ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23

ชุดข้อมูลจารึกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23

ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 (พ.ศ.2201-2300) โดยอักษรที่พบในช่วงนี้ได้แก่ อักษรไทยอยุธยา อักษรขอมอยุธยา อักษรไทยน้อย อักษรธรรมอีสาน อักษรธรรมล้านนา และอักษรฝักขาม

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2564 01:11:11 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2565 18:12:14 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

หนังสือเจ้าพระยาศรีธรรมราชถึงเมอร์สิเออร์ ปองชาตแรง

ไทยอยุธยา

เจ้าพระยาศรีธรรมราชแสดงความรู้สึกเสียใจที่ทราบข่าวว่ามูสูสิงแฬร (เมอร์ซิเออร์ มากีส์ เดอ เซนเญอเล) เสียชีวิตลงและยินดีที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงแต่งตั้งให้เมอร์ซิเออร์ ปองชาแตรงเป็นเสนาบดีแทนตำแหน่งที่ว่างลง พร้อมทั้งชี้แจงถึงเหตุพิพาทระหว่างทหารฝรั่งเศสกับคนไทยและแจ้งให้ฝรั่งเศสทราบถึงพฤติกรรมของบาทหลวงตาชาร์ด ราชทูตซึ่งได้รับมอบหมายให้เดินทางมาในไทย แต่กลับพักอยู่ที่เมืองปอนดิเชอรี่ในอินเดีย เมื่อทางกรุงศรีอยุธยาจัดให้ข้าราชการไทยคือ ออกหลวงวรวาทีไปรับก็ไม่ยินยอมเข้ามา จึงต้องส่งปาตรีเฝรู (บาทหลวง เดอ เฟเรอ) ไปรับอีกครั้งหนึ่ง บาทหลวงตาชาร์ดจึงยอมเดินทางเข้ามาในกรุงศรีอยุธยา โดยมีเงื่อนไขต่อรองเกี่ยวกับความปลอดภัยของตนหลายประการ ข้อความในจดหมายมีการเน้นถึงสัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับฝรั่งเศสและสรรเสริญบุญญาธิการของพระเจ้าหลุยส์ 14 อยู่หลายแห่ง

จดหมายโกษาปาน, จดหมายฉบับที่ 3, จดหมายฉบับที่ 3, โกษาปาน, เจ้าพระยาศรีธรรมราช, เมอร์สิเออร์ ปองชาตแรง, แซงเล, พระเจ้าหลุยส์ที่ 14, บาทหลวง ตาชาร์ด, เดอ เฟเรอ, เสนาบดี, เมอร์ซิเออร์ มากีส์ เดอ เซนเญอเล, อยุธยา, สยาม, ไทย, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, ปอนดิเชอรี่, อินเดีย, กรุงศรีอยุธยา, การแต่งตั้ง, การเสียชีวิต, ข้อพิพาท, การวิวาท, เสนาบดี, สัมพันธไมตรี, ทหารฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2236

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1189?lang=th

2

หนังสือออกพระวิสุทธสุนธรถึงเมอร์สิเออร์ เดอ ลายี

ไทยอยุธยา

ออกพระวิสุทธสุนธรและคณะทูตกล่าวแสดงความขอบคุณต่อเมอร์สิเออร์ เดอ ลายี และฝากฝังให้ช่วยดูแลนักเรียนไทยในฝรั่งเศสรวมทั้งขอให้เป็นธุระนำเครื่องราชบรรณาการที่เหลืออยู่ส่งมายังกรุงศรีอยุธยา

หนังสือออกพระวิสูตรสุนทร, จดหมายฉบับที่ 2, จดหมายฉบับที่ 2, พ.ศ. 2230, 2230, จ.ศ. 1049, 1049, ค.ศ.1687, 1687, โกษาธิบดี, ปาน, ออกพระวิสูตรสุนทร, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, มูสูลายิ, เดอ ลันยี, ราชทูต, ออกหลวงกัลยาราชไมตรีอุปทูต, ออกขุนศรีวิสารวาจาตรีทูต, หลุยส์ ที่ 14, อยุธยา, พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เมืองกาบ, กรุงศรีอยุธยา, ยุโรป, การเดินทาง, เจริญสัมพันธไมตรี, บรรณาการ

หอสมุดทหารเรือ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2230

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1175?lang=th

3

หนังสือออกพระวิสุทธสุนธรถึงเมอร์สิเออร์ มาร์กีส์ เดอ เซนเญอเล

ไทยอยุธยา

ออกพระวิสุทธสุนธรและคณะทูตกล่าวแสดงความซาบซึ้งใจที่ได้รับความสะดวกสบายระหว่างการพำนักอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสและพรรณาถึงบุญญาธิการของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ตอนท้ายขอให้กรุงศรีอยุธยาและฝรั่งเศสมีสัมพันธไมตรีอันดีต่อกันสืบไป

หนังสือออกพระวิสูตรสุนทร, จดหมายฉบับที่ 1, จดหมายฉบับที่ 1, พ.ศ. 2230, 2230, จ.ศ. 1049, 1049, ค.ศ.1687, 1687, โกษาธิบดี, ปาน, ออกพระวิสูตรสุนทร, ออกพระวิสุทธสุนทร, โกษาปาน, มูสูสิงแฬร, มาควิส เดอแซงแล, หลุยส์ที่ 14, ลุยเลกรัง, หลุยส์ที่ 14, มาร์กีส์ เดอ เซนเญอเล, ออกพระวิสุทธสุนธร, อยุธยา, พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เอรอบ, ยุโรป, การเดินทาง, เจริญสัมพันธไมตรี

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2230

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1173?lang=th

4

สัญญาไทย-ฝรั่งเศส ครั้งสมเด็จพระนารายณ์ฯ

ไทยอยุธยา

หนังสือสัญญาระหว่างไทยกับฝรั่งเศสเรื่องการอนุญาตให้บริษัทฝรั่งเศสเข้ามาค้าขายในประเทศไทยโดยมีเงื่อนไขต่างๆ 12 ข้อ ได้แก่
(1) พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระราชทานที่ดินแก่บริษัทฝรั่งเศสเพื่อสร้างตึกสำหรับการค้าขาย
(2) พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงอนุญาตให้บริษัทฝรั่งเศสค้าขายในกรุงศรีอยุธยาโดยไม่คิดจังกอบและฤชา และสามารถซื้อสินค้าของชาติอื่นๆ ได้ตามต้องการ แต่ถ้าเป็นของที่ทางราชการไทยต้องการเช่นเดียวกันทางไทยก็จะแบ่งขายให้ในราคาทุนที่ซื้อมา หากบริษัทต้องการซื้อดีบุกนอกเมืองถลางบางคลี งาช้าง ช้าง ดินประสิวขาว ดีบุกดำ หมากกรอกและฝาง ทางพระคลังจะขายให้ในราคาที่ซื้อขายกับลูกค้ารายอื่นๆ โดยห้ามไม่ให้บริษัทฝรั่งเศสซื้อขายสินค้าดังกล่าวกับผู้อื่น ส่วนสินค้าต้องห้าม ได้แก่ ดินประสิวขาว-ดำ กำมะถัน ปืนและอาวุธ จะสามารถซื้อขายได้เมื่อพระนารายณ์มีพระราชประสงค์เท่านั้น นอกจากนี้ บริษัทฝรั่งเศสต้องยื่นบัญชีสินค้าให้ทางราชการดูก่อน หากทางการต้องการสินค้าใดย่อมมีสิทธิ์ซื้อก่อนผู้อื่น อีกประการหนึ่งคือ ห้ามฝรั่งเศสซื้อหนังจากกรุงศรีอยุธยาฝ่ายเหนือ ฝ่ายใต้จนถึงปากน้ำเจ้าพระยาเพราะพระราชทานสิทธิ์แก่บริษัทฮอลันดาแล้ว แต่หากจะซื้อจากที่อื่นโดยไม่ได้นำเข้ามาก็สามารถซื้อขายได้
(3) อย่าให้พนักงานเรียกเก็บจังกอบเมื่อบริษัทไปค้าขายต่างเมือง
(4) ถ้าบริษัทเช่าระวางของผู้อื่นไปค้าขาย ให้เงื่อนไขเป็นไปตามข้อสองและข้อสาม (5) หากคนฝรั่งเศสหรือคนในบังคับของบริษัทก่อเหตุฆ่ากันตาย ให้ใช้กฎหมายฝรั่งเศส โดยส่งตัวกลับไปลงโทษที่ฝรั่งเศส หากต้องอาญาหรือเป็นความแพ่งกับคนฝรั่งเศสและชาติอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในบังคับของบริษัท ให้ตุลาการของทางราชการไทยเป็นผู้พิจารณาคดีแต่ต้องมีนายบริษัทฝรั่งเศสอยู่ด้วย
(6) บริษัทฝรั่งเศสสามารถซื้อขายที่เมืองถลางบางคลีโดยไม่เสียจังกอบและฤชา และอนุญาตให้ซื้อดีบุกในเมืองนั้นได้เพียงผู้เดียว หากผู้ใดลักลอบซื้อ ให้ริบแล้วแบ่งเป็นสี่ส่วน โดยสองส่วนให้เป็นของหลวง ส่วนหนึ่งให้โจทย์ อีกส่วนหนึ่งให้บริษัทฝรั่งเศส สินค้าที่ฝรั่งเศสนำมาขายและดีบุกที่จะซื้อให้เจ้าเมืองและบริษัทตกลงกันอย่าให้ขึ้นลงราคาตามใจชอบ สำหรับอากรดีบุกที่เมืองถลางให้ทางคลังเรียกเก็บตามธรรมเนียม และห้ามราษฎรซื้อขายดีบุกตั้งแต่เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิ์ศก
(7) หากฝรั่งเศสต้องการสร้างตึกค้าขายที่หัวเมืองและเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยาสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเช่นเดียวกับข้อ 2-5 แต่ห้ามซื้อขายดีบุกที่เมืองนครเพราะเป็นสิทธิ์ของฮอลันดา
(8) หากเรือกำปั่นของบริษัทเสียในบริเวณที่ขึ้นแก่กรุงศรีอยุธยา ให้บริษัทเก็บสินค้าไว้อย่าให้เจ้าเมืองหรือผู้ใดนำไป
(9) ทางบริษัทฝรั่งเศสต้องสัญญาว่าจะไม่ให้ที่ดินซึ่งพระนารายณ์ฯ พระราชทาน เป็นที่อาศัยหรือช่วยเหลือศัตรูของกรุงศรีอยุธยา
(10) หากชาวฝรั่งเศสที่มีลูกเมียในกรุงศรีอยุธยาและเมืองขึ้น ต้องการออกไปจากกรุงศรีอยุธยาก็สามารถนำทั้งลูกเมียและทรัพย์สินทั้งปวงของตนไปด้วยได้
(11) ชาวฝรั่งเศสที่เดินทางมากรุงศรีอยุธยาหรือเมืองขึ้นโดยเรือกำปั่นของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็ดี มากับกำปั่นของบริษัทก็ดี อย่าให้เจ้าพนักงานชักชวนให้ละไปจากเรือ หากมีการหลบหนี ให้เจ้าพนักงานนำตัวมาให้แก่นายกำปั่นให้ได้
(12) พระนารายณ์ ฯ ทรงเห็นชอบกับสัญญาเรื่องการค้าพริกไทยกับฝรั่งเศสที่ทำขึ้นใน พ.ศ. 2227 (ที่จริงคือพ.ศ. 2226) และมีพระราชโองการว่าพริกที่ถูกริบและไหมที่ได้มาจากผู้ลักลอบนั้นให้แบ่งเป็นสี่ส่วน 2 ส่วนให้เป็นของหลวง ส่วนหนึ่งให้แก่ผู้ส่อ อีกส่วนหนึ่งให้แก่บริษัทฝรั่งเศส โดยขณะที่ทำการแบ่งให้ทุกฝ่ายอยู่ด้วยกัน แต่ละฝ่ายมีกุญแจของตน เพื่อป้องกันการทะเลาะวิวาท
ตอนท้ายกล่าวถึงการเขียนเป็นภาษาไทย 3 ฉบับ ภาษาฝรั่งเศส 3 ฉบับ ภาษาโปรตุเกส 3 ฉบับ ระบุสถานที่เขียนคือ เมืองลพบุรี ในวันพฤหัสบดี เดือนอ้ายขึ้นแปดค่ำ พ.ศ. 2231 ปีเถาะนพศก

สัญญาไทย-ฝรั่งเศส ครั้งสมเด็จพระนารายณ์, สนธิสัญญาไทย-ฝรั่งเศส สมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ, พ.ศ. 2231, 2230, จ.ศ. 1049, 2231, 2230, 1049, พระนารายณ์มหาราช, ลาลูแบร์, ทูต, เซเบอร์เรต, ออกญาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีศรีศุปราชพิริยพาหุ, พระศรีพิพัฒน์ราชโกษา, พระเจ้าหลุยส์ที่ 14, หลุยส์ที่ 14, อยุธยา, ฝรั่งเศส, ฮอลันดา, สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, สยาม, อยุธยา, ฝรั่งเศส, ฮอลันดา, วิลันดา, ฝรั่งษ, เมืองนคร, นครศรีธรรมราช, เมืองถลาง, บางคลี, พังงา, ภูเก็ต, เมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา, การค้าขาย, การทำสัญญา, การสร้างตึก, การพระราชทานที่ดิน, สนธิสัญญา, พริก, พริกไท, ฝาง, ดินประสิว, กำมะถัน, สุพรรณถัน, ศาสตรา, อาวุธ, ดินปืน, ดีบุก, กำปั่น, ระวาง, กุมปันหยี, จังกอบ, ขนอน, ฤชา, ริดชา, จำกอบ , ภาษี, อากร, ส่วย, สัญญาไทย-ฝรั่งเศส ครั้งสมเด็จพระนารายณ์, 2230, จ.ศ. 1049, พระนารายณ์มหาราช, ลาลูแบร์, ทูต, เซเบอร์เรต, ออกญาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีศรีศุปราชพิริยพาหุ, พระศรีพิพัฒน์ราชโกษา, พระเจ้าหลุยส์ที่ 14, อยุธยา, ฝรั่งเศส, ฮอลันดา, สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, สยาม, อยุธยา, ฝรั่งเศส, ฮอลันดา, วิลันดา, ฝรั่งษ, เมืองนคร, นครศรีธรรมราช, เมืองถลาง, บางคลี, พังงา, ภูเก็ต, เมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา, การค้าขาย, การทำสัญญา, การสร้างตึก, การพระราชทานที่ดิน, สนธิสัญญา, พริก, พริกไท, ฝาง, ดินประสิว, กำมะถัน, สุพรรณถัน, ศาสตรา, อาวุธ, ดินปืน, ดีบุก, กำปั่น, ระวาง, กุมปันหยี, จังกอบ, ขนอน, ฤชา, ริดชา, จำกอบ , ภาษี, อากร, ส่วย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, G. Cœdès, Siamese document of the Seventeenth Century, Journal of the Siam Society, ขจร สุขพานิช, อยุธยาคดี,คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี, ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, อายุ-พ.ศ. 2230, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษ, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษแข็ง, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษแข็งสีขาว, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กระทรวงอาณานิคม ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

ต้นฉบับอยู่ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กระทรวงอาณานิคม ประเทศฝรั่งเศส ส่วนสำเนาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานทหารบก กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2230

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1204?lang=th

5

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 67

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรมีผู้มาทักทายปราศรัยมากมาย เช่น หญิงชาวเมือง อาบาก เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 67, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 67, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูลาเบเดเสงมะรีเตง, อาบาก, เจ้าเมือง, บาตรี, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4190?lang=th

6

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 66

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการยกเสากระโดงเรือลงลำเรือขนาดใหญ่ ในวันเดียวกันก็ได้พบและทักทายปราศรัยกับมูสูลาเบเดเสงมะรีเตงและหญิงฝรั่งอีก 3 คน

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 66, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 66, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูลาเบเดเสงมะรีเตง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4188?lang=th

7

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 65

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการยกเสากระโดงเรือลงลำเรือขนาดใหญ่ที่นายกำปั่นพาไปดู

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 65, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 65, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4186?lang=th

8

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 64

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพุธ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรได้ทักทายสนทนากับผู้คนที่มาเยี่ยมเยียน อาทิเช่น บาตรีสังเบญโต มูสูมายีดตรัด ฝีดาวู เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 64, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 64, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, บาตรสังเบญโต, มูสูมายีดตรัด, ฝีดาวู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4184?lang=th

9

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 63

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรเล่าถึงกฎหมายที่พระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสกำหนดขึ้นเพื่อปกครองประชาชน เช่น ผู้ใดข่มเหงทำร้ายหรือฆ่าฟันก็ดี เมื่อสืบสวนและทราบว่ากระทำผิดจริงให้ฆ่าเสีย เป็นต้น วันเดียวกันนั้น มูสูกรังปอวอเข้ามาแสดงความเคารพออกพระวิสุทธสุนธรที่เดินทางมาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 63, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 63, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูกรังปอวอ, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4182?lang=th

10

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 62

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 มูสูสีงนำความมาบอกออกพระวิสุทธสุนธรเรื่องธรรมเนียมการนำพระราชสาส์นไปถวายแด่พระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส เช่น การนำพระราชสาส์นใส่พระมณฑปไม่มีในธรรมเนียมฝรั่งเศส แต่ยินยอมให้กระทำตามธรรมเนียมไทยได้ เป็นต้น วันอังคาร ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรออกไปดูทหารฝึกซ้อมการยิงปืนใหญ่

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 62, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 62, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูสีง, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4180?lang=th

11

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 61

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 มูสูสีงนำความมาบอกออกพระวิสุทธสุนธรเรื่องธรรมเนียมการนำพระราชสาส์นไปถวายแด่พระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส เช่น การนำพระราชสาส์นใส่พระมณฑปไม่มีในธรรมเนียมฝรั่งเศส แต่ยินยอมให้ข้าหลวงไทยทำตามธรรมเนียมไทยได้ เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 61, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 61, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูสีง, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4178?lang=th

12

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 60

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรบรรยายว่าคณะราชทูตจากไทยได้รับการต้อนรับอย่างดีจากชาวฝรั่งเศส เช่น เจ้าเมืองแบรศ มูสูอินตินตัง เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 60, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 60, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, กะปิตัน, นายกำปั่น, ฝีดาวู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4176?lang=th

13

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 59

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกญาวิสุทธสุนธรสนทนากับบาตรีสำเปาโล พร้อมทั้งขอบใจที่ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี จากนั้นจึงลากลับ วันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 8 พ.ศ. 2229 บาตรีสำเปาโลมาเยี่ยมเยียนออกพระวิสุทธสุนธร ทั้งสองสนทนากันอย่างถูกอัชฌาสัย จากนั้นจึงรับประทานมื้อเที่ยงด้วยกัน

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 59, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 59, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, บาตรีสำเปาโล, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4174?lang=th

14

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 58

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสวน ณ วัดสำเปาโล เช่น วัดนั้นมีกำแพงล้อมรอบกว้างประมาณสองเส้น รีสามเส้น ภายในวัดมีทั้งสวนผลไม้ ดอกไม้ ผักกาดหัว ผักกาดใบ เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 58, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 58, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, บาตีสำเปาโล, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4172?lang=th

15

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 57

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับตึกคลัง ณ ปากแม่น้ำฟากตะวันออก

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 57, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 57, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4168?lang=th

16

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 56

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกญาวิสุทธสุนธรโอภาปราศรัยกับมูสูสำมอก ก่อนจะบรรยายตึกคลัง ณ ปากแม่น้ำฟากตะวันออก ที่ได้เดินทางไปไปเยี่ยมชม

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 56, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 56, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, มูสูสำมอก, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส,

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4166?lang=th

17

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 55

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงการต้อนรับคณะข้าหลวงไทยที่แสดงถึงการให้เกียรติ อาทิเช่น เมื่อคณะราชทูตไทยเดินทางไปถึงเมืองใดให้เมืองนั้นยิงปืนต้อนรับและอำนวยความสะดวกสบายทุกอย่าง อย่าให้ขาดตกบกพร่อง เป็นต้น และวันเดียวกันนั้น เจ้าเมืองแบรสท์แนะนำออกญาวิสุทธสุนธรให้รู้จักกับมูสูสำมอก

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 55, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 55, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, มูสูเตราะ, มูสูสีลี, มูสูสำมอก, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4164?lang=th

18

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 54

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงการต้อนรับคณะข้าหลวงไทยที่แสดงถึงการให้เกียรติ อาทิเช่น เมื่อคณะราชทูตไทยเดินทางไปถึงเมืองใดให้เมืองนั้นยิงปืนต้อนรับและอำนวยความสะดวกสบายทุกอย่าง อย่าให้ขาดตกบกพร่อง เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 54, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 54, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, มูสูเตาระ, มูสูสีลี, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4162?lang=th

19

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 53

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกญาวิสุทธสุนธรสนทนากับมูสูอาล ปุดพร้อมกล่าวขอบคุณที่ต้อนรับคณะเดินทางเป็นอย่างดี

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 53, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 53, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมต, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4160?lang=th

20

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 52

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกญาวิสุทธสุนธรสนทนากับมูสูอาล ปุดพร้อมกล่าวขอบคุณที่ต้อนรับคณะเดินทางเป็นอย่างดี

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 52, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 52, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, นายกำปั่น, แมศรี, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4158?lang=th

21

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 51

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของอาหารที่ได้รับประทาน อาทิ ปลาปิ้งปลาคั่วเก้าอย่าง ปลาชนิดหนึ่งคล้ายปลากะพงแต่มีเนื้อเป็นสีแดงชื่อปลาสอมุง ชาวฝรั่งเศสถือว่าปลาชนิดนี้เป็นปลาที่มีรสชาติอร่อยมาก เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 51, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 51, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, นายกำปั่น, แมศรี, ฝีดาวู, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4156?lang=th

22

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 50

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรกล่าวขอบคุณมูสูอีนตินนัง มูสูอาลปุล และคณะชาวฝรั่งเศสที่มาเยี่ยมชมป้อมปากน้ำ ก่อนจะรับประทานอาหารพร้อมกัน

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 50, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 50, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, นายกำปั่น, แมศรี, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4154?lang=th

23

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 49

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่ออกพระวิสุทธสุนธรได้พบเจอ อาทิ ตึกคลังสามหลังซึ่งอยู่ถัดจากป้อมบริเวณปากน้ำเข้ามา เป็นตึกสำหรับเก็บเสบียงได้แก่ เหล้าองุ่น น้ำมันองุ่น เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 49, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 49, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4152?lang=th

24

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 48

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่ออกญาวิสุทธสุนธรได้ไปพบเห็น เช่น ป้อมปากน้ำนั้นมีช่องปืน 15 ช่อง และมีปืนทองเหลือง 5 กระบอก ปืนเหล็ก 9 กระบอก เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 48, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 48, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, นายกำปั่น, แมศรี, ฝีดาวู,อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมต, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพร, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4150?lang=th

25

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 47

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่ออกพระวิสุทธสุนธรได้พบเจอและธรรมเนียมการอำลาของชาวฝรั่งเศส อาทิ การสวมหมวกที่ทำด้วยใบไม้แล้วโห่ลา 3 ครั้ง เป็นการแสดงความยินดีที่ได้พบ เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 47, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 47, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอาลปุด,เจ้าเมืองแบรสท์, มูสูอินตินตัง, นายกำปั่น, แมศรี, ฝีดาวู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4148?lang=th

26

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 46

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่ออกพระวิสุทธสุนธรได้พบเจอ เช่น สภาพของป้อมปราการ ตลาดและร้านรวงต่างๆ เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 46, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 46, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู,นายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, เจ้าเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4144?lang=th

27

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 45

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับธรรมเนียมการต้อนรับของชาวฝรั่งเศสที่ต้อนรับออกพระวิสุทธสุนธรเป็นอย่างดี ก่อนจะอธิบายลักษณะของป้อมปราการที่ได้เห็น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 45, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 45, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, บาตรีสำเปาโล, เจ้าเมือง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4142?lang=th

28

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 44

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงรายละเอียดธรรมเนียมการต้อนรับของชาวฝรั่งเศสซึ่งออกพระวิสุทธสุนธรได้รับการต้อนรับเยี่ยงพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 44, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 44, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, เจ้าเมืองแบรศ, มูสูซาง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4140?lang=th

29

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 43

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 เวลาสาย ออกพระวิสุทธสุนธรลงเรือสำปั้นด้วยการนำของเจ้าเมือง มูสูซาง และบาตรีวาเสด ไปยังปากน้ำฟากตะวันออก พร้อมทั้งได้รับฟังถึงเรื่องการเจรจาของกษัตริย์แห่งสเปนจะชดใช้ค่าสินค้าที่ชาวกาดีดไปเก็บมาจากเรือที่จมให้กับกษัตริย์แห่งฝรั่งเศส

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 43, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 43, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, บาตรี, มูสูซาง, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4138?lang=th

30

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 42

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรโอภาปราศรัยกับบาตรีซึ่งอยู่ปากน้ำทั้งสามคนเป็นเวลานานก่อนพวกเขาจะลากลับ วันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 เวลาเที่ยง บาตรีซึ่งเป็นเจ้าวัด ณ เมืองแบรสท์และศิษย์เข้ามาทักทาย

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 42, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 42, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4136?lang=th

31

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 41

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น ตึกทรงรีทางทิศตะวันออกกว้างประมาณ 10 เส้น เป็นต้น วันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรโอภาปราศรัยกับบาตรีทั้งสามคนซึ่งอยู่ปากน้ำ

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 41, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 41, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่นวิลันดา, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4132?lang=th

32

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 40

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น กำแพงท้ายเมือง เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 40, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 40, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่นวิลันดา, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4090?lang=th

33

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 39

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น ตึกกี่ ตึกตีเหล็ก เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 39, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 39, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่นวิลันดา, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4088?lang=th

34

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 38

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น ตึกหล่อปืน เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 38, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 38, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่นวิลันดา, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4086?lang=th

35

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 37

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น ตึกไว้สมอและเชือก เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 37, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 37, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่นวิลันดา, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4084?lang=th

36

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 36

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น ตึกที่เก็บบเครื่องศาสตราวุธ เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 36, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 36, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่นวิลันดา, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศสเหตุการณ์, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4082?lang=th

37

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 35

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่มูสูโกบันตังเดโปพาไปเยี่ยมชม เช่น ตึกคลังที่สร้างใหม่ฟากตะวันตก เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 35, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 35, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, แมศรี, เจ้าเมืองแบรศ, หญิงผู้ดีเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม,อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4080?lang=th

38

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 34

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงขนบธรรมเนียมการรับประทานอาหารของชาวฝรั่งเศส

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 34, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 34, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, บาตรีสำเปาโล, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4078?lang=th

39

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 33

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศภายในเมืองแบรสท์

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 33, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 33, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, บาตรีสำเปาโล, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4076?lang=th

40

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 32

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสภาพเมืองแบรสท์ เช่น ทางทิศตะวันออกเป็นที่ดินว่างเปล่ากว้างประมาณ 5 เส้นก่อนจะมีตึกใหญ่เป็นที่พักคนป่วย เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 32, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 32, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, บาตรีสำเปาโล, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4074?lang=th

41

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 31

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสภาพบ้านเมืองที่ได้พบเห็น เช่น ฝั่งตะวันตกถัดปากแม่น้ำเข้ามามีตึกสามตึกเก็บขนมปัง ปลา ถั่ว สำหรับเสบียงก่ำปั่น เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 31, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 31, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, แมศรี, เจ้าเมืองแบรศ, หญิงผู้ดีเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4072?lang=th

42

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 30

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับตึกรามบ้านช่องที่ได้ไปพบ เช่น โรงระหัดตำดินประสิวตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกบริเวณแม่น้ำเมืองแบรสท์ เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 30, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 30, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, แมศรี, เจ้าเมืองแบรศ, หญิงผู้ดีเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4070?lang=th

43

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 29

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับเรือ “ละมีรัน” เรือสำหรับรับรองกษัตริย์ ซึ่งเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่และตกแต่งได้งดงามตระการตามาก

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 29, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 29, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, แมศรี, เจ้าเมืองแบรศ, หญิงผู้ดีเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4068?lang=th

44

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 28

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 เจ้าเมืองแบรสต์และมุสูอินตันตังพาออกพระวิสุทธสุนธรไปดูเรือชื่อ “ละมีรัน”

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 28, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 28, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, มูสูอินตันตัง, แมศรี, เจ้าเมืองแบรศ, หญิงผู้ดีเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศสเหตุการณ์, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4066?lang=th

45

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 27

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับอาหารที่ได้รับประทาน อาทิ ผลไม้สดหลายชนิด ได้แก่ ฝระบอย เฝรสะ เวลารับประทานโรยน้ำตาลทราย เป็นต้น วันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 เวลาประมาณสามโมงเช้า คณะข้าหลวงชาวฝรั่งเศสมาเยี่ยมเยียนทักทายปราศรัยกับออกพระวิสุทธสุนธร

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 27, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 27, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่น, มูสูโกตันนังเดโป, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4064?lang=th

46

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 26

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของล่ามและผู้ติดตาม เช่น ที่หลับที่นอน และอาหารการกิน เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 26, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 26, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ขุนรักษภูเบนทร์, นายจิกกู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4062?lang=th

47

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 25

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับการรับประทานของหวาน เช่น กินขนมปังกับนมใส่น้ำตาล เป็นต้น บรรยายถึงตึกที่พักของพวกขุนหมื่นและคนรับใช้ที่เดินทางมาพร้อมกัน

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 25, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 25, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ปลัดนายกำปั่น, มูสูอินตันตัง, มูสูออรลีเว, มูสูออเรกู, บาตรีวาเสด, ขุนหมื่น, ขุนณเรนทเสนา, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4060?lang=th

48

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 24

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับอาหารที่รับประทานในมื้อเย็น เช่น เปลือกส้มหั่นเป็นเส้นฉาบน้ำตาลทราย เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 24, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 24, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ปลัดนายกำปั่น, มูสูอินตันตัง, มูสูออรลีเว, มูสูออเรกู, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4058?lang=th

49

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 23

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงชนิดอาหารหวานที่รับประทานในมื้อเย็น เช่น ผลไม้รสเปรี้ยวออกหวาน ได้แก่ ประบอย เฝรเส เสรีศ เมื่อรับประทานจะโรยน้ำตาลทราย เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 23, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 23, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอินตันตัง, มูสูออเรกู, มูสูออลลีเว, นายกำปั่น, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4056?lang=th

50

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 22

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงชนิดอาหารที่รับประทานในมื้อเย็น เช่น ถั่วคั่ว ลูกสุกรทั้งตัวทาเนยย่าง เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 22, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 22, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอินตันตัง, มูสูออเรกู, มูสูออลลีเว, นายกำปั่น, บาตรีวาเสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4054?lang=th

51

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 21

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายการตกแต่งห้องซึ่งเป็นห้องที่ตั้งพระราชสาส์น ก่อนจะบรรยายถึงอาหารที่รับประทานในตอนเย็น เช่น เครื่องต้ม เนื้อชุมพา เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 21, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 21, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอินตันตัง, บาตรีวาเสด, มูสูออรลีเว, มูสูออเรกู, นายกำปั่น, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4052?lang=th

52

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 20

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายการแต่งห้องพักของตรีทูต และบรรยายห้องซึ่งเป็นที่ตั้งพระราชสาส์น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 20, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 20, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอินตันตัง, บาตรีวาแสด, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4026?lang=th

53

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 19

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายการตกแต่งห้องพักของอุปทูต

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 19, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 19, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอินตันตัง, มูสูสิงแฬ, อยุธยา,พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4022?lang=th

54

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 18

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายการตกแต่งของห้องพักของราชทูต เช่น ผนังหน้าเตียงนอนประดับรูปกษัตริย์แห่งฝรั่งเศส เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 18, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 18, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, มูสูอินตันตัง, มูสูสิงแฬ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4020?lang=th

55

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 17

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายการตกแต่งห้องพักราชทูต เช่น เตียงนอนนั้นมีเสาเพดานสูงประมาณหกศอกพร้อมผ้าม่านสีแดง เป็นต้น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 17, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 17, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4016?lang=th

56

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 16

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายธรรมเนียมการรักษาความปลอดภัยด้วยการบอกคำสำคัญ เช่น วันที่หนึ่งได้แก่ อุนรัวยัน วันที่สองได้แก่ อีเลรัวเดฝร้าษ และวันที่สามได้แก่ วีวเลรัวเดเสียม และบรรยายตึกซึ่งเป็นที่ตั้งพระราชสาส์น

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 16, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 16, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ซาวเอศเสนเชีย, ซัวเอศเสนเซีย, มูสูอินตินตัง, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4012?lang=th

57

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 15

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงธรรมเนียมของชาวฝรั่งเศส เช่น ในเวลาเย็นของทุกวันเสนาบดีจะเข้ามากระซิบบอกคำสำคัญที่ได้รับพระราชทานมาจากกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแก่นายกองทุกคนเพื่อป้องกันข้าศึกศัตรูที่อาจลอบเข้ามา ฯลฯ

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, มูสูโกปันตังเดโป, ซัวเอศเสนเซีย, ซาวเอสเสนเซีย, บาตรี, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศสเหตุการณ์, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4010?lang=th

58

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 14

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรกล่าวขอบใจแก่เจ้าเมืองที่ต้อนรับขับสู้เป็นอย่างดี

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 14, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 14, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, เจ้าเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4008?lang=th

59

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 13

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรกล่าวปราศรัยแก่เสนาบดีและฝีดาวู

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 13, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 13, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, นายกำปั่น, บาตรี, มูสูอินตันตัง, มูสูโกบันตังเดโป, เจ้าเมืองแบรศ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4004?lang=th

60

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 12

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายถึงพิธีการรับพระราชสาส์น และอัญเชิญพระราชสาส์นไปไว้ยังที่ประทับ

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 12, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 12, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, มูสูอินตันตัง, มูสูโกบันตังเดโป, บาตรี, กะปิตัน, นายกำปั่น, กรมการ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/4002?lang=th

61

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 11

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ขึ้น 4 ค่ำ บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับพิธีการรับเสด็จพระราชสาส์นและคณะทูตชาวไทยของชาวฝรั่งเศส

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 11, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 11, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ขุนรักษภูเบนทร์, ขุนนเรนทเสนา, อิกบาศโคร, กรมการ, ราชทูต, ฝีดาวู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3998?lang=th

62

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 10

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ขึ้น 4 ค่ำ บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับพิธีการรับเสด็จพระราชสาส์นและคณะทูตชาวไทยของชาวฝรั่งเศส

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 10, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 10, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ขุนรักษภูเบนทร์, ขุนนเรนทเสนา, อิกบาศโคร, กรมการ, ราชทูต, ฝีดาวู, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3996?lang=th

63

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 9

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรสนทนากับเจ้าเมือง เสนาบดีและกรมการทั้งหลายซึ่งเดินทางออกมาต้อนรับคณะราชทูตจากไทย

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 9, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 9, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, อิงบาโคร, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3994?lang=th

64

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 8

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรสนทนากับเจ้าเมือง เสนาบดีและกรมการทั้งหลายซึ่งเดินทางออกมาต้อนรับคณะราชทูตจากไทย

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 8, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 8, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, อิกบาศโคร, อิงบาศโคร, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3992?lang=th

65

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 7

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายการตกแต่งเรือเพื่อรอรับพระราชสาส์นจากพระนารายณ์มหาราช

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 7, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 7, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, กรมการ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3988?lang=th

66

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 6

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรสนทนากับมูสูอินตันตังเรื่องการปล้นสะดมของชาวอรุม

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 6, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 6, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, มูสูอินตันตัง, กะปิตัน, นายกำปั่น, เมศรี, ชาวอรุม, พญาอรุมสี, ชาวอังกฤษ, ชาววิลันดา, ชาวอีศปาญะ, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3986?lang=th

67

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 5

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันเสาร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 เจ้าเมืองลันดอระนอได้ส่งกรมการมาแสดงไมตรีแก่พระวิสุทธสุนธร

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 5, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 5, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เจ้าเมืองลันดอระนอ, ฝีดาวู, ราชทูตทั้งสาม, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3984?lang=th

68

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 4

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรแสดงความขอบคุณเรื่องที่บาตรีสำเปาโลออกมาต้อนรับ

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 4, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 4, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, บาตรีสำปาวโล, เจ้าเมืองลันดอระนอ, ราชทูตฝรั่งเศส, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3982?lang=th

69

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 3

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันศุกร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ออกพระวิสุทธสุนธรสนทนากับ บาตรีสำเปาโลเรื่องความเมตตาของพระนารายณ์มหาราช เมื่อครั้งบาตรีเปาโลเดินทางไปยังประเทศสยาม

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ชีต้น, บาตรีสำปาวโล, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3980?lang=th

70

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 2

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับงานเลี้ยงต้อนรับและบุคคลที่ได้ทักทายปราศรัย อาทิเช่น เมียปลัดนายกำปั่น และบาตรี

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 2, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 2, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, ปลัดนายกำปั่น, บาตรี, คณะการะเมลีตา, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, ปราศรัย, เมืองแบรศ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3976?lang=th

71

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1

ไทยอยุธยา

บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ของราชทูตไทยและคณะ ระหว่างที่เดินทางไปพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ในวันพฤหัสบดี เดือน 8 ปีขาล พ.ศ. 2229 ขึ้น 1 ค่ำ มีรายละเอียดเกี่ยวกับงานเลี้ยงต้อนรับและบุคคลที่ได้พบในวันนี้ อาทิเช่น กลาสี และนายเรือ

บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) ราชทูตไทยไปฝรั่งเศสสมัยอยุธยา, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1, บันทึกรายวันของออกพระวิสุทธสุนธร (โกษาปาน) หน้า 1, ออกพระวิสุทธสุนธร, โกษาปาน, เสนาบดี, ฝีดาวู, มูสูระวีตง, มูสูซาบโร, ปลัดนายกำปั่น, เมอร์ซิเออร์ระวีตง, เมอร์ซิเออร์ซาบโร, อยุธยา, พระนารายณ์มหาราช, ฝรั่งเศส, เจริญสัมพันธไมตรี, อัตโน, เรือกำปั่น, รับพระทานอาหาร, รับประทานอาหาร, งานเลี้ยงต้อนรับ, ท้ายพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ภูธร ภูมะธน, ศิลปวัฒนธรรม, อายุ-จารึก พ.ศ. 2229, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-บันทึกบนกระดาษฝรั่ง, ลักษณะ-บันทึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ ปารีส ฝรั่งเศส, เรื่อง-การทูต, เรื่อง-ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-ไทย-ฝรั่งเศส

หอจดหมายเหตุ สำนักมิซซังต่างประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3958?lang=th

72

จารึกในวิหารจำลองวัดดอนไชย

ธรรมล้านนา

อานันทภิกขุได้สร้างวิหารจำลองเมื่อปี พ.ศ. 2208

จารึกในวิหารจำลองวัดดอนไชย, จารึกในวิหารจำลอง วัดดอนไชย 3 (นน. 2046) จ.ศ. 1127 (พ.ศ. 2208), จารึกในวิหารจำลอง วัดดอนไชย 3 (นน. 2046) จ.ศ. 1127 (พ.ศ. 2208), วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, วิหารจำลอง, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2208, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเมืองแพร่, ลักษณะ-จารึกที่วิหารจำลอง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดดอนไชย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวิหารจำลอง, บุคคล-อานันทภิกขุ

วัดดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2208

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13446?lang=th

73

จารึกแม่อักษรขอมขุดปรอท

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกแสดงการสะกดคำในแม่ ก กา

จารึกแม่อักษรขอมขุดปรอท, อย. 43 อย. 43 สามเณร พระภิกษุ พระพุทธศาสนา พระคัมภีร์ เจ้าฟ้ากุ้ง สุริยวงษ์ สมเด็จพระราชโอรสาธิราชเจ้า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐา พระราชวังบวรสถานมงคล แม่อักษรขอมขุดปรอท จารึกแผ่นแม่อักษรพระราชนิพนธ์ฯ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 2290, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, วัตถุ-จารึกบนทองแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-วรรณกรรม-แบบเรียนสะกดคำ, เรื่อง-วรรณกรรม-พระราชนิพนธ์, เรื่อง-วรรณกรรม-พระราชนิพนธ์-เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศไชยเชษฐสุริยวงศ์, บุคคล-เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศไชยเชษฐสุริยวงศ์

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2290

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/627?lang=th

74

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 37 (จ. 3)

ไทยอยุธยา,ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

พระตนคง วัดมหาธาตุ ได้ทำกระเบื้อง พระระเบียง และองค์พระธาตุ อีกทั้งถวายทองหนักก้อนหนึ่ง หุ้มองค์พระธาตุ แล้วปิดทอง 3 แผ่นบนยอด โดยขอให้ตนพ้นทุกข์และเกิดทันพระศรีอารย์

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 37 (จ. 3), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 37 (จ. 3), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกระเบื้อง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระระเบียง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-พระตนคง วัดพระธาตุ

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1336?lang=th

75

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 36 (จ. 47)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความที่ปรากฏมีเพียงการบอกวันเดือนปีเท่านั้น

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 36 (จ. 47), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 36 (จ. 47), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1386?lang=th

76

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 35 (จ. 40)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

กล่าวถึงการถวายทองคำหนัก 1 ตำลึง 2 บาท 1 สลึง 3 เฟื้อง

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 35 (จ. 40), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 35 (จ. 40), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1384?lang=th

77

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 34 (จ. 39)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากปรากฏข้อความเพียง “….เห็นสาร ในพระศรีรัตนม…”

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 34 (จ. 39), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 34 (จ. 39), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1382?lang=th

78

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 33 (จ. 37)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ ทราบเพียงว่ากล่าวถึงการปฏิสังขรณ์

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 33 (จ. 37), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 33 (จ. 37), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1380?lang=th

79

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 32 (จ. 33)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

กล่าวถึงการหลอมทองขึ้นหุ้มปลียอดพระศรีรัตนมหาธาตุ

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 32 (จ. 33), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 32 (จ. 33), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1378?lang=th

80

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 31 (จ. 32)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากปรากฏข้อความเพียง “…ภาณุมาคัคนากร จะฉาย…”

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 31 (จ. 32), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 31 (จ. 32), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1376?lang=th

81

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 30 (จ. 31)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

กล่าวถึงการเรี่ยไรทองจากกรรมการและญาติทายกทั้งหลาย

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 30 (จ. 31), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 30 (จ. 31), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2149?lang=th

82

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 29 (จ. 27)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจาก ปรากฏเพียงข้อความว่า “ …ศรีราชสงครามราม…”

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 29 (จ. 27), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 29 (จ. 27), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ศรีราชสงคราม

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1374?lang=th

83

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 28 (จ. 26)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ข้อความในจารึกทั้ง 2 บรรทัดไม่ต่อเนื่องกัน บรรทัดที่ 1 กล่าวถึง ฤกษ์ยาม ส่วนบรรทัดที่ 2 กล่าวถึง การช่วยเหลือสัตว์ทั้งหลายให้พ้นทุกข์

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 28 (จ. 26), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 28 (จ. 26), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1372?lang=th

84

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 27 (จ. 20, จ. 21, จ. 22)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

จารึกนี้มีข้อความที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถจับใจความได้ แต่เนื่องจากข้อความที่ปรากฏเหมือนกับ จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34) จึงทำให้ทราบว่า กล่าวถึงการถวายทอง 2 ชั่งและโพธิ์ทองซึ่งประดับด้วยมณีจำนวน 4 ใบโดยออกขุนสบรมพรหมรักษาและญาติ

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 27 (จ. 20, จ. 21, จ. 22), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 27 (จ. 20, จ. 21, จ. 22), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ออกขุนสบรมพรหมรักษา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1370?lang=th

85

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 26 (จ. 19, จ. 19/1)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 26 (จ. 19, จ. 19/1), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1368?lang=th

86

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 25 (จ. 17)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ท่านหาญณรายณ์ มีศรัทธาถวายทองแด่พระบรมธาตุ 2 ครั้ง โดยขอให้เป็นปัจจัยตราบเท่าถึงนิพพาน

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 25 (จ. 17), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 25 (จ. 17), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ท่านหาญณรายณ์

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1366?lang=th

87

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ออกขุนสบรมพรหมรักษาและญาติมีจิตศรัทธานำทอง 2 ชั่ง และโพธิ์ทองซึ่งประดับด้วยมณีจำนวน 4 ใบ ถวายแด่พระศรีรัตนมหาธาตุ

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 24 (จ. 16, จ. 34), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ออกขุนสบรมพรหมรักษา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1364?lang=th

88

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 23 (จ. 13)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความที่ปรากฏเป็นเพียงการกล่าวถึงฤกษ์ยามเท่านั้น

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 23 (จ. 13), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 23 (จ. 13), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1362?lang=th

89

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 22 (จ. 12)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

หม่อมแพง, หลวงสงครามวิชิต, หม่อมเมือง, หม่อมเกิด, หม่อมชาติ, หม่อมรัดทอง, หม่อมชุ่มและหม่อมหุร ร่วมกันเรี่ยไรทองจากญาติทายก แล้วให้ช่างแผ่ทองหุ้มพระศรีรัตนมหาธาตุ โดยขอให้กุศลนี้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 22 (จ. 12), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 22 (จ. 12), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หม่อมแพง, บุคคล-หลวงสงครามวิชิต, บุคคล-หม่อมเมือง, บุคคล-หม่อมเกิด, บุคคล-หม่อมชาติ, บุคคล-หม่อมรัดทอง, บุคคล-หม่อมชุ่ม, บุคคล-หม่อมหุร

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2136?lang=th

90

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 21 (จ. 8)

ขอมอยุธยา,ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากมีข้อความเพียง “…แผ่นดิน ข้าพระเจ้า ออกหลวงไชยปัญญา…”

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 21 (จ. 8), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 21 (จ. 8), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-ออกหลวงไชยปัญญา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 23-24

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1338?lang=th

91

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 20 (จ. 30)

ขอมอยุธยา

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความในจารึกกล่าวถึง ฤกษ์ วัน และเดือน เท่านั้น

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 20 (จ. 30), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 20 (จ. 30), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 22-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1352?lang=th

92

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 19 (จ. 29)

ขอมอยุธยา

ไม่สามารถจับใจความได้ เนื่องจากข้อความในจารึกกล่าวถึง ฤกษ์ วัน และเดือน เท่านั้น

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 19 (จ. 29), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 19 (จ. 29), อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศตวรรษ 22-23

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1350?lang=th

93

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 13 (จ. 44)

ขอมอยุธยา

พ.ศ. 2290 ทิดบุนมีนำแหวนขึ้นถวายพระบรมธาตุ โดยขอให้เกิดในชาติใดอย่ายากจนตราบเท่านิพพาน ส่วนเจ้าทิดอินทองถวายทองสองสลึง และเจ้าคงอินถวายทอง 1 เฟื้อง

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 13 (จ. 44), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 13 (จ. 44), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2290, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา,ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายแหวน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ทิดบุนมี, บุคคล-เจ้าทิดอินทอง, บุคคล-เจ้าคงอิน

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2290

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1356?lang=th

94

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 12 (จ. 11)

ขอมอยุธยา

พ.ศ. 2277 เจ้าคุณข้างใน และเจ้าคุณเสน่ห์มนตรี มีศรัทธานำทองคำแผ่หุ้มยอดพระบรมธาตุ โดยตั้งความปรารถนาให้ถึงแก่นิพพาน

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 12 (จ. 11), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 12 (จ. 11), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา,ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าคุณข้างใน, บุคคล-เจ้าคุณเสน่ห์มนตรี

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2277

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1340?lang=th

95

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 11 (จ. 25)

ขอมอยุธยา

เนื้อหาที่ปรากฏในจารึกนี้เป็นเพียงข้อความเริ่มต้นคือ “ศิริศุภมัศดุ มังคลดิเรก 1622 ศก นาคสังวัจฉเรเจตฺรมา (ส) ……”

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 11 (จ. 25), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 11 (จ. 25), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2243, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเพทราชา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2243

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1346?lang=th

96

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 10 (จ. 28)

ขอมอยุธยา

พ.ศ. 2242 อุบาสิกาอัถยทอง ออกหลวงไกร ท่านนางคง สีกาปาน สีกาบุตต์ และทายกทั้งปวง ร่วมกันนำทองมาตีโบกพระศรีรัตนมหาธาตุ โดยมีท่านนางคงเป็นประธาน

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 10 (จ. 28), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 10 (จ. 28), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2242, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเพทราชา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ,บุคคล-อุบาสิกาอัถยทอง, บุคคล-ออกหลวงไกร, บุคคล-ท่านนางคง, บุคคล-สีกาปาน, บุคคล-สีกาบุตต์

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2242

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1348?lang=th

97

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 9 (จ. 45)

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

แผ่นทองด้านซ้าย กล่าวถึงการห่มทองโดย จัน ใน พ.ศ. 2377 ตอนท้ายตั้งความปรารถนาขอให้ตนได้พบพระศรีอารย์ แผ่นทองด้านขวา กล่าวถึง การบริจาคทองคำเพื่อบุพระบรมธาตุโดยมหาอุบาสิกาชุมและทายกทั้งปวง ใน พ.ศ. 2235

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 9 (จ. 45), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 9 (จ. 45), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2235, อายุ-จารึก พ.ศ. 2377, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเพทราชา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-มหาอุบาสิกาชุม, บุคคล-จัน

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2235 และ 2377

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2145?lang=th

98

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 8 (จ. 18)

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการบริจาคทองคำใน พ.ศ. 2230 โดยออกท้าวประทองและออกญาพัทลุงผู้ถึงแก่มรณภาพ

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 8 (จ. 18), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 8 (จ. 18), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2230, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, บุคคล-ออกท้าวประคอง, บุคคล-ออกท้าวพัทลุง

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2230

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1344?lang=th

99

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 7 (จ. 23)

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการถวายพระราชกุศลแด่สยัมภูวญาณ? ใน พ.ศ. 2229

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 7 (จ. 23), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 7 (จ. 23), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2227, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2229

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1327?lang=th

100

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 6 (จ. 41)

ขอมอยุธยา

พ.ศ. 2213 ออกพระสวย ออกหลวงเทวเสนา ออกหลวงไชยปัญญาบดี ออกหลวงพิบูลย์สมบัติเศรษฐี และสัปปุรุษทั้งหลาย ร่วมกันบริจาคทองคำแด่พระบรมธาตุเจดีย์ ตอนท้ายแผ่กุศลแด่เทวดาอารักษ์

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 6 (จ. 41), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 6 (จ. 41), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2213, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, บุคคล-ออกพระสวย, บุคคล-ออกหลวงเทวเสนา, บุคคล-ออกหลวงไชยปัญญาบดี, บุคคล-ออกหลวงพิบูลย์สมบัติเศรษฐี

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2213

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1325?lang=th

101

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 5 (จ. 38)

ขอมอยุธยา

ใน พ.ศ. 2211 พระมหาธรรมราช วัดหน้าพระลาน, พระคงทอง วัดอรัญญิก, มหานราย และสัปปุรุษทั้งหลาย มีศรัทธารับแผ่นทองขึ้นประดิษฐานในยอดมหาเจดีย์

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 5 (จ. 38), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 5 (จ. 38), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2211, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานแผ่นทอง, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-พระมหาธรรมราช, บุคคล-พระคงทอง, บุคคล-มหานราย

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2211

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1354?lang=th

102

จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 5

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้

จารึกพญา, ลพ. 56 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 56 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 5 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ลำพูน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การถวายแผ่นหิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 22-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12862?lang=th

103

จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้

จารึกพญา, ลพ. 55 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 55 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 4 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 22-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12860?lang=th

104

จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 3

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้

จารึกพญา, ลพ. 54 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 3 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 54 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 3 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 22-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12858?lang=th

105

จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 2

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้

จารึกพญา, ลพ. 53 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 2 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 53 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 2 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 22-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12856?lang=th

106

จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 1

ฝักขาม

เนื้อหาในจารึกระบุนาม “เจ้าพุดพัดเทวากร” ผู้สร้างหรืออุทิศแผ่นหินแผ่นนี้

จารึกพญา, ลพ. 52 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 1 พุทธศตวรรษที่ 22-23, ลพ. 52 จารึกเจ้าพุดพัดเทวากร 1 พุทธศตวรรษที่ 22-23, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

พุทธศตวรรษ 22-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12854?lang=th

107

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2

ไทยอยุธยา

พ.ศ. 2298 ท้าวพรมกันดาลถวายผู้คนเป็นข้าพระดูแลวัด ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะนำคนเหล่านั้นไปเป็นบ่าวไพร่ โดยขอให้ตกนรกและไม่ได้พบพระพุทธเจ้า

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2, จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2, อย. 4, อย. 4, จารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทยสมัยอยุธยา (พระเจ้าบรมโกศ), พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, จ.ศ. 1117, จุลศักราช 1117, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, จ.ศ. 1117, จุลศักราช 1117, อิฐถือปูน, ฝาผนัง, พระอุโบสถวัดพรหมกัลยาราม, ตำบลคลองสระบัว, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ท้าวพรหมกันดาล, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, นายนาก, นายมา, อ้ายบุญใหญ่, อ้ายบุญน้อย, อ้ายชีย์, อ้ายเกิด, อ้ายสน, อ้ายสี, อ้ายบุญมาก, อีฉิม, อีทองมาก, อีกุ, อีเขียว, พระพุทธเจ้า, ข้าพระ, บ่าวไพร่, พุทธศาสนา, อาราม, นรก, มหาวิจิ, อเวจี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, ลักษณะ-จารึกบนผนัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพรหมกัลยาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-ท้าวพรหมกันดาล, ไม่มีรูป, วัดศรีโพธิ์, วัดใหม่ศรีโพธิ์, วัดพรหมกัลยาราม

พระอุโบสถวัดวัดศรีโพธิ์ (วัดใหม่ศรีโพธิ์) ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2298

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/664?lang=th

108

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1

ไทยอยุธยา

1) พ.ศ. 2292 ท้าวพรหมกันดาล ทูลขอที่ดินเพิ่มแก่วัด ในปีเดียวกัน กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์และกรมขุนอนุรักษ์มนตรีทรงผนวช ณ วัดแห่งนี้ ต่อมาใน พ.ศ. 2296 การสร้างจึงเสร็จสมบูรณ์
2) บอกรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย และกล่าวถึงการตั้งชื่อวัดดังกล่าวว่า “วัดพรมกัลยาราม”
3) ตอนท้ายมีการตั้งความปรารถนาให้ได้พบพระศรีอารย์และเข้าสู่นิพพาน

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1, จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1, อย. 4/ก, อย. 4/ก, จารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทยสมัยอยุธยา (พระเจ้าบรมโกศ) , พ.ศ. 2296, พุทธศักราช 2296, พ.ศ. 2296, พุทธศักราช 2296, พ.ศ. 2292, พุทธศักราช 2292, พ.ศ. 2292, พุทธศักราช 2292 , อิฐถือปูน , ฝาผนัง , พระอุโบสถวัดพรหมกัลยาราม, ตำบลคลองสระบัว, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา , ไทย, อยุธยา, ประธาน, ท้าวพรหมกันดาล, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, นายนาก, นายกอง, กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์, กรมขุนอนุรักษ์มนตรี, พระเจ้าเอกทัศน์, พระมงคลเทพ, สัปบุรุษ, พระราชโอรสา, พระสงฆ์, คณะปรก, ภิกษุ, พระพุทธเจ้า, พระสรรเพชร, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารยเมไตรย์, พระศรีอารย์ อนาคตพุทธเจ้า, ไพร่, เจ้าฟ้านเรนทร์, ไม้, อิฐ, ปูน, รัก, ระฆัง, เพลา , เงินตรา, ผ้าพรรณนุ่งห่ม, ทอง, รัก, ปากใต้ , ปักษ์ใต้, พุทธศาสนา, คันธาราม, อาราม, อุโบสถ, พัทธเสมา, พัทธสีมา, หอระฆัง, ธรรมาสน์, วัดพรมกัลยาราม, ก่อรากพระอุโบสถ, ผนวช, ผูกพัทธเสมา, ผูกพัทธสีมา, ทำบุญ, แจกทาน, สวดเทศนา, อุปสมบท, ทาน, บาป, กรรม, พระนิพพาน, สังฆกิจ, พุทธโอวาท, กำ, ชาติ, อนาคตกาล, ธรรม, ปีมะเส็ง, เอกศก, ชั่ง, บาท, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ไพ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2296, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนผนัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพรหมกัลยาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-อุปสมบท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ท้าวพรหมกันดาล, บุคคล-กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์, บุคคล-กรมขุนอนุรักษ์มนตรี, วัดศรีโพธิ์, วัดพรหมกัลยาราม, วัดใหม่ศรีโพธิ์

พระอุโบสถวัดศรีโพธิ์ (วัดใหม่ศรีโพธิ์) ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2296

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/677?lang=th

109

จารึกวัดโพธิ์หอม

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

ข้อความที่จารึกเป็นเรื่องมหาธรรมเถียรและยศเถียร พี่น้อง 2 คน ได้สร้างพระพุทธรูป สร้างวิหารไว้ในพระพุทธศาสนา แล้วตั้งความปรารถนาไว้ในอนาคตกาล

สท. 35, สท. 35, หลักที่ 96 จารึกวัดโพธิ์หอม, หลักที่ 96 จารึกวัดโพธิ์หอม, พ.ศ. 2025, พ.ศ. 2028, พ.ศ. 2232, พุทธศักราช 2025, พุทธศักราช 2028, พุทธศักราช 2232, พ.ศ. 2025, พ.ศ. 2028, พ.ศ. 2232, พุทธศักราช 2025, พุทธศักราช 2028, พุทธศักราช 2232, ดินเผา, รูปใบเสมา, วัดโพธิ์หอม, ตำบลดงเดือย, อำเภอกงไกรลาส, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, อยุธยา, มหาพราหมณ์, มหากษัตรธิราช, มหากษัตราธิราช, เศรษฐี, พระพุทธเจ้า, พระเจ้า, มหาธรรมเถียร, ยศเถียร, พุทธศาสนา, วัดเหนือ, วัดใต้พระเจดีย์, พระวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, สร้างวัด, ยกพระวิหาร, พระนิพพาน, พระสัทธรรม, พระคัมภีร์, พระใจดี, พระพุทธรูป, ภพ, ชาติ, ประเวณี, อนาคตกาล, ปัจจัย, ตระกูล, ปีฉลู, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 2225, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23. ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-มหาธรรมเถียร, บุคคล-ยศเถียร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศักราช 2225

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/612?lang=th

110

จารึกวัดแก้วบัวบาน

ไทยน้อย

ข้อความจารึกกล่าวถึงพระมหาเถรเจ้าขำยศสร้างวัด (คงจะเป็นวัดบ้านมะเฟือง) กำหนดเขตแดนที่อุทิศ พร้อมทั้งกล่าวคำสาปแช่งผู้ที่เบียดบังทรัพย์สินของสงฆ์

จารึกวัดแก้วบัวบาน, พ.ศ. 2264, พุทธศักราช 2264, พ.ศ. 2264, พุทธศักราช 2264, จ.ศ. 1083, จุลศักราช 1083, จ.ศ. 1083, จุลศักราช 1083, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดแก้วบัวบาน, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, มหาเถรเจ้าขำยศ, เจ้าพระยาจัน, พระพุทธเจ้า, หลักเสมา, หลักสีมา, พุทธศาสนา, อาราม, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีกรกฎ, พระศุกร์, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีเมษ, โลภตัณหา, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2264, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (พระไชยองค์เว้), ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแก้วบัวบาน หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระมหาเถรเจ้าขำยศ

วัดแก้วบัวบาน ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2264

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2403?lang=th

111

จารึกวัดแก่งศิลา

ไทยน้อย

ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้างวัด

จารึกวัดแก่งศิลา, พ.ศ. 2230, พุทธศักราช 2230, พ.ศ. 2230, พุทธศักราช 2230, จ.ศ. 1049, จุลศักราช 1049, จ.ศ. 1049, จุลศักราช 1049, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดแก่งศิลา, ตำบลแก้งไก่, อำเภอสังคม, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระราหู, พระจันทร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีเมษ, ศักราช 49, ศักราช 49, มื้อรับเม้า, มื้อรับเหม้า, มื้อดับเม้า, มื้อดับเหม้า, ปีเมิงเม้า, ปีเมิงเหม้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2230, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแก่งศิลา หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน

วัดแก่งศิลา ตำบลแก้งไก่ อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2230

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2405?lang=th

112

จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นใหม่)

ธรรมล้านนา

ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2226 พระมหาเกสารปัญโญเจ้าทรงเป็นประธานพร้อมด้วยศิษยานุศิษย์ทั้งหลายได้นิมนต์พระสงฆ์มาร่วมพิธีสร้างแปลงวัดเสลารัตนปัพพตาราม

จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นใหม่), ลป. 23 (แผ่นใหม่) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23 (แผ่นใหม่) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23, ลป. 23, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, วัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, พระสงฆ์, นักบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2226, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเจพูตราย, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเสลารัตนปัพพตาราม ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-พระมหาเกสารปัญโญเจ้า

ขื่อวิหารวัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560)

พุทธศักราช 2226

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16030?lang=th

113

จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นเก่า)

ธรรมล้านนา

ข้อความจารึกระบุว่า พ.ศ. 2226  พระมหาเกสารปัญโญเจ้าทรงเป็นประธานพร้อมด้วยศิษยานุศิษย์ทั้งหลายได้นิมนต์พระสงฆ์มาร่วมพิธีสร้างแปลงวัดเสลารัตนปัพพตาราม

จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม (แผ่นเก่า), ลป. 23 (แผ่นเก่า) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23 (แผ่นเก่า) จารึกวัดเสลารัตนบัพพตาราม พ.ศ. 2226, ลป. 23, ลป. 23, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, พ.ศ. 2226, พุทธศักราช 2226, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, จ.ศ. 1045, จุลศักราช 1045, วัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, พระสงฆ์, นักบุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2226, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเจพูตราย, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเสลารัตนปัพพตาราม ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-พระมหาเกสารปัญโญเจ้า

ขื่อวิหารวัดเสลารัตนปัพพตาราม (วัดไหล่หินแก้วช้างยืน) ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 26 กรกฎาคม 2560)

พุทธศักราช 2226

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16023?lang=th

114

จารึกวัดเทพจันทร์

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระวิหารวัดเทพจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2277 โดยกรมหลวงราชานุรัตน์และมหาเพชญผู้เป็นเจ้าอาวาส ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะทำอันตรายแก่พระพุทธรูปและวิหาร โดยขอให้ตกนรกอเวจี อย่าทันพบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และกล่าวถึงผู้บูรณะมณฑปพระพุทธบาทคือ พระสงฆ์ นามว่า เหมือน และสมภารวัดเทพจันทร์ การปฏิสังขรณ์ดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2279

ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, อย. 3, อย. 3, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระราชวังจันทรเกษม, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, จันปัญญาอธิการ, มัคนายก, เจ้าพระองค์กรมหลวงราชานุรัตน์, มหาเพชญ, เจ้าอธิการวัดเทพจันทร์, ท่านทายก, เหมือน (พระสงฆ์),), สงฆ์, สมภาร, เงิน, ทองปิดพระประธาน, วัดเทพจันทร์, วัดจงกรม, พุทธศาสนา, ท้องพระวิหาร, เสาพระวิหาร, วัด, มณฑป, วัดจงกรม, มุข, ช่อฟ้า, หางหงส์, ดาวเพดาน, บูรณะมณฑป, ปฏิสังขรณ์พระวิหาร, ปิดทองพระประธาน, ปีขาล, ฉศก, วันอังคาร, พระพุทธรูป, รูปพระปฏิมากร, พระประธาน, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, นรก, อเวจี, อพิจี, อบายทุกข์, ชั่ง, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ปัจจัย, เดือนยี่, ปีมะโรง, อัฐศก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2277

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/650?lang=th

115

จารึกวัดศรีดอนคำ (ห้วยอ้อ)

ธรรมล้านนา

ในปี พ.ศ. 2201 เจ้าฟ้าหลวงเมืองลายข้า เจ้าเมืองนคร ผู้เป็นโอรสของเจ้าฟ้าหลวงเสือก่อนฟ้า เป็นนัดดาของเจ้าหลวงเสือจ้อฟ้า ได้มีพระราชศรัทธาถวายที่ดินแปลงหนึ่งขนาดกว้าง 27 วา ยาว 35 วาให้แก่วัด โดยโปรดให้ข้าราชการฝ่ายในชื่อชั้นในและหมื่นหลจิตรสารเป็นตัวแทนพระองค์ในการถวายที่ดินดังกล่าว

จารึกวัดศรีดอนคำ (ห้วยอ้อ), แผ่นไม้, แผงพระพิมพ์ไม้, วัดพระธาตุศรีดอนคำ (ห้วยอ้อ) ตำบลห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่, ล้านนา, เจ้าฟ้าหลวงเมืองลาย, เจ้าฟ้าหลวงเสือก่อนฟ้า, หลานเจ้าฟ้าหลวงเสือจ้อ, เมืองลายข้า, อุปทูต, หมื่นหลจิตรสาร, อนุทูต, พระสังฆเจ้า, เมืองนครลำปาง, เมืองลอง, ตั้งเสา, กัลปนา, ถวายที่ดินให้วัด, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยเหนือ, จารึก พ.ศ. 2281, จารึกล้านนา, จารึกที่แผงพระพิมพ์ไม้, จารึกบนแผ่นไม้, วัดพระธาตุศรีดอนคำ, จารึกพบที่แพร่, กษัตริย์และผู้ครองนครลำปาง, ประวัติศาสตร์ล้านนา, ประวัติศาสตร์นครลำปาง, กัลปนา, ถวายที่ดินให้วัด, กินเมือง

วัดพระธาตุศรีดอนคำ (ห้วยอ้อ) ตำบลห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ (สำรวจเมื่อวันที่ 10-13 มิถุนายน 2562)

พุทธศักราช 2201

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12723?lang=th

116

จารึกวัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการปิดทองพระพุทธรูปซึ่งเสร็จสมบูรณ์ ใน พ.ศ. 2228 ตอนท้ายมีการสาปแช่งให้ผู้ที่จะเอาทรัพย์สินใต้ฐานพระพุทธรูปให้ตกสู่โลกันตนรก อนึ่ง ดวงฤกษ์ที่ปรากฏบนจารึก ตรงกับ จันทรคติกาล วันพุธ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 3 ปีชวด ฉศกจุลศักราช 1046 สุริยคติกาล วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2227 เวลา 19 นาฬิกา 38 นาที ลัคนาสถิตย์ราศีกันย์ (อาจารย์ ทองเจือ อ่างแก้ว คำนวณตามคัมภีร์สุริยยาตร)

ศิลาจารึก วัดมหาธาตุฯ, จารึกวัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ, หลักที่ 115 ศิลาจารึกวัดมหาธาตุ, หลักที่ 115 ศิลาจารึกวัดมหาธาตุ, พ.ศ. 2228, จ.ศ. 1047, พ.ศ. 2228, จ.ศ. 1047, พุทธศักราช 2228, จุลศักราช 1047, พุทธศักราช 2228, จุลศักราช 1047, พระสงฆ์, สัปปุรุษ, พระพุทธเจ้า, ทอง, ทรัพย์เงินทอง, เมืองสุพรรณ, พุทธศาสนา, ปิดทองพระพุทธรุป, พระพุทธรูป, ฐานพระปฏิมากรเจ้า, โลกันตนรก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ใน ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 : ประมวลจารึกที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคกลางของประเทศไทย อันจารึกด้วยอักษรและภาษาไทย, ขอม, มอญ, บาลีสันสกฤต, อายุ-พ.ศ. 2228, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทองพระพุทธรูป

กุฎีพระรัตนเมธี คณะ 1 วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2228

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/679?lang=th

117

จารึกวัดพระบรมธาตุชัยนาท

ขอมอยุธยา

เป็นข้อความกล่าวถึง การปฏิสังขรณ์และก่อสร้างกำแพงล้อมพระบรมธาตุ

จารึกวัดพระบรมธาตุชัยนาท, ชน. 1, ชน. 1, หลักที่ 97 ศิลาจารึกวัดพระบรมธาตุชัยนาท, หลักที่ 97 ศิลาจารึกวัดพระบรมธาตุชัยนาท, พ.ศ. 2260, พุทธศักราช 2260, พ.ศ. 2260, พุทธศักราช 2260, ศิลา, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดพระบรมธาตุ, ตำบลชัยนาท, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, พระพุทธสร, มหาพุทธสร, สมเด็จเจ้าพระทิพมนต์, พระสงฆ์, หัวแหลมตาอินโชติ, เจ้าครัว, ขุนพรหม, ตาเสมียนพรหมมุนี, พยุแด่นขุนศรีทิพย์, พระครู, พระสงฆ์, สัปปุรุษ, ช่างดีบุก, เจ้าครัว, ชาวบก, ชาวเรือ, ขุนพรหม, อธิการ, ประธาน, ฉัตร, บัวกลุ่ม, ทอง, วันจันทร์, วันอังคาร, กลีบจำปา, ข้าวบิณฑ์, องค์ระฆัง, ราชวัติฉัตรธงดอกไม้ใต้เทียน, บ้านมโนรมย์, หัวดาน, บ้านโคกพระ, บ้านพังม่วง, บ้านตะหลุก, บ้านอ้อย, สรรพยา, เมืองแพรก, พระงาม, หัวเมืองชัยนาทบุรี, บ้านแขก, วัดตึก, ปากน้ำคุ้งสำเภา, บ้านตะหลุก, วัดป่าข้าวเปลือก, พระบรมธาตุ, พระเจดีย์, พระปรางค์, พระมหาธาตุ, กุฏิน้อย, พระปรางค์พิธีกรรม:ปฏิสังขรณ์ซ่อมแปลงพระบรมธาตุ, ปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุ, หุ้มพระบรมธาตุ, ปิดทอง, สมโภชพระบรมทาส, สังคายนาอื่นๆ: พระฏฐารส, สมเด็จพระรูป, พระไตรปิฎก, พระมหาชาติ, พระมหาธาตุหัวเมืองชัยนาทบุรี, กำแพง, หนังสือ , บัลลังก์, วันศุกร์, ปีระกานพศก, พระวัสสา, สังขยา, วันพฤหัสบดี, หลังคา, ประตู, พระพุทธรูปยืน, พระพทธรูปนั่ง, หน้าบัน, พระนาค, ทวาร, เสาหน้ามุข, เสามุข, ตำลึง, บาท, สลึง, เฟื้อง, ปีจอ, สัมฤทธิศก, เดือนพฤศจิกายน, โขน, หนัง, ละคร, ปีกุน, เอกศก, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2260, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดพระบรมธาตุ ตำบลชัยนาท อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท

พุทธศักราช 2260

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/615?lang=th

118

จารึกวัดพระคันธกุฎี

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการสร้างวัดพระคันธกุฎีใน พ.ศ. 2298 มีการแผ่ส่วนบุญแด่บุพการีผู้มีพระคุณ รวมทั้งยักษ์ ปีศาจ และเทวดาทั้งหลาย ตอนท้ายสาปแช่งผู้คิดจะฉ้อโกงของวัด โดยขอให้ตกนรกอเวจี และระบุชื่อผู้ที่ถูกกัลปนาให้เป็นผู้ดูแลรักษาวัด (ข้าพระ)

จารึกวัดพระคันธกุฎี, อย. 5, อย. 5, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, หินชนวนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, วัดพระคันธกุฎี, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, หมื่นสกลเขตรักษา, นายบุญเกิดฉาง, นายบุญทองบ้านไทร, นายคุมบ้าน, นายมาก, พระสรรเพชญพุทธเจ้า, พระอานนท์, ข้าพระ, พระแท่น, พระเขนย, หมอน, ผ้าชุบสรง, ผ้าอาบน้ำฝน, อาสนะ, เงิน, ทอง, ศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย์, บ้านคลอง, กรุงพาลี, พุทธศาสนา, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระวิหารน้อย, พระเจดีย์, พระอุโบสถ, การทำบุญ, เทศนา, วิสัชนา, ปัญหาเทวดา, ถวายผ้าชุบสรง, พระกัลปนา, พระวัสสา, พระพุทธรูป, เทวดาบรรพต, เทวดาพระธรณี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาฬวกยักษ์, มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ผี, ปีศาจ, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์, ส่วนบุญ, ปริศนาลายแทง, ทรัพย์, ถนน, มหานรก, กัลป์, บ้านคลอง, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระแท่น, พระเขนย(หมอน) , ผ้า, พระพุทธรูป, พระสรรเพชญ์, เทวดา, พระอานนท์,ผ้าชุบสรง (ผ้าอาบน้ำฝน) , วิหาร, เจดีย์, อุโบสถ, กุฎี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาทวกยักษ์, จิตรเสนยักษ์ มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ปีศาจ, กรุงพาลี, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์ 3 ประการ การทำบุญ, ส่วนบุญ, ข้าพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระคันธกุฎี พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2298

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/638?lang=th

119

จารึกวัดบ้านแร่ (วัดเหนือศรีสะอาด)

ไทยน้อย

ข้อความจารึกกล่าวถึงบรรดาท้าวพระยาในท้องถิ่น ได้ถวายที่ดินกับวัด

จารึกวัดบ้านแร่ (วัดเหนือศรีสะอาด), สน. 8, สน. 8,พ.ศ. 2203, พุทธศักราช 2203, พ.ศ. 2203, พุทธศักราช 2203, จ.ศ. 1022, จุลศักราช 1022, จ.ศ. 1022, จุลศักราช 1022, ศิลาทราย, รูปใบเสมา หักครึ่ง, วัดบ้านแร่, ตำบลแร่, อำเภอพังโคน, จังหวัดสกลนคร, ไทย, ล้านช้าง, ท้าวพระยาหมื่นแสน, สมเด็จพระสังฆราช, พระเจ้า, ข้าโอกาส, กรรมการฝ่ายฆราวาส, หนองปลาดุก, นาหนองปากอูน, ห้วยแฝก, ห้วยทราย, หลักโพนอวบ, หลักต้นดอม, หลักต้นยม, หลักหนองปลาดุก, พุทธศาสนา, พระเสมา, สีมมา, พระอุโบสถ, สิมมา, ถวายที่ดิน, ภายนอก, พระบาทคำเจ้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ,ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง ; สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2203, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบ้านแร่ สกลนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-ท้าวพระยา

วัดบ้านแร่ ตำบลแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร

พุทธศักราช 2203

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2231?lang=th

120

จารึกวัดท่าแขก

ธรรมอีสาน

ข้อความจารึกบอกฤกษ์ยามในการสร้างโบสถ์

จารึกวัดท่าแขก, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, หินชนวน, เสาทรงสี่เหลี่ยมด้านเท่า, วัดท่าแขก, อำเภอเชียงคาน, จังหวัดเลยอาณาจักร: ไทย, ล้านช้าง, มื้อกาบสัน, ยามตั้ง, หรคุณ, อวมาณ, อวมาน

ในพระอุโบสถวัดท่าแขก ตำบลกุดป่อง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (สำรวจเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2556)

พุทธศักราช 2209

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2436?lang=th

121

จารึกวัดจุฬามณี

ไทยอยุธยา

1) กล่าวย้อนไปถึงครั้งสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถทรงมีพระบรมราชโองการให้สร้างวัดจุฬามณี เพื่อทรงจำพรรษาขณะออกผนวช
2) สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดให้สร้างพระพุทธบาทจำลองประดิษฐานไว้ที่วัดจุฬามณี เมื่อ พ.ศ. 2224

พล. 4, พล. 4, จารึกวัดจุฬามณี, พระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ, พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช, พญาล้านช้าง, พญาเชียงใหม่, พระเจ้าติโลกราช, พญาหงสาวดี, หลวงสิทธิมหาดเล็ก, หมื่นราชสังฆการี, พระครูธรรมไตรโลกนารถราชมุนีสีลวิสุทธาจารย์, พระพิมลธรรม, วัดจุฬามณี, พระที่นั่งศรีสุริยาศอมรินทร์, อาราม, ผนวช, บวช, มหาภิเนษกรม, อัฐบริขาร, สงฆ์, รอยพระพุทธบาท, ข้าพระ, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, รัตนตรัย, นรก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึก พ.ศ. 2224, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจุฬามณี พิษณุโลก, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดจุฬามณี พิษณุโลก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, บุคคล-สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ, บุคคล-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดจุฬามณี ตำบลท่าทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก (สำรวจ 31 มกราคม 2554)

พุทธศักราช 2224

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/675?lang=th

122

จารึกลานเงินพระราชสาส์นตราตั้ง

ไทยน้อย

ข้อความจารึกเป็นพระราชสาส์นพระราชอาชญาจากเจ้านครวรกษัตริย์ขัติยราชวงศา นามกรแด่แสนจันทรานิทธิสิทธิมงคลสุนทรอมร

3840/92, 3840/92, จารึกลานเงินพระราชสาส์นตราตั้ง, พุทธศักราช 2238, พุทธศักราช 2238, พ.ศ. 2238, พ.ศ. 2238, จุลศักราช 1057, จุลศักราช 1057, จ.ศ. 1057, จ.ศ. 1057, เงิน, แผ่นเงิน, กรุหมายเลข 44, กรุหมายเลข 44, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, เจ้านครวรกษัตริย์ขัติยราชวงศาเจ้าสิทธิพระพร, แสนจันทรานิทธิสิทธิมงคลสุนทรอมร, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระราชอาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2238, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, บุคคล-เจ้านครวรกษัตริย์ขัติยราชวงศา, บุคคล-แสนจันทรานิทธิสิทธิมงคลสุนทรอมร, ไม่มีรูป

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

พุทธศักราช 2238

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2204?lang=th

123

จารึกลานเงิน

ไทยน้อย

เมื่อปี พ.ศ. 2241 พ่อออกพระขนานโคษกับทั้งบุตร และภรรยา มีใจศรัทธาในพุทธศาสนา จึงได้นำอูบพระชินธาตุเจ้ามาฐาปนาที่ธาตุประนม

5442/46, 5442/46, จารึกลานเงิน, พุทธศักราช 2241, พุทธศักราช 2241, พ.ศ. 2241, พ.ศ. 2241, จุลศักราช 1060, จุลศักราช 1060, จ.ศ. 1060, จ.ศ. 1060, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 10, กรุหมายเลข 10, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, พ่อออกพระขนานโคษ, บุตร, ภรรยา, อูบ, ผอบ, ตลับ, จันทปุระ, พุทธศาสนา, ธาตุประนม, ฐาปนา, ประดิษฐาน, ปีเปิกยี่, ปีเปิกยี, ปีเปลิกยี่, ปีเปลิกยี, พระชินธาตุเจ้า, ทาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลา, พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา), อุรังคนิทาน : ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร), วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2241, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าองค์หล่อ, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นเงิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-พ่อออกพระขนานโคษ, ไม่มีรูป

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

พุทธศักราช 2241

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2207?lang=th

124

จารึกพระศรีมหาโพธิ

ฝักขาม

กล่าวถึงต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่านำมาจากทางทิศใต้ทุกต้น

ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 12, ชร.12, หินชนวนสีน้ำตาล, ลักษณะ, แผ่นรูปไข่, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, พุทธศาสนา, ทักขิณ, ทักษิณ, พระทันตธาตุ, ไทย, ล้านนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปวงรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ต้นพระศรีมหาโพธิ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1464?lang=th

125

จารึกพระวชิรเถรสร้างพระพุทธรูป

ธรรมล้านนา

พระวชิรเถระสร้างพระพุทธรูปหิน โดยขอให้ได้ตรัสรู้ในพระโพธิญาณ

จารึกพระวชิรเถรสร้างพระพุทธรูป, ชร.32, ชร. 32, พุทธศตวรรษที่ 21-23, พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทราย, ฐานพระพุทธรูปอาณาจักรล้านนา, ศาสนาพุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, ตรัสรู้, พระพุทธเจ้า, สัพพัญญู, โพธิญาณ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนหินทราย, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกในวังพระโบราณเวียงเดิม, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, นิพพาน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังพระโบราณเวียงเดิม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระวชิรเถระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง , มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดพระโบราณเวียงเดิม ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเวียงไชย จังหวัดเชียงราย

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1505?lang=th

126

จารึกบนแผ่นไม้บุษบกธรรมาสน์ วัดมณีชลขัณฑ์

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงประวัติการสร้างบุษบกธรรมาสน์หลังนี้เมื่อ พ.ศ. 2225 และรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย

จารึกบนแผ่นไม้บุษบกธรรมาสน์วัดมณีชลขัณฑ์, ลบ. 32, ลบ. 32, กพช. 85/2225, กพช. 85/2225, พ.ศ. 2225, พ.ศ. 2225, อยุธยาตอนปลาย, พระนารายณ์มหาราช, วัดมณีชลขัณฑ์ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี, ขุนศรีเทพบาลราชรักษา, บัน, แม่ออกบัน, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรมศิลปากร, สมเด็จพระนารายณ์และพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 : บทวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับสัมพันธภาพไทย-ฝรั่งเศส รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึก พ.ศ. 2225, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างธรรมาสน์, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : สมเด็จพระนารายณ์และพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 : บทวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับสัมพันธภาพไทย-ฝรั่งเศส รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2530)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560)

พุทธศักราช 2225

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2447?lang=th

127

จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีน้อยคำ จับความได้ว่ากล่าวถึงการอุทิศคนและเงินให้แก่วัด

จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด, ชร. 24, ชร. 24, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เบี้ย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1407?lang=th

128

จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ข้อความจารึกมีน้อยคำ ไม่ชัดเจนว่ากล่าวถึงเรื่องอะไร

จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ, ชร. 20, ชร. 20, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, รัตนทัญ, ราญ, มวรรัตน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1403?lang=th

129

จารึกบนแผ่นอิฐพุทธสร

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีข้อความว่า “ดินพุทธสร” น่าจะเป็นชื่อของที่ดินแห่งหนึ่ง

จารึกบนแผ่นอิฐพุทธสร, ชร. 22, ชร. 22, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินพุทธสร, ดินพุดทะสอน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1405?lang=th

130

จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น

ธรรมล้านนา

ข้อความจารึกระบุนามของผู้ปั้นอิฐคือ “ธุกขัตย”

จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น, ชร. 23, ชร. 23, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ปั้นอิฐ, ธุกขัตยะ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3931?lang=th

131

จารึกบนแผ่นอิฐ

ฝักขาม

จารึกชำรุดมาก ปรากฏข้อความเพียงน้อยคำ ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกบนแผ่นอิฐ, ชร. 16, ชร. 16, ดินเผา, แผ่นชำรุด, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แอวี, โลกย์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1399?lang=th

132

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุดบางส่วน จับความได้ว่ากล่าวถึงการสร้างสิ่งหนึ่งด้วยเงินและทองคำเพื่อถวายไว้ในพระศาสนา

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 4 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19170?lang=th

133

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุดบางส่วน อ่านได้ความว่าการถวายอะไรอย่างหนึ่งไว้กับวัดคงคาวดี และอธิษฐานขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 4 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 4 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19168?lang=th

134

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด อ่านจับใจความไม่ได้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 3 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19166?lang=th

135

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด อ่านไม่ได้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 3 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 3 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19164?lang=th

136

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด กล่าวถึงศักราชที่เกิดเหตุการณ์

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 2 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19162?lang=th

137

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุดเหลือคำเดียวคือคำว่า “พระ”

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 2 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 2 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19160?lang=th

138

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านซ้ายของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชำรุด แปลความไม่ได้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านซ้ายของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 1 ด้านซ้ายของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19158?lang=th

139

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านขวาของนาค)

ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกกล่าวถึงศักราชของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ นาคตัวที่ 1 (ด้านขวาของนาค), จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (นาคตัวที่ 1 ด้านขวาของนาค), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19156?lang=th

140

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (บนขอบหัวระฆัง)

ขอมอยุธยา

เป็นข้อความของสมภารวัดกล่าวถึงการสร้างระฆังใบนี้

จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ (บนขอบหัวระฆัง), วัดคงคาวดี ตำบลกะหรอ อำเภอนบพิตำ (ข้อมูลเดิมเป็น อำเภอท่าศาลา) จังหวัดนครศรีธรรมราช, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, พ.ศ. 2210, พุทธศักราช 2210, อายุ-จารึก พ.ศ. 2210, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2210

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19172?lang=th

141

จารึกบนดินขอโรงเหนือ

ธรรมล้านนา,พม่า

บอกประวัติของดินขอแผ่นนี้ว่าถูกปั้นขึ้นเมื่ออยู่โรงเหนือ

ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 – 23, ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 – 23, พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ดินเผา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เวียงห้าว ตำบล หัวงุ้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย, ล้านนา, โรงเหนือ, พุทธ, ดินขอ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1610?lang=th

142

จารึกบนดินขอญาณปั้น

ฝักขาม

ข้อความจารึกมีคำเดียว คือ “ญาณปั้น”

จารึกบนดินขอญาณปั้น, ชร. 19, ชร. 19, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญาณปั้น, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ญาณปั้น, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1401?lang=th

143

จารึกที่ปากระฆังวัดเพชร อำเภอเสาไห้

ไทยอยุธยา

ข้อความในจารึกกล่าวถึงเจ้าอธิการวัดวัดศรีสรรเพชญ์และหมื่นสุวรรณที่ร่วมกันสร้างระฆังไว้สำหรับศาสนาเพื่อส่งวัดการ้อง

จารึกที่ปากระฆังวัดเพชร อำเภอเสาไห้, ปีเถาะ, วัดการ้อง, ทองคำ, วัดเพชร ตำบลบ้านยาง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, พ.ศ. 2290, พุทธศักราช 2290, พ.ศ. 2290, พุทธศักราช 2290, อายุ-จารึก พ.ศ. 2290, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเพชร สระบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, บุคคล-เจ้าอธิการวัดวัดศรีสรรเพชญ์, บุคคล-หมื่นสุวรรณ

วัดเพชร ตำบลบ้านยาง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี

พุทธศักราช 2290

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19150?lang=th

144

จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายที่ดินแด่พระพุทธรูปไสยาสน์

จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21 – 23, ชร. 10 จารึกถวายที่ดินพระไสยาสน์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, หินทรายสีเทา, รูปครึ่งวงกลม, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ดินมาดา, ดินทารอก, พุทธศาสนา, ถวายที่ดิน, พระพุทธรูป, พระไสยาสน์, ที่ดิน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1392?lang=th

145

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 4

ธรรมอีสาน

ข้อความจารึกระบุวัน เดือน ปี ที่จารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 4, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 4, พ.ศ. 2246, พุทธศักราช 2246, พ.ศ. 2246, พุทธศักราช 2246, จ.ศ. 1065, จุลศักราช 1065, จ.ศ. 1065, จุลศักราช 1065, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, ในพระอุโบสถวัดโพธิสมภรณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้างเวียงจันทน์, พุทธศาสนา, เดือนเจียง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2246, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (พระไชยองค์เว้), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป

ในพระอุโบสถวัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

พุทธศักราช 2246

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2491?lang=th

146

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3

ธรรมอีสาน

กล่าวถึงผู้สร้างคือ อัครวรราชครู เจ้าสายสุวรรณ หลวงเมืองคุก ว่าได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ รวมทั้งได้ถวายข้าโอกาสกับพระพุทธรูปองค์นี้ 4 ครัว เพื่อรักษาและบูชาพระพุทธรูปและได้สาปแช่งผู้ที่มาเอาทาสโอกาสของพระพุทธรูปไป ในตอนสุดท้ายได้บอกว่า สังฆครูเจ้า เป็นผู้เขียนจารึกและได้บอก วัน เดือน ปี ไว้ในตอนสุดท้าย

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, กุฏิรองเจ้าอาวาส, วัดโพธิสมภรณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, อัครวรราชครู, เจ้าสายสุวรรณ, หลวงเมืองคุก, นางแสนสุรี, นางแสนไชยเสน, นางแสนสุทธิ, แม่อบ, ข้อย, ลูก, หลาน, บ่าว, พระขนานศรีกัญญา, เจ้าด้าน, สังฆครูเจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระทองเจ้า, พระเจ้า, เม็ดหินเม็ดทราย, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2209 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-สังฆครูเจ้า

กุฏิรองเจ้าอาวาส วัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

พุทธศักราช 2209

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2489?lang=th

147

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 2

ไทยน้อย

ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้าง และนามผู้สร้าง

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 2, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 2, พ.ศ. 2205, พุทธศักราช 2205, พ.ศ. 2205, พุทธศักราช 2205, จ.ศ. 1024, จุลศักราช 1024, จ.ศ. 1024, จุลศักราช 1024, สำริด, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ด้านขวามือพระประธานในโบสถ์, วัดโพธิสมภรณ์, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, หัวท้าวสมแตทด, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, เพ็ง, วันเพ็ญ, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2205, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-หัวท้าวสมแตทด

ด้านขวามือพระประธานในโบสถ์ วัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

พุทธศักราช 2205

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2240?lang=th

148

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1 (หนองคาย)

ธรรมอีสาน

นางแสนเพชร และนางฮีน ได้ถวายข้าโอกาสไว้กับพระพุทธรูปทององค์นี้

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีบุญเรือง 1, พ.ศ. 2201, พุทธศักราช 2201, พ.ศ. 2201, พุทธศักราช 2201, จ.ศ. 1020, จุลศักราช 1020, จ.ศ. 1020, จุลศักราช 1020, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง, ตำบลมีชัย, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, นางแสนเพชร, นางฮีน, อีแลบ, ข้อย, พระเจ้า แสนปัญญา, แสนจอง, แก้วพิลา, ภายใน, เจ้าสังฆราชา, พืชชะ, พุทธศาสนา, ถวายข้าโอกาส, ปีเปิกเส็ด, พระเจ้าทอง, พระพุทธรูป, มาตรา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2201, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง หนองคาย, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าครูศีลาภิรัตน์, บุคคล-นางแสนเพชร, บุคคล-นางฮีน

ในอุโบสถวัดศรีบุญเรือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2201

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2483?lang=th

149

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุว่า หมื่นน้อยมงคลเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ตั้งแต่เมื่อครั้งยังบวชมีนามว่า เจ้าเพียรผระหยา

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย, ลป. 10 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย พ.ศ. 2217, ลป. 10 จารึกฐานพระพุทธรูปวัดวิชัย พ.ศ. 2217, ลป. 10, ลป. 10, พ.ศ. 2217, พ.ศ. 2217, พุทธศักราช 2217, พุทธศักราช 2217, จ.ศ. 1036, พ.ศ. 1036, พุทธศักราช 1036, พุทธศักราช 1036, วัดพิชัย ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2217, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-อุปราชอึ้งแซะ, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพิชัย ลำปาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-หมื่นน้อยมงคล, บุคคล-เจ้าเพียรผระหยา

พระมหาวัฒนา สุวุฒฺโฒ เจ้าอาวาสวัดพิชัย กล่าวว่า จารึกดังกล่าวถูกนำไปบรรจุไว้ในพระธาตุมณีมงคล วัดพิชัย ตำบลพิชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง (สำรวจเมื่อ 24-27 กรกฎาคม 2560)

พุทธศักราช 2217

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/16090?lang=th

150

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 3

ธรรมล้านนา

พ.ศ. 2258 ท้าวสิทธิได้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ด้วยปรารถนาจะไปเกิดเป็นพระอรหันต์ในยุคพระศรีอาริยเมตไตรย

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดนาน้อย 3, จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 3 (นน. 2049) จ.ศ. 1077 (พ.ศ. 2258), จารึกฐานพระพุทธรูป วัดนาน้อย 3 (นน. 2340) จ.ศ. 1077 (พ.ศ. 2258), วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, นวพรรณ ภัทรมูล, ยุทธพร นาคสุข, การศึกษาและปริวรรตจารึก : จารึกพบที่อำเภอนาน้อยและอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2258, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-มังแรนร่า, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม้, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดนาน้อย น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ท้าวสิทธิ

วัดนาน้อย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2258

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13647?lang=th

151

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดจักรวรรดิราชาวาส

ธรรมอีสาน

เมื่อ พ.ศ. 2215 ปีเต่าไจ้ พระยาหลวงพลเสิกขวากับทั้งภรรยาและบุตร ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อรักษาศาสนาให้ถึง 5,000 ปี

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดจักรวรรดิราชาวาส, กท. 284, กท. 284, พ.ศ. 2215, พุทธศักราช 2215, พ.ศ. 2215, พุทธศักราช 2215, ปีเต่าไจ้, พระยาหลวงพลเสิก,, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2215, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-พระยาหลวงพลเสิกขวา

พิพิธภัณฑสถาน วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร แขวงจักรวรรดิ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2215

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18793?lang=th

152

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกุมภประดิษฐ์

ธรรมอีสาน

พระผู้ใหญ่ในท้องถิ่นและบรรดาญาติโยม ได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้

นค. 21, นค. 21, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกุมภประดิษฐ์, พ.ศ. 2213, พุทธศักราช 2213, พ.ศ. 2213, พุทธศักราช 2213, จ.ศ. 1032, จุลศักราช 1032, จ.ศ. 1032, จุลศักราช 1032วัตถุ, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, กุฏิเจ้าอาวาสวัดกุมภประดิษฐ์, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เจ้าสังฆราชา, มีหม่อมดวง, พ่อ, ยศ, ตาคำมี, เจ้าภริยา, บุตร, นัดดา, นางพระยาขันซ้าย, พระยาอู่ทอง, นายบุญสาน, ลูก, นายเหมือนเดือน, พ่อบาด, พ่อแก้วหล้า, ตาชโยก, นายคำจันทร์, แม่สุวรรณา, พ่ออู่, เจ้าขนาน, ธรรมมา, พี่เอื้อย, น้องหญิง, น้องชาย, อุบาสก, อุบาสิกา, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, มื้อกดสี, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง ; สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2213, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดกุมภประดิษฐ์ หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

กุฏิเจ้าอาวาสวัดกุมภประดิษฐ์ ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2213

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2479?lang=th

153

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกลางเวียง

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

พระมหาสิริปัญญาสวามี สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่บูชาแก่คนและเทวดาเมื่อจุลศักราช 1099 (พ.ศ. 2280) โดยขอให้ตนไปสู่นิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดกลางเวียง, คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดกลางเวียง, พ.ศ. 2280, จ.ศ. 1099, พ.ศ. 2280, จ.ศ. 1099, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วัดกลางเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย, ล้านนา, องค์คำ, นยองยาน, พระมหาสิริปัญญาสวามี, วัดหมื่น, พุทธศาสนา, พระพุทธรูป, นิพพาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2280, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกวัดกลางเวียง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป

พระเจดีย์ วัดกลางเวียง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2280

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1734?lang=th

154

จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง

ธรรมล้านนา

พ.ศ. 2272 พระญาหลวงเจ้ามังคละสะแพก เจ้าเมืองเชียงแสนและบุษบาสิริวธนเทพาราชกัญญาเจ้า มีศรัทธาหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ที่วัดศรีสองเมือง ซึ่งสร้างขึ้นคลุมสุสานเจ้าราชบุตรยอดงำเมือง

ชร. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง พ.ศ. 2269, ชร. 8 จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทอง พ.ศ. 2269, จุลศักราช 1088, จุลศักราช 1088, จ.ศ. 1088, จ.ศ. 1088, พุทธศักราช 2269, พ.ศ. 2269, พุทธศักราช 2269, พ.ศ. 2269, พุทธศักราช 2272, พ.ศ. 2272, พุทธศักราช 2272, พ.ศ. 2272, สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูป, วิหารวัดพระเจ้าล้านทอง, ตำบลเวียง, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, เชียงราย, เชียงแสน, ลักขบุรี, พระยอดงำเมือง, ราชบุตร, พระยาหลวงเจ้ามังคละ, บุษบาสิริวธนเทพาราชกัญญา, พุทธศาสนา, การหล่อพระพุทธรูป, พระพุทธรูป, สุสาน, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2272, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกวัดพระเจ้าล้านทอง, จารึกพระพุทธศาสนา, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, ผู้ครองเมืองเชียงแสน, พระญาหลวงเจ้ามังคละสแพก

วิหารวัดพระเจ้าล้านทอง ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557)

พุทธศักราช 2272

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1950?lang=th

155

จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 2547/93)

ไทยน้อย

ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป ได้แก่ ทิพศรีกัญญากับทั้งภริยา และบุตร

ธ. 2547/93, ธ. 2547/93, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, พุทธศักราช 2218, พุทธศักราช 2218, พ.ศ. 2218, พ.ศ. 2218, จุลศักราช 1037, จุลศักราช 1037, จ.ศ. 1037, จ.ศ. 1037, ฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, กรุหมายเลข 20, กรุหมายเลข 20, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านช้าง, ทิพศรีกัญญา, ภริยา, บุตร, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระเจ้า, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, วัชรินทร์ พุ่มพงษ์แพทย์, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2218, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ีฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ีฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ทิพศรีกัญญา, ไม่มีรูป

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

พุทธศักราช 2218

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2190?lang=th

156

จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย (ธ. 1948/95)

ไทยน้อย

ข้อความจารึกระบุนามของผู้สร้างพระพุทธรูป ได้แก่ พ่อเพชร และแม่แก้ว

ธ. 1948/95, ธ. 1948/95, จารึกฐานพระพุทธรูปบุเงิน ปางมารวิชัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2244, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้านันทราช, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรวิหาร นครพนม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเพชร, บุคคล-แม่แก้ว, ไม่มีรูป

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

พุทธศักราช 2244

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2192?lang=th

157

จารึกฐานปราสาทโลหะ

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1098 พระญาหลวงเจ้ามังสะแพกเจ้าเมืองเชียงแสน และบุษบาสิริวัฒนเทพาราชกัญญา รวมทั้งราชบุตรนามว่าพระยอดงำเมือง มีศรัทธาหล่อปราสาทหลังนี้ขึ้น เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปและพระธาตุ โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่นิพพาน รวมทั้งได้เกิดในดาวดึงส์ และบรรลุเป็นพระอรหันต์ ในสำนักพระอริยเมตไตรย เป็นต้น

จารึกฐานปราสาทโลหะ, ชร. 9, จารึกปราสาทโลหะ, จารึกบนฐานปราสาทโลหะ, ชร. 9, จุลศักราช 1089 (พ.ศ. 2270), จุลศักราช 1089 (พ.ศ. 2270), จ.ศ. 1089 (พุทธศักราช 2270), จ.ศ. 1089 (พุทธศักราช 2270), โลหะ, ฐานรูปปราสาท, ล้านนา, นยองยาน, เชียงราย, เชียงแสน, พระญาหลวงเจ้ามังสะแพก, พระยอดงำเมือง, บุษบาสิริวัฒนเทพาราชกัญญา, พุทธล สังสการ, ตาวติงสา, ดาวดึงส์, พระเกศจุฬามณี, สัพพัญญุตญาณ, พุทธอุปัฐาก, อนาคตพุทธเจ้า, เมไตรยะ, พระศรีอารย์, พระศรีอาริยเมตรัย, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึก พ.ศ. 2270, จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, ความเป็นอยู่และประเพณี, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างปราสาท, พระญาหลวงเจ้ามังสะแพก, เจ้าเมืองเชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2270, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, ลักษณะ-จารึกบนฐานรูปปราสาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-การสร้างปราสาท, บุคคล-พระญาหลวงเจ้ามังสะแพก, บุคคล-เจ้าเมืองเชียงแสน

ห้องศิลปะเชียงแสน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2270

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1988?lang=th

158

จารึกชื่อคัมภีร์

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ศิลาจารึกชำรุดมาก เข้าใจว่าข้อความจารึกมีว่า มีการถวายคัมภีร์พระธรรม รวมทั้งอรรถกถา และฎีกาแด่วัดแห่งหนึ่ง มีรายชื่อหนังสือดังกล่าวจารึกไว้ แต่ชื่อหนังสือเหล่านั้นไม่สมบูรณ์แล้ว

ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 22-23, ชร. 37, ชร. 37, 165/30, 165/30, จารึกเวียงชัย, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, Wiang Chai A.D. 1598-1617, Wiang Chai A.D. 1598-1617, หิน, ตำบลเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายคัมภีร์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1416?lang=th

159

จารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ (วัดตลาด) ให้ห่างจากที่ตั้งเดิม 4 เส้น 4 วา เนื่องจากถูกแม่น้ำเซาะ ในพุทธศักราช 2271 และการรื้อพระวิหารเก่าแล้วสร้างวิหาร, อุโบสถขึ้นใหม่โดยพระเจ้าท้ายสระเสด็จมาสถาปนา และโปรดให้สร้างจารึกนี้ไว้ในพระอุโบสถ อนึ่ง การชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์นั้น นอกจากจะปรากฏในจารึกหลักนี้ ก็ยังมีหลักฐานด้านเอกสาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม ) ซึ่งให้รายละเอียดต่างๆ มากกว่าที่ปรากฏในจารึก เช่น ขั้นตอนและวิธีการชะลอ เป็นต้น

จารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์, อท. 1 จารึกชลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์, อท. 1 จารึกชลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย ได้มาจากผนังด้านข้างในพระอุโบสถวัดป่าโมกข์อำเภอป่าโมกข์ จังหวัดอ่างทอง, อท. 1, อท. 1, พระเจ้าท้ายสระ, พระราชสงคราม, พระยาศรีธรรมาธิราช, พระศรีมโหสถ, วัดตลาด ตำบลป่าโมกข์, วิหาร, พระพุทธรูป, พระสงฆ์, ภิกษุ, ศีล, อาราม, สิโนทก, กรวดน้ำ, อุโบสถ จตุปาริสุทธิศีล, พุทโธวาท, พระวินัย, พุทโธรส, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี, ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2271, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, ลักษณะ-จารึกบนกำแพง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดป่าโมกข์ อ่างทอง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ชะลอพระพุทธรูป, เรื่อง-การสร้างพระอุโบสถ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ, บุคคล-พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ

ผนังด้านหน้า ในพระอุโบสถวัดป่าโมกวรวิหาร ตำบลป่าโมก อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง

พุทธศักราช 2271

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/668?lang=th

160

จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ

ไทยสุโขทัย

ข้อความจารึกเป็นคำอธิษฐานของผู้สร้าง ขอให้ได้เกิดในยุคของพระศรีอาริย์ ด้วยอานิสงส์จากการสร้างพระพุทธรูป 1,000 องค์ นั้น

1.4.1.1 กู่บ้านค่ายเจริญ, 1.4.1.1 กู่บ้านค่ายเจริญ, ชร. 35, ชร. 35, จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ พุทธศตวรรษที่ 21–23, จารึกกู่บ้านค่ายเจริญ พุทธศตวรรษที่ 21–23, หินสีเทา, แผ่นรูปใบเสมา, พระมหาจักรพรรดิ, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระอริยเมตไตรย, พญาจักรพรรดิ, พุทธศาสนา, พระบรรณศาลา, สร้างศาสน, เดินเจ็ด, วันพุธ, พระเจ้าพันตน, ปีดับใส้, ปีดับไส้, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมิ่งเมือง เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

วัดมิ่งเมือง ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557)

พุทธศตวรรษ 21-23

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3933?lang=th

161

จารึกกลางรอยพระพุทธบาท

ขอมอยุธยา

ข้อความที่จารึกนั้น เป็นการกล่าวสรรเสริญอานุภาพของพระศรีอาริยเมตไตรย ผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

จารึกกลางรอยพระพุทธบาท, นว. 8, นว. 8, หินชนวนสีเขียว, สี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปรอยพระพุทธบาท, วัดพระพุทธบาท, อำเภอไพศาลี, จังหวัดนครสวรรค์, ไทย, อยุธยา, พระเมตไตรยโพธิสัตว์, พระโพธิสัตว์, พระพุทธเจ้า, พระศรีอาริยเมตไตรย, มนุษย์, พุทธศาสนา, พระพุทธบาท, เทวดา, นวพรรณ ภัทรมูล, นิยะดา ทาสุคนธ์, ศิลปากร, จารึกอักษรขอมอยุธยา, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24, จารึกภาษาบาลี, จารึกบนหินชนวน, จารึกที่รอยพระพุทธบาท, จารึกบนหินชนวน, จารึกในพระพุทธศาสนา, พระศรีอาริยเมตไตรย, พระอนาคตพุทธ, จารึกวัดพระพุทธบาท, จารึกพบที่นครสวรรค์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23. อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23-24. ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระพุทธบาท นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย

วัดพระพุทธบาท ตำบลสำโรงชัย อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

พุทธศตวรรษ 23-24

บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/630?lang=th