหวรมันชื่อ, ศุรปุระ, พราหมณ์, ฮินดู, นรก, อเวจี, เทวคีรี, การขุดสระ, การสร้างสระ, นวพรรณ ภัทรมูล, จตุพร ศิริสัมพันธ์, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ขุดสระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรจามปา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรจามปา-พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน, บุคคล-พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศตวรรษ 14

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/935?lang=th

24

จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม

ฝักขาม

เจ้าสี่หมื่นเมืองพะเยาให้ฝังหินใหญ่สี่ก้อนไว้รอบบริเวณอารามทั้งสี่มุมให้เป็นหินคู่บ้านคู่เมือง แล้วประกาศให้ช่วยกันรักษาหินนี้มิให้หักหรือถูกทำลาย

พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, หมื่นบาน, หมื่นพรม, หมื่นล่ามนา, พันเด็กชาย, สี่พันเชิงกูดี, นายร้อย, เจ้าเหนือหัว, เจ้าสี่หมื่น, เจ้าไท, เจ้านาย, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, เจ้าเหนือหัว, สัปปุริส, สี่พันเชิงคดี, สัปปุรุษ, พุทธศาสนา, โลกติลกสังฆาราม, ฝังหิน, กินเมือง, อุปาจาร, แจ่ง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังหินคู่บ้านคู่เมือง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1746?lang=th

25

จารึกวัดเสมาเมือง

หลังปัลลวะ

ด้านที่ 1 เนื้อความตอนต้นเป็นการสรรเสริญความยิ่งใหญ่ของพระเจ้ากรุงศรีวิชัย ช่วงต่อมากล่าวถึงพระบรมราชโองการให้พระเถระนามว่าชยันตะ สร้างปราสาทอิฐ 3 หลัง เพื่อถวายให้เป็นที่ประทับแด่พระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และ พระโพธิสัตว์วัชรปาณี ต่อมาเมื่อชยันตเถระมรณภาพ ลูกศิษย์ของท่านคืออธิมุกติเถระ ได้สร้างปราสาทอิฐขึ้นอีก 2 หลัง ใกล้ๆ กัน ส่วนด้านที่ 2 นั้น กล่าวว่า พระเจ้ากรุงศรีวิชัยพระองค์นี้ พระนามว่า “ศรีมหาราชา” เป็นมหากษัตริย์ในไศเลนทรวงศ์ ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งปวง เปรียบได้ดั่งพระวิษณุองค์ที่ 2

จารึกวัดเสมาเมือง, หลักที่ 23 ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง, หลักที่ 23 ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง, นศ. 9, นศ. 9, พ.ศ. 1318, ม.ศ. 697, พุทธศักราช 1318, มหาศักราช 697, พ.ศ. 1318, ม.ศ. 697, พุทธศักราช 1318, มหาศักราช 697, ศิลา, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเสมาเมือง, ตำบลเวียงศักดิ์, จังหวัดนครศรีธรรมราช, ศรีวิชัย, พระพรหม, พระมนู, อาทิตย์, พระวิษณุ, พระศิวะ, พระอินทร์, พระเจ้ากรุงศรีวิชัย, พระมุนี, พระโพธิสัตว์, พระยามาร, พระชินราช, พระชินะ, พระราชสถวิระ, อธิมุกติ, ศรีวิชเยนทรราชา, พระราชาสามนต์, พระราชาศรีวิชเยนทร, ชยันตะ, เทวราช, พระราชาคณะ, ต้นมะม่วง, ต้นพิกุล, พระยานาค, ปลาอานนท์, แก้วมุกดา, เพชร, พลอย, นาค, วชิระ, ทยา, แก้วมณี, ลูกศร, ไฟ, จินดามณี, หิมาลัย, ปราสาท, พระเจดีย์, พุทธศาสนามหายาน, พระคุณประสิทธิ, วินัยคุณ, เศารยคุณ, สรุตคุณ, ศมคุณ, กษมาคุณ, ไธรยคุณ, ตยคคุณ, ทยุติคุณ, มติคุณ, ทยคุณ, พระธรรม, ปทุมปาณี, วัชรปาณี, ไตรโลก, นยะ, วินยะ, เศารัยะ, ศรุตะ, ศมะ, กษมา, ไธรัยยะ, ตยาคะ, ทยุติมติ, อมตบท, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1318, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีวิชัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีวิชัย-ศรีมหาราชา, บุคคล-พระเจ้ากรุงศรีวิชัย, บุคคล-ศรีมหาราชา, บุคคล-ชยันตะ, บุคคล-อธิมุกติเถระ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1318

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/323?lang=th

26

จารึกวัดเขากบ

ไทยสุโขทัย

ด้านที่ 1 เป็นเรื่องสร้างรามเจดีย์และรามวิหาร ที่รามอาวาสบนยอดเขาสุมนกูฏ คือเขากบนั้นเอง ผู้สร้างพระเจดีย์และวิหาร ขออุทิศส่วนกุศลให้พระยาพระราม ผู้เป็นน้อง ชื่อผู้สร้างไม่ปรากฏในคำจารึก หรือบางทีอาจปรากฏอยู่ในท่อนที่หักหายไปก็ได้ แต่สันนิษฐานได้โดยง่าย เพราะในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ มีความปรากฏว่า “ศักราช 781 กุนศกมีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า นฤพาน และเมืองเหนือทั้งปวงเป็นจลาจล แล้วจึงเสด็จขึ้นไปเถิงเมืองพระบาง ครั้งนั้นพระยาบาลเมือง และพระยามรามออกถวายบังคม” ดังนี้ สันนิษฐานว่า พี่ของพระยาพระรามเห็นจะเป็นพระยาบาลเมืองนั่นเอง พระรามเจดีย์ พระรามวิหาร และศิลาจารึกหลักนี้จะได้สร้างและจารึกทีหลัง จ.ศ. 781 หรือ พ.ศ. 1962 ด้านที่ 2 เห็นจะได้จารึกภายหลังด้านที่ 1 เป็นเรื่องผู้ใดผู้หนึ่งไม่ปรากฏชื่อ ได้บำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ แล้วแวะไปเที่ยวเสาะแสวงหาพระธาตุจนถึงเมืองอินเดียและลังกา แต่จะได้จารึกภายหลังกี่ปี ไม่ปรากฏชัด

จารึกวัดเขากบ, นว. 2, นว. 2, หลักที่ 11 ศิลาจารึกเขากบ เมืองปากน้ำโพ, หลักที่ 11 ศิลาจารึกเขากบ เมืองปากน้ำโพ, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, พุทธสถาน, เขากบ, ปากน้ำโพ, จังหวัดนครสวรรค์, ไทย, สุโขทัย, พระราม, พระยามหาธรรม, พระยา, ท้าว, สงฆ์, พระพุทธเจ้า, พระพุทธศรีอารยไมตรี, พระศรีมหาโพธิ์, บัว, ช้าง, ข้าว, ดอกไม้, น้ำมัน, จอมเขาสุมนกูฏ, นครสระหลวง, ศรีสัชนาลัย, สุโขทัย, ฝาง, แผล, ระพุน, แพร่, ลำพูน, เชียง, ตาก, นครพัน, กลิงคราฐ, ปาตลิบุตร, นครตรีโจลมัณฑลา, มัลลราช, ลังกาทีป, ลังกาทวีป, พระมหานครสิงหล, ตะนาวศรี, สิงหลทีป, สิงหลทวีป, เพชรบุรี, ราชบุรี, อโยธยา, ศรีรามเทพนคร, ตระพัง, มหาสะพาน, สอรพินรุณาส, บาดาล, รัตนกูดานครไทย, กัมพงคลอง, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, พระมหารัตนธาตุ, เจดีย์, รามเจดีย์, รามวิหาร, พิหาร, รามอาวาส, พระเจดีย์พระศรีรัตนธาตุ, การก่อเจดีย์, กัลปนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การปลูกพระศรีมหาโพธิ, ไม้, ก้อนหิน, ก้อนผา, พุทธปฏิมา, ธรรม, บุญ, เทพดาอารักษ์, ยศ, โลก, ทศบารมี, สมภารบารมี, อธิษฐานบารมี, มหาประทีป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19-20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระยาพระราม, บุคคล-พระยาบาล, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 19-20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/215?lang=th

27

จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 1

ขอมโบราณ,กวิ

กล่าวถึง พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช ผู้ครองเมืองตามพรลิงค์ และสืบตระกูลจากปทุมวงศ์ ว่าทรงเป็นกษัตริย์ที่สนับสนุนพระพุทธศาสนา ทรงมีรูปงาม และทรงเชี่ยวชาญในนิติศาสตร์

ตามพรลิงค์, ตามพฺรลิงค์, พระพุทธศาสนา, พุทธศาสนา, ปทุมวงศ์, กามะ, พระจันทร์, จันทร์, นีติศาสตร์, นิติศาสตร์, พระธรรมาโศกราช, ธรรมาโศกราช, ศรีธรรมราช, พระอาทิตย์, อาทิตย์, จันทรภานุ, กลียุค, พุทธศักราช 1774, พุทธศักราช 1774, พ.ศ. 1774, พ.ศ. 1774, ศิลา, ประเภทหินชนวน, รูปใบเสมา, สฎ. 4, สฎ. 4, หลักที่ 24 (ข.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, หลักที่ 24 (ข.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 1, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 1, วัดเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี, กลียุคศักราช 4332, กลียุคศักราช 4332, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1774, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตามพรลิงค์, บุคคล-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1774

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/507?lang=th

28

จารึกวัดส่องคบ 4

ขอมอยุธยา

เป็นรายนามผู้มาร่วมทำบุญ

จารึกวัดส่องคบ 4, จารึกวัดส่องคบ 4, ชน. 7, ชน. 7, จารึกเลขที่ 50/2499, จารึกเลขที่ 50/2499, ลานเงินแผ่นที่ 4, ลานเงินแผ่นที่ 4, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, ปู่ไส, อ้ายมวย, นางติ, อารัตน, อ้ายโจม, แม่แจชา, นายพันเมข, แก้วอาม, แม่นาง, อ้ายจัง, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, บัณฑิตพุต, โยหอม, เจ้าแม่เวง, แม่ขอ, แม่อก, แม่เอต, อ้ายดีเทพ, สามไกร, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/588?lang=th

29

จารึกวัดส่องคบ 3

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

พ่อยี่และแม่สร้อย มีศรัทธาสร้างเจดีย์ขึ้นองค์หนึ่ง มีการบรรจุพระทอง พระเงินและพระดีบุกรวมถึงทรัพย์สิ่งของอื่นๆ อีกหลายอย่าง นอกจากนี้ยังให้หลานบวชเป็นภิกษุและลูกชายบวชสามเณร โดยตั้งความปรารถนาให้ตนได้พบพระศรีอารย์ บรรลุโสดาปัตติผล และเข้าสู่นิพพาน ฯลฯ

จารึกวัดส่องคบ 3, จารึกวัดส่องคบ 3, จารึกอักษรไทย ภาษาไทย บนลานเงิน แผ่นที่ 1 พ.ศ. 1916, จารึกอักษรไทย ภาษาไทย บนลานเงิน แผ่นที่ 1 พ.ศ. 1916, หลักที่ 44 จารึกลานเงินอักษร และ ภาษาไทย, หลักที่ 44 จารึกลานเงินอักษร และ ภาษาไทย, ชน. 4, ชน. 4 , พ.ศ. 1976, พุทธศักราช 1976, พ.ศ. 1976, พุทธศักราช 1976 , เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า , เจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท , ไทย, อยุธยา, เจ้าสัทธรรมมหาเถรศาสนา, มหาอุบาสกอุบาสิกาญาติกา, พ่อยี่ตัดผม, แม่สร้อย, พระบาสกบาสิกา, พระทองยา, พระศรีอาริยไมตรีโพธิสัตว์, เจ้าสุนทร, พ่อรัตน์, แม่เทศ, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารย์, พระพุทธเจ้า, สงฆ์, ภิกษุ, สามเณร, เงิน, ทอง, ผ้าผ่อน, ผ้าเช็ดหน้า, ผ้ากะแส, ผ้ากระแสง, ผ้ากรรแสง, สไบ, ผ้ากำม้า, ผ้าขาวม้า, ธงปฏาก, พุทธศาสนา, กุฏิ, พิหาร, วิหาร, อุบาสก, อุบาสิกา, พระเจดีย์, ศาลา, เสาธง, ทำบุญ, จำศีล, ภาวนา, บวช, ก่อพระเจดีย์, นิพพาน, พระพุทธรูป, พระทอง, พระเงิน, พระดีบุก, โสดาปัตติผล, กรรม, ทาน, โทศก, นักษัตรปีจอ, ตรีศก, ออกใหม่, พฤหัสบดี, ศอก, อาหาร, ปรีชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1976, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-อุปสมบท, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พ่อยี่, บุคคล-แม่สร้อย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1976

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/661?lang=th

30

จารึกวัดส่องคบ 2

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการร่วมประดิษฐานประธาตุ บรรจุพระพุทธรูปที่ทำด้วยเงินและทอง

จารึกวัดส่องคบ 2, จารึกวัดส่องคบ 2, ชน. 8, ชน. 8, จารึกเลขที่ 49/2499, จารึกเลขที่ 49/2499, จารึกลานเงินแผ่นที่ 5, จารึกลานเงินแผ่นที่ 5, จารึกลานเงินวัดส่องคบ, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, พระคงคา, แม่สันแก้ว, พ่อสาม, แม่เพ็ญ, เจ้าเถรเทพย์, พ่ออยู่, ผู้เฒ่า, เจ้ากู, ผ้า, เสื้อ, แหวนทอง, หัวแหวนทองฟ้า, พุทธศาสนา, เจดีย์, พระธาตุ, พระมหาธาตุ, จรองพระมหาธาตุ, ฉลองพระมหาธาตุ, ฉลองพระธาตุ, บรรจุเจดีย์, พระพิมพ์, พระทอง, พระเงิน, พระพุทธรูป, สวรรค์, กุศล, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/624?lang=th

31

จารึกวัดส่องคบ 1

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงเจ้าเมืองนามว่า ขุนเพชญสาร ที่ได้ทำบุญด้วยการบริจาคข้าวของเงินทอง และข้าทาสจำนวนมากแก่วัด

จารึกวัดส่องคบ 1, จารึกวัดส่องคบ 1, ชน. 13, ชน. 13, จารึกเลขที่ 44/2499, จารึกเลขที่ 44/2499, หลักที่ 48 จารึกลานทองวัดส่องคบ, หลักที่ 48 จารึกลานทองวัดส่องคบ, ลานเงินแผ่นที่ 9, ลานเงินแผ่นที่ 9, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, กษัตริย์, พระศาสดาบพิตร, พระพุทธเจ้า, พระธรรมอริยสงฆ์ เจ้าเมืองขุนเพชญสาร พระมหาเถรศีลคำคำพีรย, ครูเจ้า, ออกศรีมาดา, พนิดา, แม่นางสร้อยทอง, มหาพนิดาพิจิตร, แม่นางศรีมูล, แม่นางพัว, ชาวแม่, พระสงฆ์, ขุนหลวงพระศรีแก้ว, แม่นางจกง, เจ้าชาวทานบาเรือง, ชาวเจ้า, พ่อตาแม่ยาย, อ้ายแก้ว, พ่อไว, ชียี่, เพชศักดิ์, อ้ายเจ้ายี่, กะอีลัง, กะอามน้อย, อามเสน, ชีอ้าย, ยี่ช้าง, พระมหาเถรธรรมบุตร, เจ้าสามีหรพงศ์, ปู่สิธ, พระพุทธศรีอาริยไมตรี, ปิ่นเกล้า, ทองมกุฎ, ผ้าขาว, พิจิตรพัสตร์, ผกาแก้วเกด, กรุงไชยสถานนาม, ศรีสุพรรณภูมิ, ศรีอโยธยา, นครพระราม, พุทธศาสนา, สถานบากุลเทพ, กุฏิพิหาร, วิหาร, พระดิษฐานพระธาตุ, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระศรีรัตนธาตุ, บวช, ทำบุญ, มาร, ดิน, ฟ้า, พระยศ, พระเกียรติ, พระคุณ, โลกากร, ปริญามหาเพียร, มหาศรัทธา, ปีชวด, นักษัตรสัมฤทธิศก, ไพสาข, วันอาทิตย์, เอกาทศเกต, กุศล, ทาน, เรือน, ตำลึง, บุญ, อสงไขยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1951, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระรามราชาธิราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เจ้าสามีหรพงศ์, บุคคล-ขุนเพชญสาร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพรกศรีราชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมือแพรกศรีราชา-ขุนเพชญสาร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1951

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/578?lang=th

32

จารึกวัดศรีชุม

ไทยสุโขทัย

จารึกหลักนี้ เป็นคำสรรเสริญสมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุณี ศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า ซึ่งเป็นบุตรของพระยาคำแหง (พระราม) เป็นหลานของพ่อขุนผาเมือง แต่ผู้แต่งจารึกหลักนี้ เห็นจะไม่ใช่พระมหาเถรนั้น เป็นผู้อื่น ผู้ใช้คำว่า “กู” ในด้านที่ 2 ตั้งแต่บรรทัดที่ 45 ไป แต่ผู้แต่งนั้นจะชื่ออะไรไม่ปรากฏ บางทีจะได้ออกชื่อไว้ในตอนต้นของจารึกหลักนี้แล้ว แต่ตอนต้นชำรุดเสียหมดอ่านไม่ได้ คำจารึกหลักนี้แบ่งออกเป็นหลายตอน คือ ตอนที่ 1 (ด้านที่ 1 บรรทัดที่ 1 ถึง 7) ชำรุดมาก แต่เข้าใจว่าเป็นคำนำมีชื่อพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ตอนที่ 2 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 8 ถึง 20) เป็นประวัติของพ่อขุนศรีนาวนำถม ตอนที่ 3 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 21 ถึง 41) เป็นเรื่องพ่อขุนผาเมืองตั้งราชวงศ์สุโขทัยและเรื่องราชวงศ์สุโขทัย ตอนที่ 4 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 41 ถึง 52) เป็นคำสรรเสริญพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ตอนที่ 5 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 53 ถึง 61) เป็นเรื่องอิทธิปาฏิหาริย์ในการเสี่ยงพระบารมี โดยวิธีอธิษฐานต่างๆของพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ตอนที่ 6 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 61 ถึง ด้านที่ 2 บรรทัดที่ 5) ในตอนนี้เป็นประวัติของสมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ เมื่อยังอยู่ในคิหิเพศ แบ่งออกเป็นสามพลความคือ ก.(ตั้งแต่บรรทัดที่ 61 ถึง 75) เป็นเรื่องเจ้าศรีศรัทธาฯ ทรงทำยุทธหัตถี (ชนช้าง) กับขุนจัง ข. (ตั้งแต่บรรทัดที่ 76 ถึง 79) เป็นเรื่องประวัติเมื่อเจ้าศรีศรัทธาฯ ทรงเจริญวัยเป็นหนุ่ม ค. (ตั้งแต่บรรทัดที่ 79 ถึงด้านที่ 2 บรรทัดที่ 5) เป็นเรื่องเจ้าศรีศรัทธาฯ ได้ทรงศึกษาศิลปวิทยาต่างๆ แล้ว และทรงเบื่อหน่ายในฆราวาสวิสัย แลมีศรัทธาเลื่อมใสออกผนวชในพระพุทธศาสนา ตอนที่ 7 (ตั้งแต่ด้านที่ 2 บรรทัดที่ 6 ถึง 19) เล่าเรื่องมหาเถรศรีศรัทธาฯ ได้บำเพ็ญการกุศลแลสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ตอนที่ 8 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 20 ถึง 48) เป็นเรื่องพระมหาเถรได้ปฏิสังขรณ์วัดมหาธาตุเมืองสุโขทัย ตอนที่ 9 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 49 ถึงบรรทัดสุดท้าย) เป็นเรื่องแสดงปาฏิหาริย์ของพระธาตุต่างๆ ในเมืองสุโขทัย

หลักที่ 2 ศิลาจารึกวัดศรีชุม, หลักที่ 2 ศิลาจารึกวัดศรีชุม, สท. 2, สท./2, สท. 2, สท./2, หินดินดาน, แผ่นรูปใบเสมา, อุโมงค์วัดศรีชุม, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระหริะ, พระอินทร, พระกฤษณ์, พระนารายณ์, สมเด็จพระตถาคต, สมเด็จพระมหามุนีศรีมหาทันตธาตุ, สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลงกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า, เจ้าศรีศรัทธาจุฬามุนี, พระศรีราชจุฬามุนีเป็นเจ้า, พระยาศรีนาวนำถุม, พ่อขุนศรีนาวนำถุม, พ่อขุนนำถุม, พระยาศรีนาวนำถม, พ่อขุนศรีนาวนำถม, พ่อขุนนำถม, พระยาผาเมือง, พ่อขุนผาเมือง, พ่อขุนศรีอินทราทิตย์, ศรีอินทรบดินทราทิตย์, กมรแดงอัญผาเมือง, พ่อขุนบางกลางหาว, พ่อขุนกลางหาว, ศรีอินทราบดินทราทิตย์, พ่อขุนรามราช, พระยาคำแหงพระราม, ชาวสีหล, ขุนยี่ขุนนาง, ขุนลุนตาขุนดาขุนด่าน, พ่อขุนดาย, ขอมสมาดโขลญลำพง, กมรแดงอัญผาเมือง, กมรเตงอัญผาเมือง, กัมรเตงอัญผาเมือง, ผีฟ้า, เจ้าเมือง, นางสุขรมหาเทวี, พ่อขุนรามราช, ธรรมราชาพุล, ท้าวพระยา, อาจารย์พรนธิบาล, กษัตราธิราช, ผู้เฒ่าผู้แก่, พระพุทธเจ้า, คฤหัสถ์, ควาญช้าง, สมเด็จธรรมราชา, ท้าวอีจาน, ขุนจัง, ราชกุมารพัตร, เขมรดง, คนหนดิน, คนเดินเท้า, คนเดินดิน, พลเดินเท้า, พระพุทธมหาอุดม, อุปัฏฐาก, พระมหาเถรานุเถร, ภิกษุสงฆ์, เจ้าราชกุมาร, หน่อพุทธางค, บริพาร, สังฆเถร, อมาตยราชเสนา, อุบาสก, อุบาสิกา ต้นไม้: พระศรีมหาโพธิ, ไม้กระทิง, อ้อย, ต้นโพธิ์, ไม้กทิง, เนาวรัตนพระศรีมหาโพธิ, ต้นไม้อินทรนิลสัตว์: ช้าง, ม้า, แพะ, หมู, หมา, เป็ด, ไก่, ห่าน, นก, ปลา, เนื้อ, กวาง, ช้างสราย, ราชสีห์, นาคราช, เผิ้ง, ผึ้ง, ใบพง, พระขรรค์ชัยศรี, หมอนแพร, ปืน, ธนู, แหวน, ปูน, เกวียน, กระยาทาน, บาตร, ค้อน, ปืน, จอบ, นม, เรือนผ้า, ผ้าแดง, ผ้าเหลือง, ผ้าดำ, ผ้าเขียว, ผ้าขาวเลื่อม, สา, ไตรกระยาทาน, พาร, มรกต, หิน, มนีรัตน, มณีรัตน, ประพาล, รัตนแก้ว, แหวน, ดอกไม้, อิฐ, มาส, ทอง, ล้อ, ดอกซ้อน, ดอกพุด, กลองเงิน, โกศทอง, ลูกหมาก, ท่อนอ้อย, กงจักร, ธชปฏากทีปธูปคันธมาลา, จรวดสวาย, ช่อมะม่วง, ธง, ธงปฎาก, ประทีป, ของหอม, ดอกไม้หอม, ลงกาทีป, ลงกาทวีป, ลังกาทีป, ลังกาทวีป, เมืองกำพไล, นครสรลวงสองแคว, นครสระหลวงสองแคว, นครสุโขทัย, เมืองสุโขทัย, นครศรีสัชนาลัยสุโขทัย, นครศรีเสชนาไลสุโขทัย, เมืองศรีเสชนาไล, เมืองศรีสัชนาลัย, เมืองฉอด, เวียงเหล็ก, ละพูน, ลำพูน, เชียงแสน, พยาว, พะเยา, ลาว, เมืองศรีโสธรปุระ, กุดานครกำพงครอง, ตลาดซื้อสัตว์,มฌิมเทศ, ปาตลีบุตรนคร, เขาสุมนกูฏ, ฝั่งน้ำมาวลิกคงคา, ป่าแขม, เมืองเชลียง, เมืองใต้ออก, เมืองราด, เมืองลุม, บ้าน, เมืองออกหลวง, เมืองบางยาง, บางขลง, นครสิงหล, ศรีรามเทพนคร, กุดานครกำพงครอง, ป่าแขมเงือด, บางฉลัง, มหาสะพาน, สวนหมาก, สวนพลู, เขานางตาย, นครพระกฤษณ์, โป่งปูน, มฌิมประเทศ, ปาตลีบุตรนคร, ฝั่งน้ำอโนมานที, เขาไกรลาส, มหาสมุทร, น้ำคงคา, อารญิก, โหนั่ง, หอนั่ง, ราทบูรมหานครศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: พระทันตธาตุสุคนธเจดีย์, พระศรีรัตนมหาธาตุ, ศรีธานยกฏกาเจดีย์, ศรีธาญกดกา, พิหารอาวาส, มหาตำหนักศาลามหาตร, พระมหาธาตุหลวง, พระนลาตธาตุ, พระคีวาธาตุ, พระทักขินอักขกธาตุ, พระเจดีย์, พิหารอาวาส, วิหารอาวาส, ศาลามหาตรพังมหาเจดีย์, พระธม, มหาพิหารใหญ่, พระเกศาธาตุ, พระบริโภคธาตุ, มหิมายังคณะมหาเจดีย์, บัลลังก์พระมหาธาตุ, พระเกศธาตุ, เจดีย์ทอง, สุวรรณเจดีย์พิธีกรรม: การประดิษฐานพระธาตุ, การประดิษฐานพระมหาธาตุ, ต่อหัวช้าง, การชนช้าง, การอภิเษก, ภิเนษกรม, ออกบวช, ตักน้ำล้างตีน, เผาหม้อเผาไหอื่นๆ: อีแดงพุะเลิง, ศึก, สิน, บุญ, ทาน, บิณฑิบาต, บิณฑบาต, จำศีล, ลูกหมากรากไม้, ภาษา, โพธิสมภาร, พุทธประติมา, ธนุศิลป, บาป, สุข, ทุกข์, จังหัน, ฉัพรังสี, อูบาทยาย, อุปัชฌาย์, รัตนภูมิ, กุศล, สรรเพญุเดญาณ, สัพพัญญุตญาณ, ธรรมบูรา, ไร่, นา, เดือนดับ, เดือนเพ็ญ, วันอุโบสถปวารณา, พระพุทธรูป, มหาพุทธรูป, เกวียน, สงสารภพ, เมตไตรโยโคตโมคาถา, มหานิทาน, พระพุทธรูปหิน, บุญสมภาร, รัสมี, รัศมี, ดวงดาว, บุษบธาร, จักรพาล, จักรวาล, ตะวัน, พระอาทิตย์, ฉัพพรรณรังสี, เลือง, ดำ, เขียว, ขาว, โลกธาตุ, ประทักษิณ, กงเกวียนแก้ว, เบญจางค, อธรรม, ธุดงคลีลา, พุทธรูปมุนี, วันสิ้นเดือน, สันท, ลวดลาย, ตรุก, จีน, พรรณ, ฝน, ชัง, ชงฆ, แข้ง, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม), ยอร์ช เซเดส์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19-20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุณี ศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า, เรื่อง-ประวัติศาสตร์-เมืองสุโขทัย, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-ขุนผาเมือง, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-พ่อขุนศรีนาวนำถม, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-พระยาคำแหง, เรื่อง-การสรรเสริญ-สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดมหาธาตุ สุโขทัย, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-ขุนผาเมือง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนศรีนาวนำถม, บุคคล-สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุณี ศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-ขุนจัง, บุคคล-พ่อขุนผาเมือง, บุคคล-พ่อขุนศรีนาวนำถม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 19-20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/177?lang=th

33

จารึกวัดมเหยงค์

ปัลลวะ

เนื่องจากจารึกหลักนี้ส่วนต้นและส่วนปลายหักหายไป คงเหลือแต่ส่วนกลาง ดังนั้นเนื้อหาของเรื่องในจารึกจึงขาดไปเป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกัน สรุปได้เพียงสั้นๆ ว่าเป็นคำกล่าวถึงระเบียบ หรือแบบแผนในการปฏิบัติธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง

จารึกวัดมเหยงค์, นศ. 10, นศ. 10, K. 407, จารึกที่ 27 จารึกจากวัดมเหยงค์, หลักที่ 27 ศิลาจารึกวัดมเหยงค์, จารึกที่ 27 จารึกจากวัดมเหยงค์, หลักที่ 27 ศิลาจารึกวัดมเหยงค์, ศิลาสีดำ, รูปสี่เหลี่ยม, วัดมเหยงค์, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, จังหวัดนครศรีธรรม, ศรีวิชัย, สงฆ์, พระอคสติมหาตมัน, ประชาราษฎร์, อรรณาย, น้ำหมึก, แผ่น, เครื่องบูชา, เครื่องบำรุง, ธูป, พวงมาลัย, ธงพิดาน, จามร, ธงจีน, อาหาร, หนังสือ, ประทีป, พุทธศาสนา, พราหมณ์, ฮินดู, อุโบสถ, โบสถ์, ห้องอาหาร, อุโบสถาคาร, ปฏิบัติพระธรรม, พระระเบียง, พระบารมี, ธรรมเทศนา, บุญกุศล, สุข, ทุกข์, อินทรีย์สังวรณ์, ทรัพย์สมบัติ, ตรงใจ หุตางกูร, เอ. บาร์ต, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/56?lang=th

34

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาบาลี)

ขอมสุโขทัย

ด้าน 1 เรื่องพญาฦๅไทย (พระมหาธรรมราชาที่ 1) เสด็จออกบรรพชา เมื่อวันพุธ แรม 8 ค่ำเดือน 12 พ.ศ. 1905 ด้าน 3 เป็นคำสรรเสริญและยอพระเกียรติคุณพญาฦๅไทย

จารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาบาลี, สท. 4, สท. 4, หลักที่ 6 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษามคธ, หลักที่ 6 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษามคธ, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาบาลี พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาบาลี พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, พ.ศ. 1905, พุทธศักราช 1905, หินแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, วัดป่ามะม่วง, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระอินทร์, พระพรหม, พญาฦๅไทย, พระธรรมราชาพระมหาธรรมราชาที่ 1, พระมหาธรรมราชาที่ 1, พระเวสสันดร, พระมโหสถ, พระสีลวราช, พระราชา, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระราชบิดา, เจ้านาย, อำมาตย์, ชาวเมือง, นางสนมกำนัลใน, นางสนมกำนันใน, พระสหาย, พระประยูรญาติ, พระโพธิสัตว์, พระมหาเถระ, สาธุชน, พระอเลขบุคคล, มุนี, พระเจ้าปัลลวะ, ปัลลวราช, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระศรีอริยเมตไตรย, พระพุทธเจ้า, พระอนุพุทธเจ้า, พระปัจจเจกพทธเจ้า, พระสาวกพุทธเจ้า, นักบวช, พระเจ้าจักรพรรดิ, นก, ครุฑ, นาค, ผ้ากาสาวพัสตร์, เครื่องบูชา, มุกดา, เงินยวง, พระกระยาหาร, สุธารส, ดอกบัว, จักรรัตนะ, ป่ามะม่วง, ราชมณเทียร, นันทนอุทยาน, พุทธศาสนา, ปรินิพพาน, วันพุธ, ทานบารมี, ปัญญาบารมี, ศีลบารมี, โหราศาสตร์, พยากรณ์, พระไตรปิฎก, โลกล ราชสมบัติ, เนกขัมมบารมี, จริยวัตร, พระธรณี, แผ่นดินไหว, ปาฏิหาริย์, อินทรีย์, ทรายสีขาว, ซากศพ, มรรค, กุศลธรรม, ปัญญา, บารมี, อมฤต, เทวดา, นางฟ้า, อายุ-จารึก พ.ศ. 1904, อายุ-จารึก พ.ศ. 1905, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พญาฦาไทย, บุคคล-พระมหาสามีสังฆราช, บุคคล-พญาฦาไทย, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1904

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/191?lang=th

35

จารึกวัดจอยแซ

ฝักขาม

พ.ศ. 2038 เจ้าศรีสัทธรรมะพุทธิอำมระเถระ ถวายวัดจอยแซแด่พระมหาเทวีเจ้า พระมหาเทวีเจ้าก็รับไว้ พร้อมทั้งมอบหมายข้าพระจำนวน 20 ครัว ไว้ปฏิบัติดูแลวัดและพระสงฆ์ในวัด

จารึกวัดจอยแซ, พย. 39, พย. 39, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, พ.ศ. 2038, พุทธศักราช 2038, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ศรีสัทธรรมะพุทธิอำมระเถระ, เจ้าหมื่นน้อยใน, เจ้าร้อยคำ, เจ้าต้องแต้มญาณคงคา, พระมหาเทวีเจ้า, มหาเถระเจ้า, พระเถระเจ้า, พระเป็นเจ้า, บัณฑิต, รัตนผะหยา, รัตนปัญญา, นายชาวเลา, เจ้าร้อยคำแดง, นาปรัง, นาพระเป็นเจ้า, นายเมิง, นายเมือง, เจ้าแสนข้าวพวกเสนา, เจ้าหมื่นสามล้าน, เจ้าข้อยศรี, เจ้าสามหมื่น, เจ้าห้าสิบอัน, เจ้าพันต่างเมิง, เจ้าพันต่างเมือง, เจ้าร้อยอรหํ, เจ้าไท, เจ้านาย, พระเป็นเจ้าแผ่นดิน, คำศรี, ศรีคชทิต, ถวิล, บุญยืน, บุญสาย, บุญมี, สุวัน, สารีบุตร, ร้อยอ้าย, กำเพียร, บุญสม, สังสา, อ้ายน้อย, ทิดกอง, เจ้าจุฬา, แก้ว, อุ้นน้อย, ไพทิ, บุญรังสี, ศรัทธากลอย, สาคร, คำพา, สุวรรณมณฑา, พระพุทธเจ้า, หล้า, มนนียา, รุ่ง, มหาเถรเจ้าศีลบาล, เจ้าขุน, มหาพุกามเจ้า, มหาญาณรังสี, มหาญาณกิตติเจ้า, นายเมิงรังสี, นายเมืองรังสี, จาริก, จารึก, หนังสือ, จาริดชื่อ, หอหน้าไม้, พุทธศาสนา, วัดจอยแซ, ถวายวัด, ถวายข้าพระ, บริจาคข้าพระ, ปีเถาะ, ปีโถะ, ปีดับเหม้า, เดินปุษยะ, เดือนปุษยะ, เดินสี่, เดือนสี่, ออก, วันพุธ, กัดเร้า, ส่วนบุญ, ครัว, อาชญา, ทุกข์ไตร, สุข, พระพุทธรูป, เดินมาฤฆะ, เดินมาฆะ, เดือนมาฤฆะ, เดือนมาฆะ, เปิกเส็ด, หัสตะ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2038, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าศรีสัทธรรมะพุทธิอำมระเถระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 2038

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1743?lang=th

36

จารึกลานเงินเสด็จพ่อพระยาสอย

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึกด้านที่ 1 กล่าวถึงเสด็จพ่อพระยาสอยฯ และการเสวยราชย์ ด้านที่ 2 กล่าวถึงสมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลีฯ และการประดิษฐานผอบพระรัตนธาตุเจ้า น่าเสียดายปลายของลานเงินได้ชำรุดขาดหายไป ทำให้ข้อความจารึกไม่ต่อเนื่องกัน

หลักที่ 292 จารึกลานเงินเสด็จพ่อพระยาสอย, หลักที่ 292 จารึกลานเงินเสด็จพ่อพระยาสอย, จารึกสมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลี, กพ. 5, กพ. 5, เลขที่ 36/6, เลขที่ 36/6, พ.ศ. 1963, พุทธศักราช 1963, ม.ศ. 1342, มหาศักราช 1342, พ.ศ. 1963, พุทธศักราช 1963, ม.ศ. 2342, มหาศักราช 1342, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระเจดีย์เก่าหน้าวัดพระยืน, กำแพงเมืองเก่าด้านตะวันออก, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, สุโขทัย, เสด็จพ่อพระยาสอย, พระมหามุนีรัตนโมลีเป็นเจ้า, เงิน, ทอง, บุรีศรีกำแพงเพชร, พุทธศาสนา, ปรางค์, คูหา, การประดิษฐานพระธาตุ, ปีชวด, วันศุกร์, ไทยรวงมุต, อาษาฒออกใหม่, พุทธรักษา, ธรรมรักษา, พระสังฆรักษา, สุพรรณบัฏ, โมกษนิรพานสถาน, สงคราม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึก พ.ศ. 1963, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานผอบพระรัตนธาตุเจ้า, บุคคล-พระยาสอย, บุคคล-สมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลีฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1963

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/42?lang=th

37

จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณิ

ไทยสุโขทัย,ธรรมล้านนา

พระมหาเถรจุฑามุณิ สร้างวิหาร ประดิษฐานพระธาตุ พระพุทธประติมา และพระอถารส

จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณิ, จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณี, สท. 52, สท. 52, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, ทองคำ, แผ่นลาน, ฐานพระประธาน, พระอุโบสถ, วัดมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระมหาเถรจุทามุณิ, เงิน, ทอง, เหียก, ดีบุก, งา, พุทธศาสนา, วิหาร, ปลูกพิหาร, ประดิษฐานพระธาตุ, ประดิษฐานพระพุทธรูป, โรงนักษัตร, ปีมะโรง, สุกราพาร, วันศุกร์, กรรดิการิกส, พระพุทธประติมา, พระอถารส, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1919, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, วัตถุ-จารึกบนแผ่นลาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธประติมา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1919

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/171?lang=th

38

จารึกลานทอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี

ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

พระราชาองค์หนึ่งโปรดให้สร้างสถูปและบรรจุพระบรมธาตุ ต่อมาพระโอรสของกษัตริย์พระองค์นั้นได้ทำการปฏิสังขรณ์และบรรจุพระบรมธาตุรวมทั้งบูชาด้วยเครื่องบูชาต่างๆ เช่น ทองคำ โดยตั้งความปรารถนาขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

จารึกลานทอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี, จารึกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี, สพ. 5, สพ. 5, พุทธศตวรรษที่ 24, พุทธศตวรรษที่ 24, ไทย, สยาม, อยุธยา, อโยชฌ, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, รัชกาลที่ 2, ร. 2, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, สมเด็จพระเอกาทศรฐ, รัชกาลที่ 1, ร.1, รัชกาลที่ 2, ร. 2, อยุธยา, รัตนโกสินทร์, วัดมหาธาตุ, กรุ, พุทธเหตุการณ์, ปฏิสังขรณ์, ซ่อมแซม, บูรณะ, พระธาตุ, สถูป, พระพุทธเจ้า, บุญ, พระบรมสารีริกธาตุ, ยุคสมัย-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสีเหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ยุคสมัย-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสีเหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 24

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1243?lang=th

39

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึกด้านยาว บรรทัดที่ 1 ได้จารึกพระนามอดีตพระพุทธเจ้า 13 พระองค์ ด้านยาว บรรทัดที่ 2 ได้กล่าวถึงการจำหลักลายพระพุทธบาทลักษณ์ และจำนวนน้ำหนักของโลหะที่ใช้หล่อ ตลอดจนค่าบำเหน็จของช่าง ส่วนด้านยาว บรรทัดที่ 3 จารึกนามพระมหาสาวก 20 องค์ ด้านข้างจารึกนามพระมหาสาวกและนามเทวดา 2 องค์ คือ วิรุณหกราชและธัฏฐรัฏฐราช

จารึกรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ, กพ. 10, กพ. 10, หลักที่ 52 จารึกบนรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ, หลักที่ 52 จารึกบนรอยพระพุทธบาทวัดเสด็จ, โลหะ, สัมฤทธิ์, สำริด, แผ่นรูปรอยพระพุทธบาท, วัดเสด็จ, จังหวัดกำแพงเพชร, ไทย, สุโขทัย, พระปทุมุตตระ, พระนารทะ, พระปทุมะ, พระพุทธอโนมทัสสี, พระพุทธโสภีตะ, พระพุทธเรวัตตะ, พระสุมนธีระ, พระพุทธสุมังคละ, พระโกญฑัญญะ, พระทีปังกระ, พระสรณังกระ, พระพุทธเมธังกระ, พระพุทธตัณหังกระ, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, พระสรรเพชญ, ช่างหล่อ, สาคโต, สุคโต, โสภัทโท, ปภังกระ, สมิทธี, โลลุทธายี, กาฬทายี, อุทายี, ควัมปติ, สิมพลี, อุปาลี, ภัททรชิ, อัสสชิ, วักกลิ, ปุณณเถระ, พระภารัทวาชะ, พระสุภูตะ, อังคุลิมาละ, นาคเถระ, รัฏฐปาละ, พระมหาโกญฑัญญเถระ, พระกุมารกัสสปะ, พระกัสสปเถระ, คยานันที, อุรุเวฬกัสสปะ, วิรุณหกราชะ, ธัฏฐรัฏฐราชะ, พระขัตตคามะ, พุทธสาวก, พระมหาสาวก, พระอดีตพุทธ, ทอง, เงิน, พุทธศาสนา, ลายบาทลักษณ์, พระบาท, บำเหน็จ, ตำลึง, เทวดา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-รอยพระพุทธบาท

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/167?lang=th

40

จารึกมหาเถรศรีเทพ

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

ข้อความจารึกชำรุดเป็นบางส่วน ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกมหาเถรศรีเทพ, กท. 58, กท. 58, เงิน, ลักษณะวัตถุ, ไทย, อยุธยา, มหาเถรศรีเทพ, พระบาลพล, ป่า, พุทธศาสนา, เดือนแปดออกใหม่, ปีชวด, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ยุคสมัย-พุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/621?lang=th

41

จารึกพ่อขุนรามคำแหง

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่มีในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงนี้แบ่งออกได้เป็นสามตอน ตอนที่ 1 ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 ถึง 18 เป็นเรื่องพ่อขุนรามคำแหงเล่าประวัติของพระองค์ ตั้งแต่ประสูติจนได้เสวยราชสมบัติใช้คำว่า “กู” เป็นพื้น ตอนที่ 2 ไม่ได้ใช้คำว่า “กู” เลย ใช้คำว่า “พ่อขุนรามคำแหง” เล่าเรื่องประพฤติเหตุต่างๆ และธรรมเนียมในเมืองสุโขทัย เรื่องสร้างพระแท่นมนังศิลาเมื่อ ม.ศ. 1214 เรื่องสร้างพระธาตุเมืองศรีสัชนาลัย เมื่อ ม.ศ. 1207 และที่สุดเรื่องประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นเมื่อ ม.ศ. 1205 ตอนที่ 3 ตั้งแต่ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 12 ถึงบรรทัดสุดท้าย เข้าใจว่าได้จารึกภายหลังหลายปี เพราะตัวหนังสือไม่เหมือนกับตอนที่ 1 และที่ 2 คือตัวพยัญชนะลีบกว่าทั้งสระที่ใช้ก็ต่างกันบ้าง ตอนที่ 3 นี้ เป็นคำสรรเสริญ และยอพระเกียรติคุณของพ่อขุนรามคำแหง และกล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัยที่แผ่ออกไปครั้งกระโน้น

จารึกพ่อขุนรามคำแหง, สท. 1, สท. 1, หลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย, พ.ศ. 1835, พุทธศักราช 1835, พ.ศ. 1835, พุทธศักราช 1835, ม.ศ. 1214, มหาศักราช 1214, ม.ศ. 1214, มหาศักราช 1214, พ.ศ. 1828, พุทธศักราช 1828, พ.ศ. 1828, พุทธศักราช 1828, ม.ศ. 1207, มหาศักราช 1207, ม.ศ. 1207, มหาศักราช 1207, พ.ศ. 1826, พุทธศักราช 1826, พ.ศ. 1826, พุทธศักราช 1826, ม.ศ. 1205, มหาศักราช 1205, ม.ศ. 1205, มหาศักราช 1205, หินทรายแป้งเนื้อละเอียด, หลักสี่เหลี่ยมด้านเท่าทรงกระโจม, ปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, ไทย, สุโขทัย, พ่อขุนศรีอินทราทิตย์, นางเสือง, บานเมือง, ขุนสามชน, พระรามคำแหง, พ่อขุนรามคำแหง, ปู่ครูนิสัยมุต, มหาเถรสังฆราช, กาว, ลาว, ไทย, ชาวอู, ชาวของ, ไพร่, ไพร่ฟ้าหน้าใส, ลูกเจ้าลูกขุน, ไพร่ฟ้าข้าไทย, ข้าเสือก, ข้าศึก, หัวรบหัวพุ่ง, แม่ทัพนายกอง, ไพร่ฟ้าหน้าปก, ปู่ครู, มหาเถร, สังฆราช, นักปราชญ์, อุบาสก, ท้าว, พระยา, ครูอาจารย์, ข้าเสีอ, หมากส้ม, หมากหวาน, หมากม่วง, หมากขาม, ไม้ตาล, เนื้อ, กวาง, ปลา, ช้าง, ช้างเผือก, ม้า, วัว, โค, รูจาครี, รูจาศรี, มาสเมือง, ทอง, เงือน, เงิน, ข้าว, เสื้อคำ, กะดิ่ง, กระดิ่ง, กลอง, พาด, พาทย์, พิณ, กระพัด, ลยาง, พนมเบี้ย, พนมหมาก, พนมดอกไม้, หมอนนั่งหมอนโนน, หมอนนอน, สิน, เมืองฉอด, เมืองสุโขทัย, อรัญญิก, เมืองศรีธรรมราช, ตลาดปสาน, เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, เมืองเชลียง, สรลวง, สระหลวง, สองแคว, ลุมบาจาย, สคา, เวียงจันทน์, เวียงคำ, คนที, พระบาง, แพรก, สุพรรณภูมิ, ราชบุรี, เพชรบุรี, หงสาวดี, เมืองแพร่, เมืองม่าน, เมืองพลัว, เมืองชวา, ฝั่งของ, น้ำโขง, ทะเลหลวง, น้ำโคก, ถ้ำพระราม, น้ำสำพาย, ถ้ำรัตนธาร, ทะเลสมุทร, ป่าหมาก, ป่าพลู, ป่าพร้าว, ป่าลาง, ป่าม่วง, ป่าขาม, เยียข้าว, ฉางข้าว, ตระพังโพยสี, น้ำโขง, อรัญญิก, หัวลาน, ปากประตูหลวง, ภูเขา, พุทธศาสนา, ตระพังโพยสี, ตรีบูร, พิหาร, วิหาร, กุฎีพิหาร, สรีดภงส์, ทำนบ, พระศรีรัตนธาตุ,ศาลาพระมาส, พุทธศาลา, พระธาตุ, พระเจดีย์, เวียงผา, กำแพงหิน, ปราสาท, กุฏิ, การคล้องช้าง, กรานกฐิน, เผาเทียนเล่นไฟ, การชนช้าง, บริพารกฐิน, ญัติกฐิน, การสวด, การบูชาพระธาตุ, การก่อพระเจดีย์, ไร่, นา, น้ำ, จกอบ, ภาษี, การค้าขาย, เหย้าเรือน, ประตู, ทาน, ศีล, บุญ, ธรรม, พรรษา, พระพุทธรูปทอง, พระไตรปิฎก, ปิฎกไตร, บ้าน, พระอัฏฐารศ, พระอจนะ, พระอัจนะ, พระขพุงผี, เทพดา, เทวดา, ปีมะโรง, มนังศิลาบาตร, ขดานหิน, เดือนดับ, เดือนออก, เดือนเต็ม, เดือนบ้าง, ปีกุน, พระธาตุ, ลายสือไทย, ปีมะแม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารึก พ.ศ. 1835, จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, จารึกภาษาไทย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกบนหินทรายแป้ง, จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, จารึกพบที่สุโขทัย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย, กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, พ่อขุนรามคำแหง, ความเป็นอยู่และประเพณี, การสร้างพระแท่นมนังศิลา, การสร้างพระธาตุ, ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัย, การประดิษฐ์ตัวอักษร, การสร้างศิลาจารึก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1835, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแป้ง, ลักษณะ-จารึกทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระแท่นมนังศิลา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย, เรื่อง-การประดิษฐ์ตัวอักษร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1835

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/47?lang=th

42

จารึกพระมหาเถรชัยโมลี

ขอมอยุธยา

เป็นสุพรรณบัฏของพระมหาเถรชัยโมลี

จารึกพระมหาเถรชัยโมลี, สพ. 7, สพ. 7, จารึกเลขที่ 14/6, จารึกเลขที่ 14/6, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระรูป, จังหวัดสุพรรณบุรี, ไทย, อยุธยา, พระมหาเถรชัยโมลี, พระมหาเถรศรีราชโมลี, พุทธศาสนา, สุพรรณบัฏ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/610?lang=th

43

จารึกพระพุทธฎีกาสมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราช

ขอมสุโขทัย

เป็นสุพรรณบัฏของสมเด็จมหาเถรสารี

จารึกพุทธฎีกาสมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราช, กท. 56, กท. 56, จารึกเลขที่ 3/6, จารึกเลขที่ 3/6, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พ.ศ. 1990, พุทธศักราช 1990, ม.ศ. 1369, มหาศักราช 1369, พ.ศ. 1990, พุทธศักราช 1990, ม.ศ. 1369, มหาศักราช 1369, สมเด็จพระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช, พระราเมศวรราชสุจริตสรัทธา, สมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราชสังฆปรินายกดิลกรัตน, มหาสวามีบรมราชาจารย์, พระมหาเถรปริยทัศศี, สริสาริบุตร, ศรีสารีบุตร, มหาเถรสามี, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, พุทธติกา, พุทธฎีกา, พระพรรป, สุพรรณบัฏ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1990, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การปกครองสงฆ์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1990

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/123?lang=th

44

จารึกพระพิมพ์ดินเผาวัดโคกไม้เดน

หลังปัลลวะ

ข้อความคือคำนมัสการพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์

จารึกพระพิมพ์ดินเผาวัดโคกไม้เดน, นว. 6, น. 6, ดินเผา, ฐานพระพิมพ์ดินเผา, เจดีย์หมายเลข 4, เจดีย์หมายเลข 4, วัดโคกไม้เดน, วัดเขาไม้เดน, ตำบลท่าน้ำอ้อย, อำเภอพยุหคีรี, จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, พุทธศาสนา, พระรัตนตรัย, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระรัตนตรัย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14-15

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/909?lang=th

45

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด

ไทยสุโขทัย

ข้อความด้านที่ 1 ได้กล่าวถึงการทำสัตย์สาบานระหว่างผู้เป็นใหญ่ในกรุงสุโขทัย ด้านที่ 2 ได้กล่าวถึงสวรรค์ชั้นต่างๆ ด้านที่ 3 เป็นคำสาปแช่งผู้กระทำผิดคิดคด

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด, สท. 15, สท. 15, หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ (พ.ศ. 2515), หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ (พ.ศ. 2515), หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935, ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935, พ.ศ. 1935, พุทธศักราช 1935, พ.ศ. 1935, พุทธศักราช 1935, จ.ศ. 754, จุลศักราช 754, จ.ศ. 754, จุลศักราช 754, ม.ศ. 1314, มหาศักราช 1314, ม.ศ. 1314, มหาศักราช 1314, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปใบเสมา, ริมเสาเบื้องขวาหน้าวิหารหลวง, ด้านหลังวิหารสูง, วัดมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ศรี, อุมา, เทวากามเทพ, ยมบาล, มฤตยู, จตุโลกบาล, พรหมรูป, พระยาผู้ปู่, ปู่พระยา, ปู่พระยาคำฟู, พระยาผากอง, ปู่พระยาบาน, ปู่พระยารามราช, ปู่ไสสงคราม, ปู่พระยาเลอไทย, ปู่พระยางัวนำถม, ปู่พระยางั่วนำถม, ปู่พระยามหาธรรมราชา, พ่องำเมือง, พ่อเลอไทย, ปู่เริง, ปู่มุง, ปู่พอง, ปู่ฟ้าฟื้น, ปู่ขุนจิด, ขุนจอด, ปู่พระยาศรีอินทราทิตย์, ปู่ชระมื่น, ปู่เจ้าพระขพง, ปู่เจ้าพระขพุง, พระศรี, สมเด็จพระมหาเถรสังฆราชรัตนวงศาจารย์, พระมหาเถรธรรมเสนาบดี, เจ้าพระยาผู้หลาน, พระอรหันต์, พระปรัตเยกพุทธ, พระปัจจเจกพุทธ, มเหสูร, พระสทาศีล พระภีม, พระอรชุน, พระยุธิษถีร, ทีรฆนาม, รามปรสุ, รามลักษ์, พระศักดิ์, พระทีจนนทีสีนรบัณฑิตย์, พระพิรุณ, กุเวร, ขุนมนตรี, เสนาบดี, อมาตย์, นางเมือง, เทวทัต, ช้าง, ม้า, วัว, โค, กระบือ, ควาย, ถ้ำ, เขาพูคา, เขาผาดาน, หมื่นห้วยแสนดง, เขายรรยง, ลังกา, ชมพูท วีป, อมรโคยานี, อุตรกุรู, ภูไศล, คันธมาทน์, ไกรลาส, วิบุลบรรพต, วงกต ศาสนา: พุทธศาสนา, พระสถูป, กระประดิษฐานจารึก, ผีปู่ผาคำ, ผีชาวเลือง, เสื้อใหญ่, ผีบางพระศักดิ์, อารักษ์, อเวจีนรก, อากาสานัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ, กามาพจรหก, ดาวดึงส์, ดุสิตา, วอก, เต่าสัน, พฤหัสบดี, เต่าเม็ด, ปู่หลานสบถ, แม่พระศักดิ์พระสอ, เสื้อทานยอางพานสถาน, ผีบางพระศักดิ์, อบายเวทนา, มหาวิบาก, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, บาป, ปรโลก, โมกษ, นีรพาน, นิพพาน, ขอมปีวอก, ไทยปีเต่าสัน, ขอมวันพฤหัสบดี, ไทยวันเต่าเม็ด, ฤกษ์อุตรผลคุณ, พระเพลิง, อรรเธนทสูร, เทพดานพเคราะห์, ตารก, ภุชค, กินนร, กินรี, สรรพสิทธิ, รษีสิทธิ, พิทยาธร, ทศโลก, จตุรถเบญจมธยานสถาน, อากาสานัญจายตนะ, วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ, เนวสัญญานาสัญญายตนัง, กามาพจรหก, จาตุมหาราชิกา, ตาวติงสา, ยามา, ตุสสิตา, ดุสิดา, นิมมานรดี, ปรนิมมิตวสวดี, สวรรคมรรค, บาดาล, โลกธาตุ, จตุรภพ, สบบูรพวิเทหะ, พรหมรักษ์, ยักษ์กุมาร, หิมพานต์, สัปตคงคา, ปักษาปักษี, อิสันธร, สาบาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, จอายุ-จารึก พ.ศ. 1935, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน|, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1935

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/107?lang=th

46

จารึกปราสาทหินพิมาย 13

ขอมโบราณ

ข้อความจารึกมี 3 คำ คือ ลาภ ชัย และฤทธิ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นคำอธิษฐานขอให้ได้รับสิ่งดังกล่าว

จารึกปราสาทหินพิมาย 13, จารึกปราสาทหินพิมาย 13, นม. 36, นม. 36, หลักที่ 129 แผ่นทองอาถรรพ์ พบที่ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา, หลักที่ 129 แผ่นทองอาถรรพ์ พบที่ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา, จารึกแผ่นทองอาถรรพ์ ปราสาทหินพิมาย, แผ่นทองอาถรรพ์, แผ่นสี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพิมาย บ้านพิมาย ตำบลในเมือง จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พราหมณ์, ฮินดู, ศิวะเวท, ไศวนิกาย, ลาภ, ชัย, ฤทธิ, นวพรรณ ภัทรมูล, ปรีดา ศรีชลาลัย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ไม่ปรากฏศักราช

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1155?lang=th

47

จารึกปราสาทหินพิมาย 4

ขอมโบราณ

กล่าวถึงศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ แห่งเมืองโฉกวะกุล ได้สร้างรูปกมรเตงชคตเสนาบดี

จารึกปราสาทหินพิมาย 4, จารึกปราสาทหินพิมาย 4, นม. 13, นม. 13, Nouvelles Inscriptions de Pimai, Nouvelles Inscriptions de Phimai, K. 954, หลักที่ 60 จารึกบนฐานศิลา, หลักที่ 60 จารึกบนฐานศิลา, ศิลา, ฐานปฏิมากรรมรูปสี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพิมาย, บ้านพิมาย, ตำบลในเมือง, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, ศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ, ศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, ศรีวีเรนทราธิบดีวรมะ ศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, กมรเตงชคตเสนาบดี, กัมรเตงชคตเสนาบดี สถานที่: โฉกวะกุล} การสถาปนา, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, แสง มนวิทูร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนฐานปฏิมากรรม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, บุคคล-ศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563)

พุทธศตวรรษ 17

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/424?lang=th

48

จารึกประดิษฐานพระธาตุ

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการประดิษฐานพระธาตุ

จารึกประดิษฐานพระธาตุ, กท. 59, กท. 59, เงิน, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ไทย, อยุธยา, พระเจ้ารัตนมาลา, อ้ายญิอัง, งัว, อัวน้อย, เอียยูงัว, อ้ายรัด, เจ้าสมินรัตนรังสี, ผ้าขาว, ผ้าเทศ, ผ้าชิพอร, ผ้าจีวร, เสื้อสะไบ, หัวแหวนมอน, พุทธศาสนา, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, พระจวงกรม, พระจงกรม, พระพิมพ์ญญายออกแก้ว, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/617?lang=th

49

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุดบางส่วน จับความได้ว่ากล่าวถึงการสร้างสิ่งหนึ่งด้วยเงินและทองคำเพื่อถวายไว้ในพระศาสนา

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 4 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19170?lang=th

50

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุดบางส่วน อ่านได้ความว่าการถวายอะไรอย่างหนึ่งไว้กับวัดคงคาวดี และอธิษฐานขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 4 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19168?lang=th

51

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด อ่านจับใจความไม่ได้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 3 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19166?lang=th

52

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด อ่านไม่ได้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 3 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19164?lang=th

53

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด กล่าวถึงศักราชที่เกิดเหตุการณ์

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 2 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19162?lang=th

54

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุดเหลือคำเดียวคือคำว่า “พระ”

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 2 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19160?lang=th

55

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด แปลความไม่ได้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 1 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19158?lang=th

56

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกกล่าวถึงศักราชของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 1 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19156?lang=th

57

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (บนขอบหัวระฆัง)

ขอมอยุธยา

เป็นข้อความของสมภารวัดกล่าวถึงการสร้างระฆังใบนี้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (บนขอบหัวระฆัง), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19172?lang=th

58

จารึกบนตราประทับจากเมืองนครปฐม

พราหมี

คำอ่าน-คำแปลของจารึกในขณะนี้มีด้วยกัน 2 แบบ คือ “เมืองท่าประเสริฐ” และ “ย่อมหว่าน (พืช)”

จารึกบนตราประทับจากเมืองนครปฐม, 6/9 ตราประทับดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2305, 6/9 ตราประทับดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2305, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ไม่ปรากฏศักราช

ปรากฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2114?lang=th

59

จารึกบนตราประทับจากเขาศรีวิชัย

ปัลลวะ

เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “วฺริสมุทฺราโพธิ” ซึ่งแปลความได้หลายแบบคือ แปลว่า “การตรัสรู้คือเครื่องหมายแห่งการทำลายล้าง (อาจหมายถึง ทำลายล้างมลทิน หรือ ความไม่รู้)” หรือ “ยินดีที่เป็นที่รู้จัก” หรือ “ประทับเป็นเครื่องหมาย” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมัน ในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่า สัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน

จารึกบนตราประทับจากเขาศรีวิชัย, Inscription No. 5, Inscribed rectangular quartz stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินควอทซ์, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/729?lang=th

60

จารึกบนตราดินเผาจากเมืองนครปฐม

นาครี

จารึกบนตราดินเผาจากเมืองนครปฐม 1, 2317, 2317, พุทธศตวรรษที่ 14-15, 14-15, ทวารวดี, ตราดินเผา, ตรา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวาราวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14-15

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2080?lang=th

61

จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง

ขอมโบราณ,กวิ

กล่าวถึงเจ้าเมืองครหิ ได้รับพระราชโองการจากพระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะให้หล่อพระพุทธรูปนี้เมื่อ พ.ศ. 1726

กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ศาสนาพุทธ, สรรเพ็ชญาณ, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ตลาไน, คลาไน, มรเตงศรีญาโน, กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, ครหิ, ปฏิมากร, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, สฎ. 9, สฎ. 9, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, วิหารวัดเวียง ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปนาคปรก, เถาะนักษัตร, กัมรเดงอัญมหาราช ศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษณวรรมเทวะ, เชฏฐมาส, วันพุธ, มหาเสนาบดีตลาไน, เมืองครหิ, มรเตง ศรีญาโน, พระพุทธรูปปฏิมากร, ภาระ, ตุละ, ทองคำ, สรรเพ็ชญาณ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1859, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองครหิ, บุคคล-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1726

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/505?lang=th

62

จารึกนครชุม

ไทยสุโขทัย

พระยาฦๅไทยคือพระธรรมราชาที่ 1 ได้ประดิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุและได้ปลูกพระศรีมหาโพธิ ซึ่งได้มาจากลังกาทวีป เรื่องนี้มีในด้านที่ 1 ตั้งแต่บรรทัดที่ 1-14 และตั้งแต่บรรทัดที่ 15-63 กล่าวถึงเรื่องสัทธรรมอันตรธาน 5 และเป็นคำตักเตือนสัตบุรุษให้รีบเร่งทำบุญกุศลเมื่อพระพุทธศาสนายังมีอยู่ ตั้งแต่บรรทัดที่ 64 ถึงด้านที่ 2 เป็นคำสรรเสริญพระเจ้าธรรมราชาที่ 1 ว่าเป็นกษัตริย์ผู้ดำรงอยู่ในทศพิธราชธรรมและเป็นธรรมิกะมหาราช ที่สุดกล่าวถึงศิลาจารึกและรอยพระพุทธบาทต่างๆ ที่พระธรรมราชาทรงสร้าง ในหัวเมืองต่างๆ ในอาณาเขตของพระองค์

จารึกนครชุม, หลักที่ 3, หลักที่ 3, ศิลาจารึกนครชุม, กพ. 1, กพ./1, กพ./1, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, ม.ศ. 1279, มหาศักราช 1279, พ.ศ. 1900, พุทธศักราช 1900, ม.ศ. 1279, มหาศักราช 1279, หินทรายแป้ง, หินดินดาน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระบรมธาตุ, จังหวัดกำแพงเพชร, ตำบลนครชุม, ไทย, สุโขทัย, พระยาลือไทยราช, พระยาลิไทย, พระยาศรีสุริยพงศ์มหาธรรมราชาธิราช, พระยามหาธรรมราชา, พระยาเลอไทย, พระยารามราช, พระพุทธเจ้า, ขุนมาราธิราช, พระเป็นเจ้า, เจ้าขุนพราหมณ์เศรษฐี, โหร, พระยาฤาไทย, ภิกษุ, สงฆ์, ชี, สมณะ, สาธุสัตบุรุษ, พระศรีอารยไมตรี,พระศรีอาริยเมตไตรย, เถร, มหาเถร, ท้าวพระยา, พระยาธรรมิกราช, ไพร่ฟ้าข้าไท, ปู่ครู, ผู้เถ้าผู้แก่, เจ้าเถิงสิงหล, พระศรีมหาโพธิ์, พระศรีมหาโพธิ, หมากพร้าว, หมากลาง, ปลา, ม้า, ช้าง, ข้าว, เกลือ, กระยาดงวาย, หมาก, ยาหยูก, ผ้าจีวร, ผ้าเหลือง, เมืองศรีสัชชนาลัย, เมืองสุโขทัย, เมืองนครชุม, ลังกาทวีป, เมืองเชียงทอง, เมืองคนที, พระบาง, เมืองบางพาน, เมืองบางฉลัง, เมืองฝาง, เมืองสระหลวง, จอมเขาสุมนกูฏบรรพต, ปากพระบาง, จอมเขานางทอง, ราชมณเทียร, ราชมณเฑียร, เมืองฟ้า, เมืองดิน, พิง, ป่า, แม่พิง, พุทธศาสนา, พระศรีรัตนมหาธาตุ, รัตนมาลิกมหาสถูป, พระสถูป, เจดีย์, การสถาปนาพระธาตุ, ราชาภิเษก, อภิเษก, การสวด, การจำศีล, การทำบุญ, การคล้องช้าง, เรือ, ปีระกา, เดือนแปดออก, วัศุกร์, หนไทย, กัดเล้า, บูรพผลคุณีนักษัตร, พระบาท, พระมหาธาตุ, พระธาตุ, สัพพัญญุตญาณ, ปีเถาะ, ปีวอก, เดือนหกบูรณมี, วันพระ, วันหนไทย, วันเตาญี, ปีกุน, พระปิฎกไตร, ธรรมเทศนา, พระมหาชาติ, ธรรมชาดก, พระอภิธรรม, พระปัฏฐาน, พระยมก, สิกขาบทสี่, ปีชวด, วันเสาร์, วันไทย, วันระวายสัน, ไพสาขฤกษ์, แผ่นดิน, เทพโลก, นาคโลก, หาว, สรรเพชญุตญาน, ไฟไหม้,พรหมโลก, บุญ, ธรรม, บาป, กรรม, นรก, ทาน, อัษฎางคิกศิล, พระปิฎกไตร, พระไตรปิฏก, ดาว, ลม, ไฟ, สกา, ศาสตร์, ยนตร์, ทศพิธราชธรรม, การค้าขาย, เหย้า, เรือน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1900, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแป้ง, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรอยพระพุทธบาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1900

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/183?lang=th

63

จารึกธรรมจักร (นครปฐม)

ปัลลวะ

คาถาที่ปรากฏอยู่นี้ อาจเรียกอย่างง่ายๆ ว่า “คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4” โดยมีเนื้อหากล่าวเปรียบเทียบว่า จักร คือ พระธรรมของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงถึงอริยสัจจ์ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค โดยหมุนวนครบ 3 รอบ เป็นสัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ มีอาการ 12 อย่าง คำพรรณนาเช่นนี้ ยังพบได้ใน จารึกเสาแปดเหลี่ยม (ซับจำปา) (หรือ ลบ. 17) และ จารึกฐานรองพระธรรมจักร (สพ. 1) แต่จะมีคำต่างกันเล็กน้อย คือ ในจารึกทั้ง 2 ที่กล่าวข้างต้นจะใช้คำว่า “วตฺตํ” แต่ในขณะที่จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม) นี้ จะใช้คำว่า “วฏฺฏํ” สำหรับคำจารึกนี้ ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้กล่าวเกี่ยวกับที่มาว่า “เราไม่สามารถที่จะค้นหาที่มาอย่างถูกต้อง ของคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ได้ เพราะเหตุว่าคำนี้มีกล่าวอยู่ทั่วไปในคัมภีร์ต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา สำหรับการแสดงถึงญาณ 3 ประการที่เกี่ยวกับพระอริยสัจ 4 คือเกี่ยวกับกิจที่จะต้องกระทำ และกิจที่ได้ทำแล้วนั้น เราจะเห็นว่ามีอยู่ในหนังสือมหาวัคค์ แห่งพระวินัยปิฏก เช่นเดียวกับในหนังสือของพระอรรถกถาจารย์ คือ สมันตปาสาทิกา แต่จารึกบนกำนั้นได้ให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ 4 อย่าง (อัตถ) แห่งความจริงของมรรค คือ การนำ เหตุ การเห็น และความสามารถ ข้อความนี้อาจจะมาจากคัมภีร์ ปฏิสัมภิทามัคค์ หรือ จากหนังสือวิสุทธิมัคค์ ของพระพุทธโฆส และจากหนังสืออธิบายของพระธัมมปาละ ทั้งสองเล่มนี้ แต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 10 อย่างไรก็ดี คำสั่งสอนนี้ก็เป็นคำสั่งสอนที่มีอยู่ในหนังสือทุกสมัย เป็นต้นว่า ในหนังสือสารัตถสมุจจัย ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายของภาณวาร และคงจะแต่งขึ้นในรัชกาลของพระเจ้าปรากรมพาหุแห่งเกาะลังกา (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 18) จารึกที่มีลักษณะเป็นพิเศษที่สุดก็คือ จารึกบนดุม ได้แก่ จารึกบนขอบชั้นใน (ดุม 1) เพราะจารึกบนขอบชั้นนอก (ดุม 2) นั้นเป็นจารึกที่ไม่มีแบบที่ไหนเลย จารึกบนขอบชั้นใน (ดุม 1) เป็นคาถา ซึ่งแม้ว่าจะเห็นกันอยู่เสมอ แต่เมื่อมีสัมผัสรับกันอยู่เช่นนี้ ก็เห็นได้ว่าคงจะลอกมาจากที่อื่นทั้งคาถา ตามความรู้ของข้าพเจ้า คาถาบทนี้ไม่ได้มีอยู่ในคัมภีร์อื่นๆ อีกเลย นอกจากในหนังสือสารัตถสมุจจัย และปฐมสมโพธิ ซึ่งได้กล่าวถึงประโยชน์ 4 อย่างของมรรคด้วย แต่อายุหนังสือเหล่านี้ ก็อ่อนกว่าอายุของตัวอักษรที่ใช้จารึกบนพระธรรมจักร ซึ่งพบที่พระปฐมเจดีย์นี้เป็นแน่นอน เราจึงไม่อาจจะกล่าวได้ว่า หนังสือเล่มหนึ่งเล่มใดในสองเล่มข้างต้น เป็นที่มาของคาถาที่จารึกบนขอบดุมชั้นใน (ดุม 1) ของพระธรรมจักรได้ สิ่งที่ควรค้นหาก็คือ ที่มาของจารึกและหนังสือทั้งสองเล่มนั้น แต่ในที่นี้ เราไม่อาจจะกล่าวอะไรยิ่งไปกว่านี้ได้”

จารึกธรรมจักร (นครปฐม), จารึกธรรมจักร (กท. 29), จารึกธรรมจักร (กท. 29), จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม), จารึกธรรมจักร 1 (นครปฐม), กท. 29, กท. 29, พระธรรมจักรศิลา จารึกภาษาบาลี ได้มาจากจังหวัดนครปฐม, ศิลา, รูปธรรมจักร, บริเวณพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ญาณ, ความหยั่งรู้, ความจริง, กิจ, ล้อ, อาการ 12, อาการ 12, บ่อเกิด, เหตุ, การดับ, พระธรรม, มัคคสัจจ์, อริยสัจจ์ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, สัจจญาณ, กิจจญาณ, กตญาณ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, Gorge Cœdès, Artibus Asiae, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนธรรมจักร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 12

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/160?lang=th

64

จารึกฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1398 (พ.ศ. 2019) พระยายุธิษฐิระ ได้สร้างพระพุทธรูปสำริดองค์นี้ขึ้น มีน้ำหนัก 14,000 เพื่อดำรงพระพุทธศาสนา

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, กท. 93 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ, กท. 93 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ, กท. 93, กพช. เลขที่ ก. 7, กท. 93, เลขที่ ก. 7, Notes on the Art of Siam, No. 6 : Prince Yudhisthira, จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้ายุธิษฐิระ อักษรธรรมล้านนา, หลักที่ 303 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, หลักที่ 303 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปราชายุธิษฐิระ, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, ม.ศ. 1398, มหาศักราช 1398, พ.ศ. 2019, พุทธศักราช 2019, ม.ศ. 1398, มหาศักราช 1398, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดบุนนาค (วัดป่าแดงหลวงดอนไชยบุนนาค) ตำบลดงเจน อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้าติโลกราช, มังราย, ยุธิษฐิระ, ยุฐิเสถียร, เชียงใหม่, อภินวปุรี, เมืองพะเยา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาบาลีและสันสกฤต, จารึก พ.ศ. 2019, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่พะเยา, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ผู้ครองเมืองพะเยา, พระยายุธิษฐิระ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2019, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าเมืองพะเยา, บุคคล-พระยายุธิษฐิระ, บุคคล-พระยายุทธิษฐิระ

พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2019

สันสกฤต,บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1767?lang=th

65

จารึกฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ข้อความสี่บรรทัดแรกเป็นภาษาบาลี ว่าด้วยคาถาบทพุทธคุณ และบทปัจจยาการ บรรทัดสุดท้ายกล่าวถึงบุคคลชื่อ เจ้าวิเชียร ผู้สร้างพระพุทธรูป

จารึกฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท, ชร. 15, ชร. 15, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, จ.ศ. 834, จุลศักราช 834, จ.ศ. 834, จุลศักราช 834, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปปางประทับรอยพระบาท, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า, บุรุษ, ศาสดา, มนุษย์, พระศรีอาริยเมตไตรย์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, กิเลส, วิชา, จรณะ, โลก, ตรัสรู้, เทวดา, โลก, ตรัสรู้, อวิชชา, ปัจจัย, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, อายตนะ 6, อายตนะ 6, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรา, มรณ, โสกะ, ปริเทวะ, ทุกขโทมนัส, อุปายาสะ, กองทุกข์, เหตุ, ปีเต่ายี, พุทธทำนาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2024, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าวิเชียร, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2024

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1397?lang=th

66

จารึกฐานพระพุทธรูปทิดไสหง

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่จารึก ได้จารึกบอกนามผู้สถาบกพระพุทธรูป จำนวน 2 คน คือ ทิดไสหง และนางแก้ว

จารึกฐานพระพุทธรูปทิดไสหง, หลักที่ 37 จารึกบนฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สัมฤทธิ์, หลักที่ 37 จารึกบนฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สัมฤทธิ์, กพช. ล. 4044, กพช. ล. 4044, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, กระทรวงการคลัง, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, ทิดไสหง, นางแก้ว, พระเป็นเจ้า, พุทธศาสนา, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่กระทรวงการคลัง กรุงเทพมหานคร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิดไสหง, บุคคล-นางแก้ว

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/116?lang=th

67

จารึกฐานปราสาทโลหะ

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1098 พระญาหลวงเจ้ามังสะแพกเจ้าเมืองเชียงแสน และบุษบาสิริวัฒนเทพาราชกัญญา รวมทั้งราชบุตรนามว่าพระยอดงำเมือง มีศรัทธาหล่อปราสาทหลังนี้ขึ้น เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปและพระธาตุ โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน รวมทั้งได้เกิดในดาวดึงส์ และบรรลุเป็นพระอรหันต์ ในสำนักพระอริยเมตไตรย เป็นต้น

จารึกฐานปราสาทโลหะ, ชร. 9, จารึกปราสาทโลหะ, จารึกบนฐานปราสาทโลหะ, ชร. 9, จุลศักราช 1089 (พ.ศ. 2270), จุลศักราช 1089 (พ.ศ. 2270), จ.ศ. 1089 (พุทธศักราช 2270), จ.ศ. 1089 (พุทธศักราช 2270), โลหะ, ฐานรูปปราสาท, ล้านนา, นยองยาน, เชียงราย, เชียงแสน, พระญาหลวงเจ้ามังสะแพก, พระยอดงำเมือง, บุษบาสิริวัฒนเทพาราชกัญญา, พุทธล สังสการ, ตาวติงสา, ดาวดึงส์, พระเกศจุฬามณี, สัพพัญญุตญาณ, พุทธอุปัฐาก, อนาคตพุทธเจ้า, เมไตรยะ, พระศรีอารย์, พระศรีอาริยเมตรัย, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึก พ.ศ. 2270, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, ความเป็นอยู่และประเพณี, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างปราสาท, พระญาหลวงเจ้ามังสะแพก, เจ้าเมืองเชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2270, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนฐานรูปปราสาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-การสร้างปราสาท, บุคคล-พระญาหลวงเจ้ามังสะแพก, บุคคล-เจ้าเมืองเชียงแสน

ห้องศิลปะเชียงแสน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2270

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1988?lang=th

68

จารึกคาถาหัวใจพระสูตร

ขอมสุโขทัย

เป็นคาถาหัวใจพระสูตร, คาถากาสลัก หรือ หัวใจคาถากาสลัก, คาถาหัวใจไตรสรณาคมน์, คาถาหัวใจกรณีย์

จารึกคาถาหัวใจพระสูตร, สท. 42, สท. 42, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ทุรชน, บัณฑิต, พระสงฆ์, พุทธศาสนา, ทีฆนิกาย, มัชฌิมนิกาย, สังยุตตนิกาย, อังคุตตรนิกาย, ขุททกนิกาย, คาถาหัวใจพระสูตร, หัวใจคาถากาสลัก, คาถาหัวใจไตรสรณาคมน์, คาถาหัวใจกรณีย์, บุญ, พุทธัง, ธัมมัง, สังฆัง, สรณังคัจฉามิ, พระพุทธ, พระธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/72?lang=th

69

จารึกคาถาหัวใจพระพุทธคุณ

ขอมสุโขทัย

เป็นคาถาหัวใจพระพุทธคุณ คาถาหัวใจพระอภิธรรม และหัวใจพระวินัย

จารึกคาถาหัวใจพุทธคุณ, สท. 55, สท. 55, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, พระอรหันต์, ศาสดา, มนุษย์, พุทธศาสนา, วิชชา, จรณะ, โลก, หัวใจพระพุทธคุณ, พระอภิธรรม, พระวินัย, เทวดา, พระธรรม, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 20

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/70?lang=th

70

จารึกกษัตริย์ผู้เป็นธรรมิกราชาธิราช

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงกษัตริย์พระองค์หนึ่งผู้เป็นธรรมิกราชา ข้อความนอกจากนั้นชำรุดมาก ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกกษัตริย์ผู้เป็นธรรมิกราชธิราชเจ้า, ชร. 13, ชร.13, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้า, ธรรมิกราชาธิราชเจ้า, เม็ง, มอญ, วิสัยไทย, โบราณ, ครัว, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, 9, จารึกอักษรฝักขาม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2081, อายุ-จารึก พ.ศ. 2180, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนาบุคคล-ธรรมิกราชา, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2081-2180

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1466?lang=th