ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14

ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-14 (พ.ศ.1201-1400) โดยอักษรที่พบ ได้แก่ อักษรหลังปัลลวะ นอกจากนี้ยังพบอักษรนาครี และจีน อย่างละ 1 หลัก

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2564 22:20:35 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2566 14:48:27 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกใบเสมาวัดโนนศิลา 2

หลังปัลลวะ

พราหมณ์ผู้หนึ่งนามว่า มหายุต ได้ทำบุญอุทิศกุศลกรรมให้แก่บุคคล 2 คน

จารึกใบเสมาวัดโนศิลา 2, จารึกใบเสมาวัดโนศิลา 2, ขก. 17, ขก. 17, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดโนนศิลา, บ้านฝายหิน, ตำบลหนองไผ่, อำเภอชุมแพ, จังหวัดขอนแก่น, ตำบลวังหินลาด, ทวารวดี, พระพรหม, พราหมณ์มหายุต, ระสา, พุทธศาสนา, บุญ, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโนนศิลา ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-มหายุต, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

อุโบสถ วัดโนนศิลา บ้านฝายหิน ตำบลวังหินลาด (ข้อมูลเดิมว่า ตำบลหนองไผ่) อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 25 มีนาคม 2559)

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/882?lang=th

2

จารึกใบเสมาวัดโนนศิลา 1

หลังปัลลวะ

กลุ่มบุคคลหนึ่งอันประกอบด้วย ระโว ทะระนาม และ สมุส ได้อุทิศบุญนี้ ให้แก่ กลุ่มบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง ประกอบด้วย ทะรง สุพาหุ และ มะรัง และ ขอให้การทำบุญในครั้งนี้ มีผลต่อๆ ไปจนถึงยุคของพระศรีอารยเมตไตรย์

จารึกใบเสมาวัดโนนศิลา 1, จารึกใบเสมาวัดโนนศิลา 1, ขก. 16, ขก. 16, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดโนนศิลา บ้านฝายหิน ตำบลหนองไผ่ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น, ตำบลวังหินลาด, ทวารวดี, ระโว, ชายทะระนาม, สมุส, ชายทะรง, ชายสุพาหุ, ชายมะรัง, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระพุทธอารยะเมตไตรย, พระศรีอารยเมตตไตรย, พุทธศาสนา, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโนนศิลา ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ระโว, บุคคล-ทะระนาม, บุคคล-สมุส, บุคคล-ทะรง, บุคคล-สุพาหุ, บุคคล-มะรัง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

อุโบสถวัดโนนศิลา บ้านฝายหิน ตำบลวังหินลาด (ข้อมูลเดิมว่า ตำบลหนองไผ่) อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 25 มีนาคม 2559)

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/880?lang=th

3

จารึกใบเสมาบ้านพันนา

หลังปัลลวะ

ข้อความจารึกระบุถึงผู้อยู่ในตระกูลมิปสุรยะว่าได้ร่วมกันสร้างดาลประตูหน้าต่างวิหาร (วัด) นี้

จารึกใบเสมาบ้านพันนา, สน. 10, สน. 10, ศิลา, ประเภทหินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, ทรงกลีบบัว, บริเวณบ้านเลขที่ 28 หมู่ 1 บ้านพันนา ตำบลพันนา อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร, บริเวณบ้านเลขที่ 28 หมู่ 1 บ้านพันนา ตำบลพันนา อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร, ทวารวดี, ตระกูลมิปสุรยะ, ดาลประตูหน้าต่างวิหาร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 6 กุมภาพันธ์ 2563)

พุทธศตวรรษ 14-15

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2961?lang=th

4

จารึกใต้ฐานรูปพระเจ้าศุทโธทนะ (พระพุทธบิดา)

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงพระนามของพระเจ้าสุทโธทนะ ซึ่งเป็นพระบิดาของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ศากยวงศ์ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ มีพระชายานามว่า สิริมหามายา พระโอรสคือ เจ้าชาย สิทธัตถะ พระองค์ทรงพยายามทุกวิถีทาง ไม่ให้เจ้าชายเกิดความเบื่อหน่ายในการครองเรือนจนสละโลก เพราะต้องการให้เป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ตามคำทำนาย แต่เมื่อเจ้าชายทรงออกบวชและเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ก็ทรงพอพระทัยและเห็นประโยชน์ของการออกบวช จึงทรงอนุญาตให้เจ้าชายในศากยวงศ์หลายพระองค์ ออกบวชเพื่อสืบทอดพระศาสนา พระเจ้าสุทโธทนะนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาก็ทรงบรรลุโสดาปัตติผล และเมื่อได้ฟังธรรมอีกครั้งก็บรรลุสกิทาคามิผล ต่อมาได้สดับมหาธัมมปาลชาดก ได้บรรลุอนาคามิผล ในบั้นปลายชีวิต ได้สดับพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้า และบรรลุอรหัตผลในที่สุด

59/06, 59/06, จารึกใต้ฐานรูปพระเจ้าศุทโธทนะ (พระพุทธบิดา), ดินเผา, ประติมากรรมรูปบุคคล นั่งประนมมือ, เจดีย์หมายเลข 11, เจดีย์หมายเลข 11, เมืองโบราณอู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, ศุทโธทนะ, สุทโธทนะ, พุทธบิดา, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรมศิลปากร, รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถาน เมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธสาวก พุทธสาวิกา, ปีเตอร์ สกิลลิ่ง, ศานติ ภักดีคำ, Fragile Palm Leaves, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานประติมากรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา,เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าสุทโธทนะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1005?lang=th

5

จารึกเสาแปดเหลี่ยม (ลพบุรี)

หลังปัลลวะ

เนื้อหาในจารึกนี้ แบ่งเป็น 4 เรื่อง กล่าวถึงการทำบุญของบุคคลและคณะบุคคลต่างๆ กัน โดยการถวายสัตว์, สิ่งของ และข้าพระแก่พระพุทธรูป

จารึกเสาแปดเหลี่ยม (ลพบุรี), ลบ. 1, ลบ. 1, จารึกที่ 18 จารึกบนเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูงเมืองลพบุรี, จารึกที่ 18 จารึกบนเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูงเมืองลพบุรี, หลักที่ 18 จารึกบนเสาแปดเหลี่ยมศาลสูงเมืองลพบุรี, หลักที่ 18 จารึกบนเสาแปดเหลี่ยมศาลสูงเมืองลพบุรี, จารึกเสาแปดเหลี่ยม, Lopburi Sansung, K. 409, ศิลา, หินทรายหยาบ, เสาแปดเหลี่ยม, ศาลสูงเมืองลพบุรี, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พระพุทธรูปวุทร, พระพุทธรูปวุทรรักขะ, สีลปาละ, สีลกุมาร, สุมุง, ข้าพระ, ปู่ข้อยยุเกรี้ยะห์, อินทะ, นักฟ้อนรำ, ปฎิบัติสงฆ์, ชาวสะวิฆะนะสัตว์: วัว, โค, ลา, เกวียน, ไทยธรรม, พุทธศาสนา, การทำบุญ, การถวายข้าพระ, กัลปนา, ตรงใจ หุตางกูร, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, R. Halliday and C. O. Blagden, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXX, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึก พ.ศ. 1314, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระพุทธรูป

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ราว พ.ศ. 1314

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/921?lang=th

6

จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ (สุพรรณบุรี)

หลังปัลลวะ

คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)”

จารึกเยธมฺมาฯ 7 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 7 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, สพ. 4, สพ. 4, หลักที่ 30 จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, หลักที่ 30 จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, แผ่นอิฐ, สี่เหลี่ยมผืนผ้า, บ้านท่าม่วง, ตำบลจระเข้สามพัน, อำเภออู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/150?lang=th

7

จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา

หลังปัลลวะ

คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)”

จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, รบ. 2, รบ. 2, ศิลาสีเขียว, พระพุทธรูปยืน ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, วัดเพลง, ตำบลหลุมดิน, จังหวัดราชบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ

พระอุโบสถวัดมหาธาตุวรวิหาร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/152?lang=th

8

จารึกเมืองพรหมทิน 1

หลังปัลลวะ

คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)”

จารึกเยธมฺมาฯ 9 (เมืองพรหมทิน), จารึกเยธมฺมาฯ 9 (เมืองพรหมทิน), จารึกเมืองพรหมทิน 1, จารึกเมืองพรหมทิน 1, ลบ. 16, ลบ. 16, ศิลา, สี่เหลี่ยมผืนผ้า, บ้านพรหมทิน, ตำบลหลุมข้าว, อำเภอโคกสำโรง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, เทิม มีเต็ม, แสง มนวิทูร, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, เทิม มีเต็ม, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านพรหมทินใต้ ลพบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560)

พุทธศตวรรษ 13

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/154?lang=th

9

จารึกเนินสระบัว

หลังปัลลวะ

เป็นคำสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย การทำบุญ และการประดิษฐานเทวรูป

จารึกเนินสระบัว, หลักที่ 56 ศิลาจารึกเนินสระบัว, หลักที่ 56 ศิลาจารึกเนินสระบัว, ปจ. 14, ปจ. 14, พุทธศักราช 1304, มหาศักราช 683, พ.ศ. 1304, ม.ศ. 683, ศิลา, หินทรายสีเขียว, ใบเสมา, เนินสระบัว, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมโหสถ, อำเภอศรีมหาโพธิ, จังหวัดปราจีนบุรี, เจนละ, มรเตงพุทธศิริ, พระศาสดา, พระพุทธเจ้า, กมรเตง, กัมรเตง, พระบาทนระ, พระทศพล, โคตรกูลปาทวะ, พระสงฆ์, พระโค, เกริน,ไทยธรรม, รัตนะ, เรือน, สะพาน, ทะเล, โลก, พุทธศาสนา, พระธรรม, นิรยภูมิ, ศีล, ปัญญา, บาป, คบะ, พระรัตนตรัย, การประดิษฐานเทวรูป, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1304, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระพุทธเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญพระรัตนตรัย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

ข้อมูลเดิมระบุว่าอยู่ที่ วัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ ตำบลโคกปีบ อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี จากการสำรวจพบว่าจารึกอยู่ที่ โบราณสถานสระมรกต อาคารศรีมโหสถ (24 กรกฎาคม 2554) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7 พฤศจิกายน 2563)

พุทธศักราช 1304

บาลี,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/321?lang=th

10

จารึกเขาปุษยคีรี

หลังปัลลวะ

จารึกกล่าวระบุว่าภูเขาแห่งนี้ชื่อปุษยคีรี

จารึกเขาปุมยะคีรี, รบ. 3, รบ. 3, จารึกเขาปุษยคีรี, ศิลา, ธรรมจักร, วัดโขลงสุวรรณภูมิทวาราม, วัดโขลงสุวรรณคีรี, ตำบลคูบัว, จังหวัดราชบุรี, เมืองอู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, เมืองโบราณ, ทวารวดี, ปุมยะคีรี, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกเขาปุมยะคีรี, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, นพชัย แดงดีเลิศ, จารึกทวารวดี : การศึกษาเชิงอักขรวิทยา, รุ่งโรจน์ ภิรมย์กุล, ปุษยคิริ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนธรรมจักร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/939?lang=th

11

จารึกหินขอน 2

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างสิ่งของต่างๆ ที่ท่านราชภิกษุอุปาธยายะถวายไว้กับวัด เพื่อให้ผลบุญนั้นนำไปสู่พุทธภูมิ จารึกนี้ มีความเกี่ยวข้องกับจารึกหินขอน 1 (นม. 28)

จารึกหินขอน 2, จารึกหินขอน 2, นม. 31, นม. 31, Piliers de Hin Khon, K. 389, หลักที่ 122 จารึก 2 หลักบนเสาที่หินขอน อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา, หลักที่ 122 จารึก 2 หลักบนเสาที่หินขอน อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา, ศิลา, เสาสี่เหลี่ยม, บ้านหินขอน, อำเภอปักธงชัย, จังหวัดนครราชสีมา, เจนละ, อารามิก, คนสวน, ทาส, พระกัมรเตงอัญ, พระกำมรเตงอัญ, อุปาธยายะ, พระพุทธองค์, โวทิ, พรหมรุธิระ, กันไต, กโนจ, ศีลคนะ, กำไปย, ธรรมภักดี, สุคตปาล, วิทยา, ญาณกีรัตติ, วิทยากีรัตติ, ต้นหมาก, ต้นมะพร้าว, โค, วัว, เครื่องดนตรี, สโตภะ, ขวด, จรา, ฆ้องสัมฤทธิ์, ฆ้องสำริด, สังข์, เครื่องประกอบ, โลหะ, ทำริง, กลศ, สวน, สโรพรา, ทุ่งนา, พุทธศาสนา, พุทธภูมิ, ราชวิหาร, การบริจาคทาน, ตรงใจ หุตางกูร, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านหินขอน นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-อุปาธยายะศรีราชภิกษุ, ไม่มีรูป

บ้านหินขอน (ไม่ทราบว่าหมายถึงที่ไหนในปัจจุบัน) อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ไม่ปรากฏ (วันที่ 11 มีนาคม 2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/905?lang=th

12

จารึกหินขอน 1

หลังปัลลวะ

ศ. ยอร์ช เซเดส์ อธิบายไว้ว่า จารึกภาษาสันสกฤตด้านที่ 1 และ 2 นั้น เป็นของนักพรต ซึ่งมีตำแหน่งเป็นราชภิกษุ ท่านได้สร้างใบเสมาศิลาขึ้น 4 แผ่น ซึ่งคงรวมเสาหินที่มีจารึกและภาพสลักเหล่านี้ไว้ด้วย และยังได้สร้างวิหาร ซึ่งท่านได้บริจาคสิ่งของเป็นอันมาก เราจะเห็นได้ว่า ท่านราชภิกษุ ผู้นี้คือ เจ้าชายซึ่งได้ออกผนวช จารึกบทอื่นๆ คงมีแต่การสาปแช่ง ส่วนข้อความภาษาเขมรนั้น ชำรุดไปมาก ท่านราชภิกษุผู้นี้ มีสมญาว่า “อุปธยายะ” และสถานที่ตั้งศาสนสถานของท่านซึ่งคงเป็นหินขอนนี้เอง ก็มีนามว่า “เสฺราพฺรา” หรือ “สฺโรพฺรา” ซึ่งในอีกจารึกหนึ่ง เรียกว่า “สฺโรพฺราอะ” จารึกด้านที่ 2 จบลงด้วยการเริ่มต้นบัญชีสิ่งที่บริจาค ซึ่งมีต่อไปในด้านที่ 3 ส่วนจารึกด้านที่ 4 นั้นแจ้งให้เราทราบว่า ท่านราชภิกษุนี้เป็นเจ้า (หรือพระเจ้า) นฤเปนทราธิปติวรมัน โอรสของผู้สูงศักดิ์อีกองค์หนึ่ง ซึ่งมีพระนามคล้ายคลึงกัน ทั้งสององค์คงเป็นเจ้านายในราชวงศ์พื้นเมือง ต่อจากนั้น จารึกก็กล่าวถึง กำหนดเขตของพื้นที่ ซึ่งอาจมีชื่อว่า “สฺตุกสฺวาย” และการบริจาคที่ดินแห่งนี้ ก็คงจะจารึกอยู่ในบทก่อนหน้านั้น

จารึกหินขอน 1, จารึกหินขอน 1, นม. 28, นม. 28, Piliers de Hin Khon, K. 388, หลักที่ 121 จารึก 2 หลักบนเสาที่หินขอน อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา, หลักที่ 121 จารึก 2 หลักบนเสาที่หินขอน อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา, ศิลา, ท่านศรีราชภิกษุ, คณะสงฆ์, พระสุคต, ทาส, วรรณะทั้งสี่, คนเลว, คนชั่ว, ท่านอุปาธยายะศรีราชภิกษุ, พระกยากศรีวฤทเธศวร, อินทรวรมะจักรวรรติ, อินทรวรมะจักรพรรติ, อินทรวรมันจักรวรรติ, อินทรวรมันจักรพรรติ, พระเจ้าอินทรวรมัน, ตำรางเสตง, พระกำมรเตงอัญศรีจักรวรรติอินทรวรมัน, พระกำมรเตงอัญศรีจักรพรรติอินทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีจักรวรรติอินทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีจักรพรรติอินทรวรมัน, กำมรเตงอัญวิกรมรุทระ, กัมมรเตงอัญวิกรมรุทระ, พระผู้เป็นเจ้า, ทาสพระ, ข้าพระ, กำมรเตงอัญศรีราชภิกษุ, กัมรเตงอัญศรีราชภิกษุ, ศรีนฤเปนทราธิปติวรมัน, กันไต, โวธิคนะ, โวธิปริยะ, คิ, หฤทัยรักษะ, ศีลคนะ, กทัต, กไชย, ทวาร, มนุธรรม, วิทยาคุปตะ, กันเยง, โวธิศีล, ภัทร, โวธิคุปตะ, โวธีคุปตะ, โวธิปาล, โวธิสัมโภต, กัลปพฤกษ์, ต้นหมาก, โค, วัว, ช้าง. เสมาศิลา, สีมาศิลา, จีวร, กฐิน, เครื่องนุ่งห่ม, อาหาร, เครื่องขบเคี้ยว, เครื่องดื่ม, หมาก, ผลไม้, ดอกไม้, ต้นไม้, เชิงเทียนเหล็ก, รังคะ, เหล็กแท่ง, วรรธมานะ, ขวด, สังข์, ทองแดง, จรา, กำยาน, คธา, คทา, จันโหยทอง, จันโหยเงิน, ทุ่งนา, สวรรค์, สวน, นรก, นรกสามเหลี่ยม, นรกสี่เหลี่ยม, นรกห้าเหลี่ยม, นรกหกเหลี่ยม, นรกเจ็ดเหลี่ยม, นรกแปดเหลี่ยม, เสราพรา, ถนน, สตุกสวาย, พุทธศาสนา, ทาน, วัด, เจดีย์, วิหาร, การบริจาคทาน, ตรงใจ หุตางกูร, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านหินขอน นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-พระเจ้านฤเปนทราธิปติวรมัน, บุคคล-อุปาธยายะศรีราชภิกษุ

บ้านหินขอน (ไม่ทราบว่าหมายถึงที่ไหนในปัจจุบัน) อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ไม่ปรากฏหลักฐาน (วันที่ 11 มีนาคม 2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/900?lang=th

13

จารึกห้วยมะอึ

หลังปัลลวะ

เนื่องจากจารึกลบเลือนไปเกือบหมด จึงทำให้อ่านไม่ได้ใจความนัก เท่าที่อ่านได้มีปรากฏคำว่า โภคะ โลก และ ความหลุดพ้น น่าจะเป็นจารึกที่เกี่ยวข้องกับหลักธรรมทางศาสนา

จารึกห้วยมะอึ, ชย. 2, ชย. 2, ศิลา, ห้วยมะอึ, ตำบลบ้านยาง, อำเภอเกษตรสมบูรณ์, (ข้อมูลเดิมว่า อำเภอผักปัง) จังหวัดชัยภูมิ, เจนละ, โภคะ, ความหลุดพ้น, ตรงใจ หุตางกูร, E. Seidenfaden, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XII, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกตำบลหนองหินตั้ง อำเภอเกษตรสมบูรณ์ ชัยภูมิ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา

หนองหินตั้ง อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3549?lang=th

14

จารึกหลังเทวรูปท้าวกุเวร

หลังปัลลวะ

เป็นคาถาว่าด้วยทางดับทุกข์

จารึกหลังเทวรูปท้าวกุเวร, สำริด, สัมฤทธิ์, เทวรูปท้าวกุเวร, อำเภอสทิงพระ, จังหวัดสงขลา, ศรีวิชัย, ท้าวกุเวร, ท้าวชุมพล, พระมหาสมณเจ้า, ศิรัศจักร, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, นิโรธ, นวพรรณ ภัทรมูล, ทัศนีย์ พิกุล, สุธน เจริญพงษ์, ณัฏฐภัทร จันทวิช, ประวัติวัดมัชฌิมาวาสและนำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มัชฌิมาวาส (ภัทรศีลสังวร), อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่หลังเทวรูป, ลักษณะ-จารึกที่หลังเทวรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มัชฌิมาวาส (ภัทรศีลสังวร) สงขลา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มัชฌิมาวาส (ภัทรศีลสังวร) ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา (สำรวจเมื่อ 26 กุมภาพันธ์-1 มีนาคม 2561)

พุทธศตวรรษ 14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1003?lang=th

15

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 4

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์องค์นี้เพื่อท่านปิณญะอุปัชฌายาจารย์

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 4, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 4, จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 4 (ฟ้าแดดสูงยาง), จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 4 (ฟ้าแดดสูงยาง), ดินเผา, พระพิมพ์, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/858?lang=th

16

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 3

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์องค์นี้เพื่อท่านปิณญะอุปัชฌายาจารย์

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 3, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 3, จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 3 (ฟ้าแดดสูงยาง), จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 3 (ฟ้าแดดสูงยาง), ดินเผา, พระพิมพ์, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/856?lang=th

17

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2

หลังปัลลวะ

เป็นข้อความสั้นๆ กล่าวแต่เพียงสังเขปว่า “พระพิมพ์องค์นี้ ปิณญะอุปัชฌายาจารย์ ผู้มีคุณเลื่องลือไกล” ซึ่งก็อาจแปลความได้ว่า พระพิมพ์องค์นี้ ท่านปิณญะอุปัชฌาจารย์ เกจิผู้มีชื่อเสียงได้สร้างขึ้นไว้สำหรับให้สาธุชนได้รับไปบูชา คติการจารึกชื่อผู้อุปถัมภ์ในการสร้างพระพิมพ์ในการสร้างพระพิมพ์ พบได้ในพระพิมพ์ดินเผาที่เมืองศรีเทพได้ด้วยเช่นกัน แต่ในกรณีนั้น เป็นชื่อของพระภิกษุชาวจีน ผู้มีนามว่า “เหวินเซียง”

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, กส. 2, กส. 2, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผาพุทธลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปางเทศนา ศิลปทวารวดี, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์,ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/850?lang=th

18

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1

หลังปัลลวะ

เป็นข้อความสั้นๆ กล่าวแต่เพียงสังเขปว่า “พระพิมพ์องค์นี้ ปิณญะอุปัชฌายาจารย์ ผู้มีคุณเลื่องลือไกล” ซึ่งก็อาจแปลความได้ว่า พระพิมพ์องค์นี้ ท่านปิณญะอุปัชฌาจารย์ เกจิผู้มีชื่อเสียงได้สร้างขึ้นไว้สำหรับให้สาธุชนได้รับไปบูชา คติการจารึกชื่อผู้อุปถัมภ์ในการสร้างพระพิมพ์ พบได้ในพระพิมพ์ดินเผาที่เมืองศรีเทพด้วยเช่นกัน แต่ในกรณีนั้น เป็นชื่อของพระภิกษุชาวจีน ผู้มีนามว่า “เหวินเซียง”

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, กส. 1, กส. 1, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผาพุทธลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปางสมาธิ ศิลปทวารวดี, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, ปิณญะอุปัชฌายาจารย์, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ปิณญะอุปัชฌายาจารย์

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/848?lang=th

19

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผานาดูน 2

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการทำบุญของบุคคลผู้หนึ่ง คือ กอมระตาญง์

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผานาดูน 2, จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผานาดูน 2, มค. 3, มค. 3, ดินเผา, พระพิมพ์, วัดโนนศิลา, บ้านฝายหิน, ตำบลหนองไผ่, อำเภอชุมแพ, จังหวัดขอนแก่น, ตำบลวังหินลาด, ทวารวดี, กอมระตาญง์, กัมรเตง, กมรเตง, พุทธศาสนา, บุณย์, บุญ, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, ประสาร บุญประคอง, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกตำบลนาดูน อำเภอนาดูน มหาสารคาม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-กอมระตาญง์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/919?lang=th

20

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผานาดูน 1

หลังปัลลวะ

ขุนนาง หรือ พระยาผู้หนึ่ง ที่จารึกหลักนี้เรียกว่า กอมระตาญง์ ร่วมกับสหายที่เป็นสามัญชน ได้ทำบุญ โดยสร้างพระพิมพ์ดินเผาองค์นี้ขึ้นมา

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผานาดูน 1, จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผานาดูน 1, มค. 2, มค. 2, ดินเผา, พระพิมพ์, วัดโนนศิลา, บ้านฝายหิน, ตำบลวังหินลาด, ตำบลหนองไผ่, อำเภอชุมแพ, จังหวัดขอนแก่น, ทวารวดี, กอมระตาญง์, กัมรเตง, กมรเตง, พุทธศาสนา, บุณย์, บุญ, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, ประสาร บุญประคอง, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกตำบลนาดูน อำเภอนาดูน มหาสารคาม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กอมระตาญง์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/917?lang=th

21

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผากู่สันถรัตน์

หลังปัลลวะ

เนื่องจากจารึกชำรุดบางส่วน ข้อความที่จารึกจึงไม่สมบูรณ์ พบเพียงข้อความกล่าวถึงพระพิมพ์องค์นี้โดยไม่ปรากฏรายละเอียดอื่นใด

จารึกหลังพระพิมพ์ดินเผากู่สันถรัตน์, มค. 4, มค. 4, อักษรตัวเขียนด้านหลังพระพิมพ์ดินเผากู่สันถรัตน์ กิ่งอำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม, ดินเผาสีแดง, พระพิมพ์ดินเผารูปทรงสี่เหลี่ยม, กู่สันถรัตน์, ตำบลนาดูน, กิ่งอำเภอนาดูน, จังหวัดมหาสารคาม, ทวารวดี, พุทธศาสนา, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาชัย มหาสารคาม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

วัดมหาชัย ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม (คณะสำรวจฯ ขอเข้าพบ พระครูอรุณทยานุวัฒน์ ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่านเล่าให้คณะฯ ฟังว่า พระอริยานุวัตร์ เจ้าอาวาสวัดมหาชัย ได้ยืมมาจากคหบดีผู้หนึ่งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม นำมาจัดแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์ แต่พิพิธภัณฑ์ก็มีการปรับปรุงหลายครั้ง กอปรกับเจ้าอาวาสได้มรณภาพ จึงไม่ทราบว่าจารึกหลักที่ตามหาอยู่ที่ใด ซึ่งสันนิษฐานไว้สองกรณี 1.ผู้เป็นเจ้าของได้นำกลับไปแล้ว 2.จารึกมีขนาดเล็ก จึงยังหาไม่พบ สำรวจเมื่อ 24-27 สิงหาคม 2559)

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/978?lang=th

22

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 2

หลังปัลลวะ

จารึกชิ้นนี้ เป็นจารึกบนสถูป อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อถวายวัด โดยมีการจารึกคาถาเยธมฺมาฯ และ คำอุทิศการทำบุญครั้งนี้ด้วยภาษามอญโบราณ ลงบนตัวสถูปดินเผาเพื่อให้ได้บุญ (โปรดดูเนื้อหาของคาถาเยธมฺมาฯ ใน “จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม)” หรือ “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)”) ส่วนคำจารึกภาษามอญโบราณนั้น ไม่ชัดเจนลบเลือนไปมาก อ่านได้เพียงคำว่า “ปุณ” และ “วิหาร” เท่านั้น แต่เนื่องจากมีสถูปดินเผาอีกองค์ คือจารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1 (นว. 1) ซึ่งพบที่เดียวกัน มีข้อความสมบูรณ์ จึงทราบได้ว่า สถูปดินเผาทั้ง 2 องค์นี้ มีข้อความเหมือนกันทุกประการ

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 2, จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 2, จารึกเมืองทัพชุมพล 2, จารึกเมืองทัพชุมพล 2, ลบ. 26, ลบ. 26, ดินเผา, รูปสถูป, เมืองทัพชุมพล, บ้านทัพชุมพล, ตำบลหนองกรด, จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พระมหาสมณเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ธรรม, เหตุ, ความดับ, อุบาย, เยธัมมา, เยธรรมมา, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่โรงพยาบาลชัยนาท จังหวัดชัยนาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 14-15

บาลี,มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/913?lang=th

23

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1

หลังปัลลวะ

จารึกชิ้นนี้ เป็นจารึกบนสถูป อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อถวายวัด โดยมีการจารึกคาถาเยธมฺมาฯ และ คำอุทิศการทำบุญครั้งนี้ด้วยภาษามอญโบราณ ลงบนตัวสถูปดินเผาเพื่อให้ได้บุญ (โปรดดูเนื้อหาของคาถาเยธมฺมาฯ ใน “จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม)” หรือ “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)”) ส่วนคำจารึกภาษามอญโบราณนั้น มีความว่า “พระสถูปนี้ บรรพบุรุษทั้งสามกระทำไว้ใกล้วิหาร”

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1, จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1, จารึกเมืองทัพชุมพล 1, จารึกเมืองทัพชุมพล 1, นว. 7, นว. 7, ดินเผา, รูปสถูป, เมืองทัพชุมพล, บ้านทัพชุมพล, ตำบลหนองกรด, จังหวัดนครสวรรค์, พระมหาสมณเจ้า, พระพุทธเจ้า, ทวารวดี, พระสถูป, วิหาร, พุทธศาสนา, ธรรม, เหตุ, เยธัมมา, เยธรรมมา, ความดับ, อุบาย, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่โรงพยาบาลชัยนาท จังหวัดชัยนาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 14-15

บาลี,มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/911?lang=th

24

จารึกสถาปนาสีมา

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างสิ่งของอันใดอันหนึ่งเป็นกุศลทาน มีอานิสงส์ยังให้เกิดความสุขในโลกสวรรค์

จารึกสถาปนาสีมา, ขก. 2, ขก. 2, Vat Si That Pramancha, K. 981, K. 981, ศิลา, หินทรายสีเทา, เสากลม, อำเภอกุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์, ทวารวดี, พระเถระ, พระภิกษุ, สีมา, เสมา, ศิลา, พุทธศาสนา, สถาปนาศิลา, สถาปนาสีมา, สถาปนาเสมา, ตรงใจ หุตางกูร, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสากลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/878?lang=th

25

จารึกวัดโพธิ์ชัยเสมาราม

หลังปัลลวะ

เป็นคำจารึกสั้นเพื่อบอกชื่อผู้สร้างพระพิมพ์องค์นี้ คือ เนียะมุ่น และ สมิงพระจักร และขอให้บุญที่ได้อุปถัมภ์สร้างใบเสมานี้ ส่งผลต่อไปในภายหน้า

จารึกวัดโพธิ์ชัยเสมาราม, กส. 7, กส. 7, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดโพธิ์ชัยเสมาราม ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, เนียะมุ่น, สมิงพระจักร, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิ์ชัยเสมาราม กาฬสินธุ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างใบเสมา, บุคคล-เนียะมุ่น, บุคคล-สมิงพระจักร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลหลักเมือง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

พุทธศตวรรษ 14-15

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/874?lang=th

26

จารึกวัดเสมาเมือง

หลังปัลลวะ

ด้านที่ 1 เนื้อความตอนต้นเป็นการสรรเสริญความยิ่งใหญ่ของพระเจ้ากรุงศรีวิชัย ช่วงต่อมากล่าวถึงพระบรมราชโองการให้พระเถระนามว่าชยันตะ สร้างปราสาทอิฐ 3 หลัง เพื่อถวายให้เป็นที่ประทับแด่พระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และ พระโพธิสัตว์วัชรปาณี ต่อมาเมื่อชยันตเถระมรณภาพ ลูกศิษย์ของท่านคืออธิมุกติเถระ ได้สร้างปราสาทอิฐขึ้นอีก 2 หลัง ใกล้ๆ กัน ส่วนด้านที่ 2 นั้น กล่าวว่า พระเจ้ากรุงศรีวิชัยพระองค์นี้ พระนามว่า “ศรีมหาราชา” เป็นมหากษัตริย์ในไศเลนทรวงศ์ ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งปวง เปรียบได้ดั่งพระวิษณุองค์ที่ 2

จารึกวัดเสมาเมือง, หลักที่ 23 ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง, หลักที่ 23 ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง, นศ. 9, นศ. 9, พ.ศ. 1318, ม.ศ. 697, พุทธศักราช 1318, มหาศักราช 697, พ.ศ. 1318, ม.ศ. 697, พุทธศักราช 1318, มหาศักราช 697, ศิลา, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเสมาเมือง, ตำบลเวียงศักดิ์, จังหวัดนครศรีธรรมราช, ศรีวิชัย, พระพรหม, พระมนู, อาทิตย์, พระวิษณุ, พระศิวะ, พระอินทร์, พระเจ้ากรุงศรีวิชัย, พระมุนี, พระโพธิสัตว์, พระยามาร, พระชินราช, พระชินะ, พระราชสถวิระ, อธิมุกติ, ศรีวิชเยนทรราชา, พระราชาสามนต์, พระราชาศรีวิชเยนทร, ชยันตะ, เทวราช, พระราชาคณะ, ต้นมะม่วง, ต้นพิกุล, พระยานาค, ปลาอานนท์, แก้วมุกดา, เพชร, พลอย, นาค, วชิระ, ทยา, แก้วมณี, ลูกศร, ไฟ, จินดามณี, หิมาลัย, ปราสาท, พระเจดีย์, พุทธศาสนามหายาน, พระคุณประสิทธิ, วินัยคุณ, เศารยคุณ, สรุตคุณ, ศมคุณ, กษมาคุณ, ไธรยคุณ, ตยคคุณ, ทยุติคุณ, มติคุณ, ทยคุณ, พระธรรม, ปทุมปาณี, วัชรปาณี, ไตรโลก, นยะ, วินยะ, เศารัยะ, ศรุตะ, ศมะ, กษมา, ไธรัยยะ, ตยาคะ, ทยุติมติ, อมตบท, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1318, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีวิชัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีวิชัย-ศรีมหาราชา, บุคคล-พระเจ้ากรุงศรีวิชัย, บุคคล-ศรีมหาราชา, บุคคล-ชยันตะ, บุคคล-อธิมุกติเถระ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1318

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/323?lang=th

27

จารึกวัดสระแก้ว

หลังปัลลวะ

จารึกชำรุดเกือบทั้งด้าน เหลืออ่านได้เพียง 2 บรรทัดเท่านั้น ซึ่งก็ไม่ครบบรรทัดอีกเช่นกัน ที่อ่านได้เป็นชื่อของ “มหิปติวรมัน” เท่านั้น ชื่อนี้ ไม่ปรากฏในทำเนียบพระมหากษัตริย์ของเมืองพระนคร ดังนั้นจึงขอสันนิษฐานว่า “มหิปติวรมัน” นี้ น่าจะเป็นผู้ปกครองท้องถิ่น ซึ่งอาจได้รับอำนาจปกครองมาจากเมืองพระนครให้ปกครองแว่นแคว้นแห่งนี้

จารึกวัดสระแก้ว, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา1, วัดสระแก้ว, พิบูลย์มังสาหาร, อำเภอพิบูลมังสาหาร, ตำบลพิบูล,จังหวัดอุบลราชธานี, เจนละ, มหิปติวรมัน, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสระแก้ว อุบลราชธานี, บุคคล-มหิปติวรมัน

วัดสระแก้ว ตำบลพิบูล อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี (ข้อมูลวันที่ 12 มีนาคม 2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/933?lang=th

28

จารึกวัดบ้านมะค่า

หลังปัลลวะ

มีข้อความว่า “. . . เป็นที่เคารพตามสมมติเหมือนรูปทั้งปวง”

จารึกวัดบ้านมะค่า, กส. 3, กส. 3, ศิลา, หินทรายสีแดง, สี่เหลี่ยม, วัดบ้านมะค่า, อำเภอท่าคันโท, จังหวัดกาฬสินธุ์, วัดโคกกัมภ์, บ้านโนนมะค่า, ตำบลกุงเก่า, เจนละ, พราหมณ์, ฮินดู, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/852?lang=th

29

จารึกพุทธอุทานบ้านพรหมทิน

หลังปัลลวะ

เนื้อความที่ปรากฏบนจารึกหลักนี้ คือ “พุทธอุทาน” ซึ่งเป็นคาถาอยู่ในพระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาคที่ 1 มหาขันธกะ เรื่องโพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ โดยมีเนื้อเรื่องโดยย่อว่า “พระผู้มีพระภาคตรัสรู้ใหม่ ประทับ ณ โคนไม้โพธิริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในตำบลอุรุเวลา พระองค์ประทับนั่งเสวยวิมุติสุข ณ โคนไม้โพธิตลอด 7 วัน ในเวลาปฐมยามแห่งราตรี ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท (ธรรมที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุปัจจัย) สายเกิด แล้วทรงเปล่งอุทาน ความว่า “เมื่อธรรมปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เขาย่อมสิ้นความสงสัย เพราะรู้ธรรมพร้อมทั้งต้นเหตุ” ในเวลามัชฌิมยามแห่งราตรี ทรงพิจารณา ปฏิจจสมุปบาทสายดับ แล้วทรงเปล่งอุทาน ความว่า “เมื่อธรรมปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เขาย่อมสิ้นความสงสัย เพราะได้ทราบถึงความสิ้นไปแห่งปัจจัย” ในเวลาปัจฉิมยามแห่งราตรี ทรงพิจารณา ปฏิจจสมุปบาท ทั้งโดยอนุโลม (ตามลำดับ) และ โดยปฏิโลม (ย้อนกลับ) แล้วทรงเปล่งอุทานความว่า “เมื่อธรรมปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ พราหมณ์นั้น ย่อมกำจัดมารพร้อมทั้งเสนาเสียได้ดั่งดวงอาทิตย์ทำท้องฟ้าให้สว่างฉะนั้น”” จะเห็นว่าความในพระไตรปิฎกนั้น มีด้วยกัน 3 บท ส่วนความในจารึกนั้น แตกหักไปเป็นส่วนมาก จึงเหลือไว้เพียงบทที่ 2

จารึกพุทธอุทานบ้านพรหมทิน, ลบ. 24, ลบ. 24, จารึกเมืองพรหมทิน 2, จารึกเมืองพรหมทิน 2, ศิลา, หินดินดาน, แผ่นสี่เหลี่ยม, บ้านพรหมทินใต้, ตำบลหลุมข้าว, โคกสำโรง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พราหมณ์, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560)

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/929?lang=th

30

จารึกพันดุง

หลังปัลลวะ

ข้อความจารึกสองบรรทัดแรกกล่าวถึง ความนอบน้อมต่อพระศิวะ อันเป็นที่เคารพสักการะของผู้นับถือศาสนาพราหมณ์ สองบรรทัดต่อไปกล่าวถึงท่านผู้เป็นปราชญ์ คงหมายถึงพระศรีวัตสะ เพราะมีการระบุนามอย่างชัดเจนในสองบรรทัดต่อไป ได้สร้างรูปพระหริหระประทับที่ภูเขาซึ่งมีกระแสน้ำไหลแรง คงหมายถึง ภูเขาที่มีน้ำตก ไว้ประจำอาศรม พร้อมเทวรูปอื่นๆ สองบรรทัดที่สาม พระศรีวัตสะได้ถวายวัตถุสิ่งของ เครื่องอุปโภคบริโภค ให้แก่อาศรม พร้อมทั้งมอบประชาชนจำนวนหนึ่ง ให้เป็นผู้ดูแลรับใช้ในอาศรมด้วย ในสองบรรทัดเดียวกันนี้ ได้กล่าวถึงเหล่าพระมุนีทั้งหลายได้สร้างอาศรมไว้ เพราะมีน้ำบริบูรณ์ ทั้งได้สร้างรูปพระสุคตไว้ในอาศรมตามความคิดของฤษี สองบรรทัดที่สี่กล่าวถึงพราหมณ์ศรีธีธรรมาตกะ และสวามีศรีศิญชระ ได้ฝึกฝนในการบำเพ็ญตบะและการเจริญโยคสมาธิ สองบรรทัดสุดท้ายซึ่งมีความสำคัญมาก จารึกได้กล่าวถึงการสร้างพระสุคตประติมา ไว้ในเมือง ข้อความต่อไปในบรรทัดเดียวกันนี้ อักษรจารึกชำรุดหายไป จึงไม่ทราบว่าใครเป็นผู้สร้างพระสุคตประติมา จะเป็นพระศรีวัตสะ พระมุนี พราหมณ์ศรีธีธรรมาตมกะ หรือสวามีศรีศิญชระ และในเมืองนี้ ก็มิอาจทราบได้ว่าเป็นเมืองอะไร เพราะอักษรชำรุดดังกล่าว บรรทัดสุดท้ายของจารึก ระบุวัน เดือน ปี ที่สร้างพระสุคตประติมาไว้ในเมือง ว่าเป็นวันเสาร์ เดือน 1 ขึ้น 8 ค่ำ ปีศักราช 751 (พ.ศ. 1372)

จารึกพันดุง, จารึกพระศรีวัตสะสร้างเทวรูป อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต, นม. 38, นม. 38, พ.ศ. 1372, ม.ศ. 751, พุทธศักราช 1372, มหาศักราช 751, พ.ศ. 1372, ม.ศ. 751, พุทธศักราช 1372, มหาศักราช 751, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านพันดุง, ตำบลพันดุง, อำเภอขามทะเลสอ, จังหวัดนครราชสีมา, เจนละ, พระศิวะ, สุรสุรคุรเว, เทวะ, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระนางปารวตี, พระนางปารวดี, พระวิษณุ, พระมุนี, พระหริหระ, พระสุคตประติมา, พระราหู, นรชน, พระวัตสะ, สุพรหมฤษี, พราหมณ์, ศรีธีธรรมาตมกะ, สวามี, ศรีสิญชระ, โค, ช้าง, ม้า, ตรีศูล, ทองคำ, เครื่องอุปโภคบริโภค, พราหมณ์, ฮินดู, ปัญญา, ตปะ, ตบะ, โยค, สมาธิ, อาศรม, การสร้างเทวรูป, ที่ดิน, มนต์วิทยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1372, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาศรม, บุคคล-พระศรีวัตสะ, บุคคล-พราหมณ์ศรีธีธรรมาตกะ, บุคคล-สวามีศรีศิญชระ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563)

พุทธศักราช 1372

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/974?lang=th

31

จารึกพระสถูปพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย

หลังปัลลวะ

จารึกคาถา เย ธมฺมาฯ

จารึกพระสถูปพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย, จารึกพระสถูปพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย, ตง. 1/4, ตง. 1/4, จารึกบนแผ่นดินดิบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีน้ำตาล, สำนักศิลปากรที่ 15, สำนักศิลปากรที่ 15, นวพรรณ ภัทรมูล, ชญานุตม์ จินดารักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่สำนักศิลปากรที่ 15 ภูเก็ต, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ

สำนักศิลปากรที่ 15 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18772?lang=th

32

จารึกพระพุทธไสยาสน์ภูเวียง

หลังปัลลวะ

เนื้อความในจารึกบอกให้ทราบว่า ชาวเมืองได้มาที่นี้แล้ว ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มานมัสการองค์พระพุทธรูปเขียนบอกให้ทราบว่า พวกเขาซึ่งเป็นชาวเมืองหรือชาวเมืองตะวันออกได้มาที่นี่แล้ว หรืออีกลักษณะหนึ่ง ชาวเมือง หรือชาวเมืองตะวันออก ได้มาแกะสลักศิลาเป็นองค์พระพุทธรูปไสยาสน์ ไว้บนภูเขานี้ แล้วเขียนจารึกบอกให้ทราบว่า ชาวเมืองตะวันออกได้มาที่นี่แล้ว

พระพุทธไสยาสน์ภูเขียว, ขก. 25, ขก. 25, ศิลา, ประติมากรรมสลักบนหน้าผา, พระพุทธรูปไสยาสน์, ยอดเขาภูเวียงด้านทิศใต้, บ้านโนนสะอาด, ตำบลไชยสอ, อำเภอชุมแพ, จังหวัด ขอนแก่น, พุทธศาสนามหายาน, ยาพิษ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนประติมากรรมสลักบนหน้าผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกยอดเขาภูเวียง ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สลักพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

ยอดเขาภูเวียงด้านทิศใต้ บ้านโนนสะอาด ตำบลไชยสอ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น (ข้อมูลวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563)

พุทธศตวรรษ 14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/951?lang=th

33

จารึกพระพิมพ์ดินเผาวัดโคกไม้เดน

หลังปัลลวะ

ข้อความคือคำนมัสการพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์

จารึกพระพิมพ์ดินเผาวัดโคกไม้เดน, นว. 6, น. 6, ดินเผา, ฐานพระพิมพ์ดินเผา, เจดีย์หมายเลข 4, เจดีย์หมายเลข 4, วัดโคกไม้เดน, วัดเขาไม้เดน, ตำบลท่าน้ำอ้อย, อำเภอพยุหคีรี, จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, พุทธศาสนา, พระรัตนตรัย, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระรัตนตรัย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14-15

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/909?lang=th

34

จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 3

หลังปัลลวะ

จารึกข้อความอริยสัจสี่

จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 3, จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 3, ตง. 1/3, ตง. 1/3, D4, จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ดินดิบสีน้ำตาลเทา, พระพิมพ์รูปทรงสี่เหลี่ยมปลายมน, สำนักศิลปากรที่ 15, สำนักศิลปากรที่ 15, นายถนอม อินทรภิรมย์, นวพรรณ ภัทรมูล, ชญานุตม์ จินดารักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

พุทธศตวรรษ 15-16

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18770?lang=th

35

จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 2

หลังปัลลวะ

จารึกข้อความอริยสัจสี่

จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 2, จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 2, ตง. 1/2, ตง. 1/2, D3, จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ดินดิบสีน้ำตาลเทา, พระพิมพ์รูปทรงสี่เหลี่ยมปลายมน, สำนักศิลปากรที่ 15, สำนักศิลปากรที่ 15, นายถนอม อินทรภิรมย์, นวพรรณ ภัทรมูล, ชญานุตม์ จินดารักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

พุทธศตวรรษ 15-16

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18768?lang=th

36

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 1

หลังปัลลวะ

เป็นจารึกที่กล่าวถึงบุคคลหนึ่งได้สร้างวัตถุขึ้นมาเพื่อผลบุญของท่าน ตามคำแนะนำของนักบวช

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 1, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 1, บร. 8, บร. 8วัตถุจารึก: ศิลา, หินทรายสีเทา, สี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพนมรุ้ง, ตำบลตาเป๊ก, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, จังหวัดบุรีรัมย์, เจนละ, นักพรต, พระนคร, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย,

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/915?lang=th

37

จารึกปราสาทตาเมือนธม 1

หลังปัลลวะ

ข้อความจารึกชำรุดขาดหายไป จับความได้เพียงว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย แต่อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่า บรรทัดแรกเป็นการแนะนำว่า พึงให้ผู้ใดผู้หนึ่งทำงานที่เกี่ยวข้องกับเทพ ด้วยความภักดีในพระศิวะ บรรทัดที่ 2 เป็นการแนะนำชนทั่วไป โดยใช้สรรพนามว่า ท่านทั้งหลายพึงถึงพระศิวะ โดยความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเทพเจ้า . . . ตามกรรมที่ได้กระทำแล้ว

สร. 13, สร.13, จารึกปราสาทตาเมือนธม 1, จารึกปราสาทตาเมือนธม 1, หินทราย, แผ่นหินเรียบ, ปราสาทตาเมือนธม, ตาเมียง, กาบเชิง, สุรินทร์, บ้านหนองคันนา ตำบลตาเมียง กิ่งอำเภอพนมดงรัก, เจนละ, พระศิวะ, พระอิศวร, ฮินดู, พราหมณ์, ไศวนิกาย, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ตรงใจ หุตางกูร, จตุพร ศิริสัมพันธ์, ทำเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 3 จังหวัดสุรินทร์, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่สำนักงานชั่วคราวของหน่วยศิลปากรที่ 6 สุรินทร์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา

ปราสาทตาเมือนธม บ้านหนองคันนา ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ (จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2559) แต่จากการสำรวจเมื่อ 17 มกราคม 2563 ไม่พบจารึกดังกล่าว

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/306?lang=th

38

จารึกบ้านหัวขัว

หลังปัลลวะ

ข้อความในจารึก กล่าวถึงพระจันทราเทวี ว่าได้สร้างรูปพระอาจารย์ไศยชิน ซึ่งเป็นผู้สร้างกุศลไว้มาก

จารึกบ้านหัวขัว, ชย. 4, ชย. 4, หินทราย, ใบเสมา, บ้านหัวขัว, ตำบลหนองข่า, อำเภอเกษตรสมบูรณ์, จังหวัดชัยภูมิ, เจนละ, พระศรีจันทราเทวี, พระอาจารย์ไศยชินะ, พระมุนี, อธิบดี, นักรบ, บริวาร, สหาย, มาร, พุทธศาสนามหายาน, ศีลาจารวัตร, ธรรม, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, บุคคล-พระศรีจันทราเทวี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจข้อมูล 20 มกราคม 2563)

พุทธศตวรรษ 14-15

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/958?lang=th

39

จารึกบนพระพิมพ์พบที่เมืองศรีเทพ

หลังปัลลวะ,จีน

ด้านหน้าเป็นภาษาสันสกฤต แต่ข้อความไม่สมบูรณ์ ด้านหลังมีภาษาจีน เมื่อเปรียบเทียบกับพระพิมพ์องค์สมบูรณ์แล้วอ่านได้ว่า “ปี่ชิวเหวินเซียง” แปลว่า “พระภิกษุเหวินเซียง”

จารึกบนพระพิมพ์ (เมืองศรีเทพ), ลบ. 10, ลบ. 10, จารึกบนพระพิมพ์ พบที่เมืองศรีเทพ, ดินเผา, พระพิมพ์, เมืองศรีเทพ, อำเภอศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, เมืองโบราณศรีเทพ, ทวารวดี, พระภิกษุเหวินเซียง, สันตติวงศ์, โลก, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระภิกษุเหวินเซียง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต,จีน

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1000?lang=th

40

จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงพระเจ้าอาทิตย์

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 2, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 2, จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 2, จารึกอักษรหลังปัลลวะบนพระพิมพ์ 2 (ฟ้าแดดสูงยาง), ดินเผา, พระพิมพ์ (ปางสมาธิ), เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, อาทิตย์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดิน, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกหนองกระโดน นครสวรรค์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, บุคคล-พระเจ้าอาทิตย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/867?lang=th

41

จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงพระเจ้าอาทิตย์

จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 1, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปอักษรและภาษามอญโบราณ องค์ที่ 1, จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 1, กส. 4 จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 3, กส. 4 จารึกพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง 4, ดินเผา, พระพิมพ์ปางสมาธิ, เมืองฟ้าแดดสูงยาง ฟ้าแดดสงยาง ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ทวารวดี, อาทิตย์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, ผาสุข อินทราวุธ, รายงานการขุดค้นเมืองโบราณฟ้าแดดสงยาง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดิน, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกหนองกระโดน นครสวรรค์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, บุคคล-พระเจ้าอาทิตย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14

มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/860?lang=th

42

จารึกบนตราดินเผาจากเมืองนครปฐม

นาครี

จารึกบนตราดินเผาจากเมืองนครปฐม 1, 2317, 2317, พุทธศตวรรษที่ 14-15, 14-15, ทวารวดี, ตราดินเผา, ตรา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวาราวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14-15

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2080?lang=th

43

จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน

หลังปัลลวะ

เนื้อหาของจารึกเป็นคาถา เย ธมฺมา ตอนท้ายเป็นภาษามอญกล่าวถึงพระบุญ ศาลา และวิหาร

จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน, ดินเผา, สถูปจำลอง, ทวารวดี, พุทธศาสนา, คาถาเยธมฺมา, ธรรม, เหตุ, พระตถาคตเจ้า, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, พงศ์เกษม สนธิไทย, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 6, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดิน, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนสถูปจำลอง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหนองกระโดน นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ,

วัดหนองกระโดน ตำบลหนองกระโดน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์

พุทธศตวรรษ 14

บาลี,มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2427?lang=th

44

จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงอธิบดีแห่งชาวเมืองตังคุระ นามว่า “อารชวะ” ผู้เป็นราชโอรสของพระราชาแห่งศามพูกะ เป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น

จารึกฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี, ลบ. 5, ลบ. 5, หลักที่ 16 จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี, หลักที่ 16 จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืนวัดมหาธาตุเมืองลพบุรี, Lopburi Wat Mahathat K. 577, ศิลา, หินปูนสีเทาแก่, ฐานพระพุทธรูปยืน, รุปกลีบบัว, มุมกำแพงชั้นนอก, วัดมหาธาตุ, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี,นายก, อธิบดี, อารชวะ, พระมุนี, ตังคุระ, ศามพูกะ, ตรงใจ หุตางกูร, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VIII, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินปูน, วัตถุ-จารึกบนหินปูนสีเทา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตังคุระ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/923?lang=th

45

จารึกฐานพระพุทธรูป (วัดโคกกัมภ์ กาฬสินธุ์)

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างสิ่งของอันใดอันหนึ่งเป็นกุศลทาน มีอานิสงส์ยังให้เกิดความสุขในโลกสวรรค์

จารึกฐานพระพุทธรูป (จังหวัดกาฬสินธุ์), กส. 5, กส. 5, ศิลา, ฐานพระพุทธรูป, จังหวัดกาฬสินธุ์, นายกีฏะ, เจนละ, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจข้อมูลเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/869?lang=th

46

จารึกซับจำปา 5

หลังปัลลวะ

ชิ้นส่วนจารึกนี้ปรากฏข้อความบางตอนของคาถา เย ธมฺมาฯ ซึ่งเป็นคาถาสำคัญบทหนึ่งที่บรรยายลักษณะเหตุและผลในหลักพุทธธรรม เป็นการกล่าวสรุปในหลักธรรมสำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนาคือ อริยสัจ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)

จารึกซับจำปา 5, จารึกซับจำปา 5, ลบ. 54, ลบ. 54, จารึกหินทราย, โบราณสถานหมายเลข 3, โบราณสถานหมายเลข 3, เมืองโบราณซับจำปา, ตำบลซับจำปา, อำเภอท่าหลวง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พระตถาคต, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, สำนักศิลปากรที่ 4, สำนักศิลปากรที่ 4, นวพรรณ ภัทรมูล, เอมอร เชาวน์สวน, “จารึกพบใหม่ที่เมืองโบราณซับจำปา,” ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียวอมเทา, ลักษณะ-ชิ้นส่วนศิลาจารึก, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ

กลุ่มตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18763?lang=th

47

จารึกซับจำปา 4

หลังปัลลวะ

ถึงแม้ว่าเนื้อความจะชำรุดขาดหายไปเกือบหมด แต่จากเนื้อความที่เหลืออยู่ 4 บรรทัด ซึ่งก็ไม่สมบูรณ์ทั้งบรรทัดเช่นกัน ก็พอทำให้ทราบว่า บรรทัดแรกเป็นเนื้อความของ “คาถาเยธมฺมาฯ” บรรทัดที่ 2 เป็นเนื้อความของ “คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4” ส่วนบรรทัดที่ 3 และ 4 นั้น เป็นเนื้อความของ “พุทธอุทาน” จากรูปแบบของหลักธรรมเหล่านี้ทำให้นึกถึง “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)” (ลบ. 17) จารึกด้วยอักษรปัลลวะ ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 บท คือ คาถาเยธมฺมาฯ คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 พุทธอุทาน และ คาถาธรรรมบท ดังนั้นเนื้อความที่สมบูรณ์แต่เดิมนั้นคงเป็นไปในทำนองเดียวกันกับจารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา) (โปรดดูเนื้อหาของหลักธรรมแต่ละข้อใน “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)” (ลบ. 17))

จารึกซับจำปา 4, จารึกซับจำปา 4, ลบ. 22, ลบ. 22, จารึกเมืองซับจำปา 4, จารึกเมืองซับจำปา 4, ศิลา, เสาแปดเหลี่ยม, เมืองโบราณซับจำปา, ตำบลซับจำปา, อำเภอท่าหลวง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พระตถาคต, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ตรงใจ หุตางกูร, อัญชนา จิตสุทธิญาณ, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, G. Cœdès, Artibus Asiae, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม,ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560)

พุทธศตวรรษ 13-14

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/927?lang=th

48

จารึกซับจำปา 2

หลังปัลลวะ

เนื่องจากจารึกชำรุดมาก จึงไม่ทราบว่าจารึกกล่าวถึงใคร แต่เนื้อความโดยรวมดูเหมือนว่าจะเป็นจารึกสรรเสริญคุณงามความดีของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นพระยาของเมืองนี้ โดยยกย่องว่าทรงเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ทรงนับถือพระพุทธศาสนา เป็นผู้มีคำสัตย์ มีธรรม คือ ความเสียสละ และ ความกรุณา ทั้งยังเป็นผู้ที่มีความเคารพต่อครูอาจารย์

จารึกซับจำปา 2, จารึกซับจำปา 1, ลบ. 15, ลบ. 15, จารึกเมืองซับจำปา 2, จารึกเมืองซับจำปา 2วัตถุจารึก: ศิลา, หินทราย, หลักสูง, เมืองโบราณซับจำปา, ตำบลซับจำปา, อำเภอวังท่าหลวง, จังหวัดท่าหลวง , ทวารวดี, พุทธะ, ศุภคันทะ, แก้วมณี, ธรรม, ทาน, พุทธศาสนา, มวยผม, โลก, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสูง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/925?lang=th