ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกที่ใช้คำที่มีความหมายคล้ายคลึงกับคำ "กัลปนา"

ชุดข้อมูลจารึกที่ใช้คำที่มีความหมายคล้ายคลึงกับคำ "กัลปนา"

ในจารึกสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ที่มีธรรมเนียมการกัลปนา นอกจากคำว่ากัลปนาแล้ว ยังมีการใช้คำอื่นที่มีความหมายคล้ายคลึงการกับว่ากัลปนา เช่น โอย โอยทาน ไว้ ให้ไว้ เวน อวย อวยทาน ปลง ถวาย มอบให้ บูชา เป็นต้น

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 28 มี.ค. 2565 18:12:33 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2565 17:24:48 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกในวิหารพระเหลือ

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

รัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งยังทรงเป็นสามเณร ได้บริจาคพระราชทรัพย์เพื่อสร้างวิหารพระเหลือขึ้นใหม่ แทนของเดิมที่ทรุดโทรม ต่อมาเมื่อทรงขึ้นครองราชย์แล้วได้พระราชทานนามพระเหลือ ว่า พระเสสันตปฏิมา และวิหารพระเหลือว่า พระเสสันตมาลก โดยโปรดให้มีการเฉลิมฉลองใน พ.ศ. 2413

ชื่อจารึก : หลักที่ 176 จารึกในพระวิหารพระเหลือ, พล.6, หลักที่ 176 จารึกในพระวิหารพระเหลือ, พล. 6ศักราช : จ.ศ. 1228, พ.ศ. 2409, จุลศักราช 1228, พุทธศักราช 2409, จ.ศ. 1224, พ.ศ. 2409, จุลศักราช 1228, พุทธศักราช 2409 วัตถุจารึก : หินอ่อน สีขาวลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สถานที่พบ : พระวิหารพระเหลือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก อาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 4 ราชวงศ์ : จักรี ยุคสมัย : รัตนโกสินทร์ สถานที่ : พระวิหารพระเหลือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ศาสนา : พุทธศาสนาอื่นๆ : พระเสสันตะมาลก, พระเสสันตปฏิมา, พระพุทธชินราช, ผ้าตาดเทศ, แพรสีทับทิม, ช่อฟ้า, ใบระกา, ต้นไม้เงิน, ต้นไม้ทอง, กรมทวนทองขวา

พระวิหารพระเหลือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

พุทธศักราช 2413

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1079?lang=th

2

จารึกเรื่องทรงสร้างวัดพระเชตุพน ครั้งรัชกาลที่ 1

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

กล่าวถึงรายละเอียดในการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถวัดโพธาราม (วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือ วัดโพธิ์ในปัจจุบัน) ตั้งแต่ พ.ศ. 2331-2341 กล่าวคือ
- พ.ศ. 2331 รัชกาลที่ 1 ทรงมีพระราชศรัทธาปฏิสังขรณ์วัดโพธารามโดยเริ่มจากการถมดิน
- พ.ศ. 2336 ทำการปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ
- พ.ศ. 2337 ชักชะลอพระพุทธปฏิมากรศรีสรรเพชญ์ อัญเชิญพระบรมธาตุ ฉลองพระเขี้ยวแก้ว เขี้ยวทอง และเขี้ยวนาค บรรจุในเจดีย์ ถวายพระนามเจดีย์ศรีสรรเพชญดาญาณ อัญเชิญพระพุทธรูปทองเหลืองและสำริดที่ชำรุดจำนวน 1,248 องค์จากเมืองพิษณุโลก สวรรคโลก สุโขทัย ลพบุรี อยุธยาและวัดศาลาสี่หน้า กรุงเทพฯ เพื่อซ่อมแซมให้งดงาม และประดิษฐานไว้ที่ต่างๆ ในบริเวณวัด ฯลฯ
- พ.ศ. 2341 ฉลองวัดและพระราชทานนาม “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาศ” ตอนท้ายกล่าวตั้งความปรารถนาถึงพระโพธิญาณและอุทิศพระราชกุศลแด่เทวดา กษัตริย์ พระราชวงศานุวงศ์ ข้าราชการ นักบวช และประชาชนทั้งหลาย

จารึกในวิหารพระโลกนาถ, หลักที่ 131, 131, พ.ศ. 2331, 2336, 2337, 2344, จ.ศ. 1151, 1155, 1156, 1163, 2331, 2336, 2337, 2344, 1151, 1155, 1156, 1163, หินอ่อนสีดำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร.1, ร.1, ร. 1, รัชกาลที่ 1, จักรี, รัตนโกสินทร์, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, รัชกาลที่ 1, ร. 1, วิหารพระโลกนาถ, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, วัดโพธิ์, วัดโพธาราม, วัดเขาอินทร์, สววรคโลก, ศรีสัชนาลัย, สุโขทัย, อยุธยา, กรุงเก่า, พุทธศาสนา, บำเพ็ญพระราชกุศล, ทำบุญ, พระศรีสรรเพชญ์, พระพุทธชินสีห์, พระโลกนาถ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สมคิด จิระทัศนกุล, วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2344, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีดำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1

ผนังด้านหน้า ในพระวิหารพระโลกนาถฯ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2344

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1151?lang=th

3

จารึกสองแคว

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ศิลาจารึกหลักนี้ชำรุดมาก อ่านได้น้อยคำ ในตอนต้นมี จ.ศ. 766 ปีวอก ตอนปลายมีชื่อพระธรรมราชา เห็นจะเป็นพระธรรมราชาที่ 3 มูลเหตุที่ได้จารึกก็ไม่ปรากฏ หรือจะปรากฏก็อ่านไม่ได้ คำจารึกที่เหลืออยู่บ้างเล็กน้อยอ่านพอได้ใจความว่า เป็นเรื่องท่านเจ้าพันสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ในเมืองเชลียง เมืองสองแคว เมืองเชียงใหม่ และเมืองสุโขทัย

ศิลาจารึกสองแคว พุทธศักราช 1947, ศิลาจารึกสองแคว พุทธศักราช 1947, สท. 10, สท. 10, หลักที่ 10 ศิลาจารึก จ.ศ. 766 จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 10 ศิลาจารึก จ.ศ. 766 จังหวัดสุโขทัย, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, พ.ศ. 1947, พุทธศักราช 1947, จ.ศ. 766, จุลศักราช 766, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถ, วัดบวรนิเวศวิหาร, กรุงเทพฯ, ไทย, สุโขทัย, ท่านเจ้าพัน, มหาเถร, ภิกษุ, เจ้าธรรมราช, พระโพธิสัตว์, สาธุชน, ผ้าเช็ดหน้า, เงิน, ผ้าขาวแก้ว, เมืองเชลียง, สองแคว, เมืองเชียงใหม่, พุทธศาสนา, ตำหนัก, พิหาร, วิหาร, ศาลา, กระลาอุโบสถ, พระเจดีย์, พระมหาธาตุ, การบูชา, บวช, ปีวอก, วันศุกร์, วันกาบสัน, อาทิตย์, เพ็ญ, อรัญวาสี, จังหัน, พระธาตุ, พระพุทธรูป, บุญ, อนุโมทนา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1947, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-พระมหาธรรมราชาที่ 3, บุคคล-ท่านเจ้าพัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1947

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/212?lang=th

4

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1

ไทยอยุธยา

1) พ.ศ. 2292 ท้าวพรหมกันดาล ทูลขอที่ดินเพิ่มแก่วัด ในปีเดียวกัน กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์และกรมขุนอนุรักษ์มนตรีทรงผนวช ณ วัดแห่งนี้ ต่อมาใน พ.ศ. 2296 การสร้างจึงเสร็จสมบูรณ์
2) บอกรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย และกล่าวถึงการตั้งชื่อวัดดังกล่าวว่า “วัดพรมกัลยาราม”
3) ตอนท้ายมีการตั้งความปรารถนาให้ได้พบพระศรีอารย์และเข้าสู่นิพพาน

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1, จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1, อย. 4/ก, อย. 4/ก, จารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทยสมัยอยุธยา (พระเจ้าบรมโกศ) , พ.ศ. 2296, พุทธศักราช 2296, พ.ศ. 2296, พุทธศักราช 2296, พ.ศ. 2292, พุทธศักราช 2292, พ.ศ. 2292, พุทธศักราช 2292 , อิฐถือปูน , ฝาผนัง , พระอุโบสถวัดพรหมกัลยาราม, ตำบลคลองสระบัว, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา , ไทย, อยุธยา, ประธาน, ท้าวพรหมกันดาล, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, นายนาก, นายกอง, กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์, กรมขุนอนุรักษ์มนตรี, พระเจ้าเอกทัศน์, พระมงคลเทพ, สัปบุรุษ, พระราชโอรสา, พระสงฆ์, คณะปรก, ภิกษุ, พระพุทธเจ้า, พระสรรเพชร, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารยเมไตรย์, พระศรีอารย์ อนาคตพุทธเจ้า, ไพร่, เจ้าฟ้านเรนทร์, ไม้, อิฐ, ปูน, รัก, ระฆัง, เพลา , เงินตรา, ผ้าพรรณนุ่งห่ม, ทอง, รัก, ปากใต้ , ปักษ์ใต้, พุทธศาสนา, คันธาราม, อาราม, อุโบสถ, พัทธเสมา, พัทธสีมา, หอระฆัง, ธรรมาสน์, วัดพรมกัลยาราม, ก่อรากพระอุโบสถ, ผนวช, ผูกพัทธเสมา, ผูกพัทธสีมา, ทำบุญ, แจกทาน, สวดเทศนา, อุปสมบท, ทาน, บาป, กรรม, พระนิพพาน, สังฆกิจ, พุทธโอวาท, กำ, ชาติ, อนาคตกาล, ธรรม, ปีมะเส็ง, เอกศก, ชั่ง, บาท, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ไพ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2296, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนผนัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพรหมกัลยาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-อุปสมบท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ท้าวพรหมกันดาล, บุคคล-กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์, บุคคล-กรมขุนอนุรักษ์มนตรี, วัดศรีโพธิ์, วัดพรหมกัลยาราม, วัดใหม่ศรีโพธิ์

พระอุโบสถวัดศรีโพธิ์ (วัดใหม่ศรีโพธิ์) ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2296

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/677?lang=th

5

จารึกวัดโยธานิมิตร

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

พ.ศ. 2377 เจ้าพระยาพระคลังว่าที่พระสมุหกลาโหม ให้สร้างป้อมที่ปากน้ำแหลมสิงห์ฝั่งตะวันออก 1 ป้อม ส่วนป้อมเก่าให้ซ่อมแซมรวมถึงสร้างป้อมปราการบริเวณเนินวง แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2388 จากนั้นจึงชักชวนนายทัพนายกองและเจ้าเมืองต่างๆ ร่วมกันสร้างวัดใช้เวลา 4 เดือน ถวายนามว่า “วัดโยธานิมิตร” มีการระบุรายนามผู้สร้างและรายการก่อสร้าง ตอนท้ายอธิษฐานให้ได้พบพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ และถึงแก่นิพพานในที่สุด

จารึกวัดโยธานิมิตร, จบ.6, หลักที่ 158 ศิลาจารึกวัดโยธานิมิตร, จบ.6, หลักที่ 158, พ.ศ. 2377, จ.ศ. 1196, พ.ศ. 2378, จ.ศ. 1197, 2377, 1196, 2378, 2378, สยาม, ไทย, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, ร.3, รัชกาลที่ 3, เจ้าพระยาพระคลังว่าที่พระสมุหกลาโหม, นายพลพัน, พระยารณฤทธิโกษา, ปลัดเมืองสมุทรปราการ, พระยารามคำแหง, พระยาพิไชยรณรงค์, พระยาวิชิตณรงค์, พระนครอินทร์, พระนเรทรโกษา, หลวงณรงค์รังสรรค์, หลวงจินดา, หลวงศักดาเดช, หลวงเสนสรชิต, หลวงฤทธีอรรคราช, หลวงเทพาวุธ, หลวงจัน, หลวงณรารณฤทธิ์, ขุนสรฤทธิราช, จมื่นมณเฑียรพิทักษ์, อยุกระบัตรเมืองนนท์, หลวงปลัดเมืองพนัสนิคม, พระยาจันทบุรี, พระวิเศษ, ผู้ช่วยเมืองแกลง, หลวงขลุง, ขุนบรรจงพาณิชย์, หลวงพิทักษ์, เมืองจันทบุรี, ปากน้ำแหลมสิงห์, เนินวง, วัดโยธานิมิต, พุทธ, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, การสร้างวัด, การสร้างเมือง, เชิงเทิน, หลักเมือง, พระศรีอาริย์, อาริยเมตไตรย, อนาคตพุทธเจ้า, สงสารทุกข์, ป้อมปราการ, ปืนใหญ่

ผนังด้านใน หน้าโบสถ์วัดโยธานิมิตร ตำบลเนินวง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี

พุทธศักราช 2378

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1159?lang=th

6

จารึกวัดเขากบ

ไทยสุโขทัย

ด้านที่ 1 เป็นเรื่องสร้างรามเจดีย์และรามวิหาร ที่รามอาวาสบนยอดเขาสุมนกูฏ คือเขากบนั้นเอง ผู้สร้างพระเจดีย์และวิหาร ขออุทิศส่วนกุศลให้พระยาพระราม ผู้เป็นน้อง ชื่อผู้สร้างไม่ปรากฏในคำจารึก หรือบางทีอาจปรากฏอยู่ในท่อนที่หักหายไปก็ได้ แต่สันนิษฐานได้โดยง่าย เพราะในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ มีความปรากฏว่า “ศักราช 781 กุนศกมีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า นฤพาน และเมืองเหนือทั้งปวงเป็นจลาจล แล้วจึงเสด็จขึ้นไปเถิงเมืองพระบาง ครั้งนั้นพระยาบาลเมือง และพระยามรามออกถวายบังคม” ดังนี้ สันนิษฐานว่า พี่ของพระยาพระรามเห็นจะเป็นพระยาบาลเมืองนั่นเอง พระรามเจดีย์ พระรามวิหาร และศิลาจารึกหลักนี้จะได้สร้างและจารึกทีหลัง จ.ศ. 781 หรือ พ.ศ. 1962 ด้านที่ 2 เห็นจะได้จารึกภายหลังด้านที่ 1 เป็นเรื่องผู้ใดผู้หนึ่งไม่ปรากฏชื่อ ได้บำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ แล้วแวะไปเที่ยวเสาะแสวงหาพระธาตุจนถึงเมืองอินเดียและลังกา แต่จะได้จารึกภายหลังกี่ปี ไม่ปรากฏชัด

จารึกวัดเขากบ, นว. 2, นว. 2, หลักที่ 11 ศิลาจารึกเขากบ เมืองปากน้ำโพ, หลักที่ 11 ศิลาจารึกเขากบ เมืองปากน้ำโพ, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, พุทธสถาน, เขากบ, ปากน้ำโพ, จังหวัดนครสวรรค์, ไทย, สุโขทัย, พระราม, พระยามหาธรรม, พระยา, ท้าว, สงฆ์, พระพุทธเจ้า, พระพุทธศรีอารยไมตรี, พระศรีมหาโพธิ์, บัว, ช้าง, ข้าว, ดอกไม้, น้ำมัน, จอมเขาสุมนกูฏ, นครสระหลวง, ศรีสัชนาลัย, สุโขทัย, ฝาง, แผล, ระพุน, แพร่, ลำพูน, เชียง, ตาก, นครพัน, กลิงคราฐ, ปาตลิบุตร, นครตรีโจลมัณฑลา, มัลลราช, ลังกาทีป, ลังกาทวีป, พระมหานครสิงหล, ตะนาวศรี, สิงหลทีป, สิงหลทวีป, เพชรบุรี, ราชบุรี, อโยธยา, ศรีรามเทพนคร, ตระพัง, มหาสะพาน, สอรพินรุณาส, บาดาล, รัตนกูดานครไทย, กัมพงคลอง, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, พระมหารัตนธาตุ, เจดีย์, รามเจดีย์, รามวิหาร, พิหาร, รามอาวาส, พระเจดีย์พระศรีรัตนธาตุ, การก่อเจดีย์, กัลปนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การปลูกพระศรีมหาโพธิ, ไม้, ก้อนหิน, ก้อนผา, พุทธปฏิมา, ธรรม, บุญ, เทพดาอารักษ์, ยศ, โลก, ทศบารมี, สมภารบารมี, อธิษฐานบารมี, มหาประทีป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19-20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระยาพระราม, บุคคล-พระยาบาล, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 19-20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/215?lang=th

7

จารึกวัดเขมา

ไทยสุโขทัย

คำจารึกตอนต้นชำรุดมากอ่านไม่ใคร่ได้ความ เท่าที่ยังเหลืออยู่เป็นเรื่องเจ้าเทพรูจี อุปสมบทเป็นภิกษุ และภายหลังได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ พร้อมด้วยญาติและพวกสัตบุรุษ เมื่อปี พ.ศ. 2079

จารึกวัดเขมา, สท. 11, สท. 11, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเขมา, ริมถนนพระร่วง, สุโขทัย, ไทย, อยุธยา, พระมหาเถร, เจ้าเทพรูจี, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, บาผ้าขาว, เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช, นักบุญ, เจ้าหมื่นเทพเนรมิต, สมเด็จมหาอุบาสก, บาผ้าขาวเทพ, ท้าว, พระยา, ครูอุปัชฌาย์, อำแดงกอน, อำแดงหอม, อำแดงเสน, อำแดงหยาด, นายพันพิษณุกรรม, นายสัง, นายเทพไชย, อำแดงยอด, อำแดงยศ, อีบุนรัก, มหาเวสสันดร, นักบุญ, พระสงฆ์, ผ้าเบงจตี, เครื่องสำรับ, อาสน, บาตรทองเหลือง, บาตรพระเจ้า, ลางพานเทส,ลางพานเทศ, ถ้วยโคมลาย, ถ้วยบริพัน, บายศรีบูชาพระเจ้า, ตเลิงทองเหลือง, หมากบูชาพระเจ้า, เลียนทองสัมฤทธิ์, เลียนทองสำริด, เลียนเทส, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสัมฤทธิ์, น้ำบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสำริด, น้ำมังเบือ, กากะเยีย, เพดานธรรมมาส, ไม้ประดับ, ตาตุ่มทองเหลือง, ฆ้อง, กลอง, กังสะดาล, หินพิง, หินดาดที่นั่ง, ที่พระเจ้า, หินแลง, กากะเยีย , พุทธศาสนา, พิหาร, วิหาร, รีสพัง, สรีดภงส์, พระเจดีย์, อุปสมบท, บวช, กัลปนา, เทพยดา, เทพดา, เทวดา, น้ำอาบ, น้ำกิน, ทรัพย์สาธารณ, กำแพง, บาท, ตำลึง, สลึง, ปีวอก, เชษฐมาส, พยาบาล, ศอก, พระธรรมคัมภีร์, พระสมุดชายปัก, เพดานธรรมาส, ชั่ง, ธรรม, บ่อน้ำ, สวน, ไร่, นา, รือก, บิ้ง, สารากร, บุริสการ, พระพุทธ, พระธรรม, อานิสงส์, สวรรค์, นิพพาน, โพธิสมภาร, ชาติ, สมบัติ, พยาธิ, เปรตดิรัจฉาน, เปรตเดรัจฉาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จารึกสมัยสุโขทัย, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 : เป็นจารึกกรุงสุโขทัยที่ได้พบก่อน พ.ศ. 2467, อายุ-พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-เจ้าเทพรูจี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 2079

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/222?lang=th

8

จารึกวัดอโสการาม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 กล่าวถึงสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์ พระอัครมเหสี สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงมีพระราชศรัทธาประดิษฐานพระสถูปไว้ในวัดอโสการาม ด้านที่ 2 ท่านกวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก ได้รจนาเป็นภาษาบาลี กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลในวัดอโสการาม และการตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ความเป็นผู้ที่สมบูรณ์ด้วยรูป ยศ และอายุของสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์

จารึกวัดอโสการาม, สท. 26, สท. 26, ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย จากวัดอโสการาม สุโขทัย, ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษามคธ จากวัดอโสการาม สุโขทัย, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, หินแปร, แผ่นรูปใบเสมา, วัดสลัดได, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์อรรคราชมเหสี, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, พระศรีมหาโพธิวงศ์กมลญาณ, เจ้าญาณวังสราชบัณฑิต, เจ้าศรีวัง, เจ้าสังขสร, พระมหาพุทธสาคร, พระมหาเถรสรภังคเถร, เสด็จแม่อยู่หัว, มหาวันรัตนเถร, พ่ออยู่หัว, พระศรีธรรมราชมารดา, พระยาลิไทย, พระะมหาธรรมราชาธิราช (ผู้หลาน), พระอโศก,ชายา, ธรรมกถึก, สมวัด, กับปิการพยาบาล, ประธาน, นายเชียงศรีจันท์, เสด็จพระมหาสวามีเจ้า, สมเด็จพ่อออก, สมเด็จพระราชเทวี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราชพระศรีธรรมราชมารดา, ญาติกุล, ท้าวพระยา, สาธุชน, พระพุทธเจ้า, พระมหากษัตริย์พระมารดา, พระศรีธรรมราชมาดา, มเหสี, พระจอมนระ, พระราชาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระราชา, พระสงฆ์, พระราชบุตร, พระเชษฐา, พระอโศก, บัณฑิต, ญาณวงศ์, ศรีวงศ์, สังขสร, พนักงานชาวประโคม, บุรุษ, ศรีจันทร์, พระภิกษุ, สมณะ, พระเถระ, สรภังคะ, พระสวามี, มารดาบิดา, พระพุทธเมตไตรย, พุทธบริษัท, ผู้ยากจน, พระศรีมหาโพธิ์, สารภี, บุนนาค, พิกุล, มะม่วง, ขนุน, มะขวิด, มะพร้าว, เมล็ดข้าวสาร, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ผลึกรัตน, พิกุล, ข้าว, เครื่องเคาะจังหวะ,พาทย์, แตร, สังข์, ปี่, กลองใหญ่, กังสดาลใหญ่, ข้าวเปลือก, อาหารกัปปิยภัณฑ์, นิจภัต, น้ำ, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, เมืองนครไทย, เมืองวัชชะปุร, ดอยอุ้ย, แม่น้ำพิง, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุร, เมืองลักขะ, แม่น้ำยม, ลังกา, ปราการ, สะพาน, ถนน, ท่งชัย, ทุ่งชัย, ศรีจุฬาวาส, พระธรรมราชบูรณ์, รัฐมณฑล, รัฐสีมา, แควน้อย, เมืองลักขะ, เมืองแสน, เมืองสร้อย, คู, มหาสมุทร, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, สถูป, กุฎี, กุฏิ, ปราการ, สะพาน, ถนน, วิหาร, มณฑป, เจดีย์, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, ศีลวิสุทธาวาส, พระอาราม, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานครรภพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานข้าพระ, ประดิษฐานนา, ผนวช, บวช, สงสการ, สังสการ, กัลปนา, การบำเพ็ญบุญ, สถาปนารัฐสีมา, สวดพระบาลีล การบริจาคทรัพย์, ฉลองอโสการาม, บริจาคทาน, ปีเถาะ, พระมหาธาตุเจ้า, พระพุทธรูป, นักษัตรผัคคุณมาส, ฤกษ์มหุรดี, ปัญจพิธกัลญาณี, ศีลพร, ปิฎกไตร, ไตรปิฎก, นา, เกวียน, สวน, สูปพยัญชนาการ, บาตร, สำรับ, ศีลมรรยาทวัตตปฏิบัติ, กรรม, ผลานิสงส์, โกฏฐาสบุญ, ทุกภยันตราย, สุข, พระราชกุศล, อนาคต, เลขวัด, พระรัตนตรัย, บุญสมภาร, วันอังคาร, ปีวอก, ศิลป, บุญสมภาร, เทวดา, พระพุทธ, พระธรรม, พระบรมธาตุ, สีแก้วผลึก, สีดอกพิกุลแห้ง, พระธาตุในพระสถูป, วันศุกร์, กำแพง, โกฏฏิ, ปัจจัย, บุญกรรม, อุปัททวะ, สวรรค์, บุญญานุภาพ, ภาวนา, รูป, ยศ, อายุ, ทรัพย์สมบัติ, กองทรัพย์, ภพ, วัฏฏสงสาร, สัมโพธิ, ราชสมบัติ, ปูชนียวัตถุ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, บาลีสันสกฤต, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-อายุ พ.ศ. 1942, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, บุคคล-สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์, บุคคล-กวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 1942

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/235?lang=th

9

จารึกวัดหินตั้ง

ไทยสุโขทัย

เรื่องราวที่จารึก ได้กล่าวถึงพระมหาธรรมราชาผู้ปู่ กระทำหอมาฬก(พลับพลา ปะรำ โรงพิธี) พระมหาธาตุเจ้า และการบำเพ็ญกุศลในการสร้างถาวรวัตถุ และวัตถุอื่นๆ ในพระพุทธศาสนา

จารึกวัดหินตั้ง, สท. 37, สท. 37, ศิลาจารึก อักษรและภาษาไทย, หลักที่ 95 ศิลาจารึกวัดหินตั้ง, หลักที่ 95 ศิลาจารึกวัดหินตั้ง, ศิลาจารึกวัดหินตั้ง พุทธศตวรรษที่ 20, ศิลาจารึกวัดหินตั้ง พุทธศตวรรษที่ 20, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดหินตั้ง, ไทย, สุโขทัย, มหาธรรมราชาผู้ปู่, ท่านเถรสวร, อุบาสกชี, ท่านมหาเถรทรกรรมพรต, ดาบสเทียน, แม่ครัว, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าสงฆ์, เชียงไส, ภิกษุ, พระศรีมหาโพธิ์, พระมหาโพธิ์, ทอง, จีพอร, จีวร, พระพิมพ์, อิฐ, ดอกไม้เงิน, ดอกไม้ทอง, ประทีป, กากเยีย, สนับเชียง, สวนหมาก, พุทธศาสนา, หอมาฬกพระมหาธาตุเจ้า, กุฎี, กุฏิ, พระไตรโลก, ปั้นอิฐรองดินพระปรางค์, ปลูกพระศรีมหาโพธิ์, ซ่อมพระเจ้า, ซ่อมพระพุทธรูป, ปั้นอิฐรองดินพระปรางค์, ก่อพระเจดีย์, สังสการ, บุญ, ตำลึง, เบี้ย, ปี, เดือน, ดวง, ก้อน, จังหัน, พระพุทธรูป, พรรษา, พระมหาชาติ, สมวัด, เลขวัด, นา, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอมาฬก, บุคคล-พระมหาธรรมราชา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอมาฬก, บุคคล-พระมหาธรรมราชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/233?lang=th

10

จารึกวัดส่องคบ 1

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงเจ้าเมืองนามว่า ขุนเพชญสาร ที่ได้ทำบุญด้วยการบริจาคข้าวของเงินทอง และข้าทาสจำนวนมากแก่วัด

จารึกวัดส่องคบ 1, จารึกวัดส่องคบ 1, ชน. 13, ชน. 13, จารึกเลขที่ 44/2499, จารึกเลขที่ 44/2499, หลักที่ 48 จารึกลานทองวัดส่องคบ, หลักที่ 48 จารึกลานทองวัดส่องคบ, ลานเงินแผ่นที่ 9, ลานเงินแผ่นที่ 9, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, ทองคำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, พระเจดีย์วัดส่องคบ, จังหวัดชัยนาท, ไทย, อยุธยา, กษัตริย์, พระศาสดาบพิตร, พระพุทธเจ้า, พระธรรมอริยสงฆ์ เจ้าเมืองขุนเพชญสาร พระมหาเถรศีลคำคำพีรย, ครูเจ้า, ออกศรีมาดา, พนิดา, แม่นางสร้อยทอง, มหาพนิดาพิจิตร, แม่นางศรีมูล, แม่นางพัว, ชาวแม่, พระสงฆ์, ขุนหลวงพระศรีแก้ว, แม่นางจกง, เจ้าชาวทานบาเรือง, ชาวเจ้า, พ่อตาแม่ยาย, อ้ายแก้ว, พ่อไว, ชียี่, เพชศักดิ์, อ้ายเจ้ายี่, กะอีลัง, กะอามน้อย, อามเสน, ชีอ้าย, ยี่ช้าง, พระมหาเถรธรรมบุตร, เจ้าสามีหรพงศ์, ปู่สิธ, พระพุทธศรีอาริยไมตรี, ปิ่นเกล้า, ทองมกุฎ, ผ้าขาว, พิจิตรพัสตร์, ผกาแก้วเกด, กรุงไชยสถานนาม, ศรีสุพรรณภูมิ, ศรีอโยธยา, นครพระราม, พุทธศาสนา, สถานบากุลเทพ, กุฏิพิหาร, วิหาร, พระดิษฐานพระธาตุ, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระศรีรัตนธาตุ, บวช, ทำบุญ, มาร, ดิน, ฟ้า, พระยศ, พระเกียรติ, พระคุณ, โลกากร, ปริญามหาเพียร, มหาศรัทธา, ปีชวด, นักษัตรสัมฤทธิศก, ไพสาข, วันอาทิตย์, เอกาทศเกต, กุศล, ทาน, เรือน, ตำลึง, บุญ, อสงไขยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1951, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระรามราชาธิราช, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เจ้าสามีหรพงศ์, บุคคล-ขุนเพชญสาร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองแพรกศรีราชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมือแพรกศรีราชา-ขุนเพชญสาร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1951

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/578?lang=th

11

จารึกวัดสรศักดิ์

ไทยสุโขทัย

ได้กล่าวถึงนายอินทรศักดิ์ขอที่ดินจากเจ้าท่านออกญาธรรมราชาเพื่อสร้างอาราม

จารึกวัดสรศักดิ์, สท. 25, สท. 25, หลักที่ 9 ก., หลักที่ 9 ก., หลักที่ 49 ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์, หลักที่ 49 ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์, ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ พุทธศักราช 1960, ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ พุทธศักราช 1960, พ.ศ. 1960, พุทธศักราช 1960, พ.ศ. 1960, พุทธศักราช 1960, จ.ศ. 779, จุลศักราช 779, จ.ศ. 779, จุลศักราช 779, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, จ.ศ. 778, จุลศักราช 778, จ.ศ. 778, จุลศักราช 778, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, ม.ศ. 1334, มหาศักราช 1334, จ.ศ. 1334, จุลศักราช 1334, หินชนวน, แผ่นรูปไบเสมา, ตระพังสอ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, นายอินทรสรศักดิ์, ออกญาธรรมราชา, นายสังฆการี, พระมาตุจฉา, พ่ออยู่หัวเจ้า, แม่อยู่หัวเจ้า, ออกญาธรรมราชา, พ่อมหาเถรเจ้า, มหาเถรธรรมไตรโลกคจุนวาจารญาณทัสสี, ธรรมไตรโลกสุนทราจารย์, ธรรมไตรโลกคุณวาจารย์, เจ้าพระยาหลาน, วัดตระกวน, พระมหาเถรเจ้า, สานุศิษย์, พระสงฆ์สบสังวาส, พระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช, พระมาตุราช, พระมาตุจฉาเจ้า, มหาอุบาสิกา, บพิตร, เจ้าสามเณร, เจ้าภิกษุ, นายสรศักดิ์, พระศรีอาริยไมตรีโพธิสัตว์, ช้างเผือก, ดอกไม้, ตำบลดาวขอน, วัดตระกวน, วัดสรศักดิ์, ตำบลบ้านสุกพอมน้อย, บ้านไผ่ล้อม, บ้านหอด, ตำบลบ้านสุกพอมน้อย, บ้านวังดัด, บ้านป่าขาม, บ้านตาลโจะ, บ้านหนองบัวหลวง, บ้านละกันน้อย, บ้านละกันหลวง, บ้านดุง, หนองยางน้อย, หัวฝาย, หมู่อีสาน, พุทธศาสนาศาสน, อาราม, กุฎี, กุฏิ, พระวิหาร, หอพระ, หัวฝายสองวาย, มหาเจดีย์, ตำหนักหัวสนามเก่า, วัดสรศักดิ์, หมู่วัดพายัพ, วัด, ปิดทอง, ฉลองมหาเจดีย์, เอาพรรษา, จำพรรษา, ปีมะโรง, สัปต, จัตวาริศก, วันพฤหัสบดี, เดือนห้า, ขึ้นห้าค่ำ, มะโรงนักษัตร, จัตวาริศก, เดือนหกเพ็ง, ไตรปิฎก, พระศาสน์, วอกนพศก, ปีวอก, ปีระกา, ระกาสัมฤทธิศก, ทาน, นา, วาย, อากร, พระเจ้าหย่อนตีน, พระเจ้าจงกรม, พระพุทธรูป, เบี้ย, จาริกวัตร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1960, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-นายอินทรศักดิ์, บุคคล-ออกญาธรรมราชา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศักราช 1960

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/128?lang=th

12

จารึกวัดสมุหนิมิต

ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ด้านที่ 1 : พ.ศ. 2319 อาจารย์วัดจำปา ภิกษุ สามเณร และสีกาบุญรอด ซึ่งเป็นผู้อุปการะ ไปนำหินจากเขาโพมาสร้างพระพุทธรูปปางสมาธิ 21 องค์ พระอรหันต์ 9 องค์ มีการบอกรายนามผู้สร้างและปิดทอง จากนั้นกล่าวถึงการอัญเชิญพระพุทธรูปปางสมาธิ 9 องค์ และพระอรหันต์ 8 องค์ ไปประดิษฐาน ณ ถ้ำศิลาเตียบ ต่อมาเจ้าพระยาไชยาและทายกทั้งปวงแห่พระพุทธรูปไปประดิษฐาน ณ ถ้ำวิหารพระโค 23 องค์ ตอนท้ายกล่าวว่าหากผู้ใดนมัสการให้ทำการกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลแก่สัตว์ทั้งหลายด้วย ด้านที่ 2 : (ข้อความต่อเนื่องจากด้านที่ 1) เนื้อหาส่วนใหญ่กล่าวถึงการถวายที่นาให้แก่วัด โดยระบุชื่อและจำนวนที่ถวาย มีการสาปแช่งผู้ที่จะเบียดบังที่นาและจังหันของพระสงฆ์ให้พบกับอันตราย 16 ประการ ตอนท้ายระบุศักราชตรงกับ พ.ศ. 2319 โดยเทียบไว้ทั้งพุทธศักราช, จุลศักราชและมหาศักราช

ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษาไทย สมัยกรุงธนบุรี, สฎ. 16, สฎ. 16, พุทธศักราช 2319, พุทธศักราช 2320, มหาศักราช 1698, มหาศักราช 1699, จุลศักราช 1139, จุลศักราช 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, มหาศักราช 1698, มหาศักราช 1699, จุลศักราช 1139, จุลศักราช 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, ม.ศ. 1698, ม.ศ. 1699, จ.ศ. 1139, จ.ศ. 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, ม.ศ. 1698, ม.ศ. 1699, จ.ศ.1139, จ.ศ.1138, สีกาบุญรอด, อาจารย์วัดจำปา, อาจารย์รัตนะ, มหาพราหมณ์วัดเวียง, เจ้าพระยาไชยา, ท่านยกกระบัตร, ท่านปลัด, ไทย, สยาม, พระเจ้าตากสิน, พระเจ้ากรุงธนบุรี, ธนบุรี, วัดจำปา, ถ้ำวัดพระโค, ถ้ำศิลาเตียบ, เขาโพ, บ้านเวียง, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พระอรหันต์, อุปคุต, สารีบุตร, โมคคัลลานะ, โกญฑัญญะ, อานนท์, ราหุล, อุบาลี, ควัมปติ, กรวดน้ำ, ทายก, อุบาสิกา, สงฆ์, สามเณร, นาจังหัน, จังหัน, ที่นา, สาปแช่ง, อันตราย 16 ประการ, จตุอุบาย, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2319, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสมุหนิมิต สุราษฏร์ธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าพระยาไชยา

วัดสมุหนิมิต ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

พุทธศักราช 2319

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1217?lang=th

13

จารึกวัดศรีชุม

ไทยสุโขทัย

จารึกหลักนี้ เป็นคำสรรเสริญสมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุณี ศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า ซึ่งเป็นบุตรของพระยาคำแหง (พระราม) เป็นหลานของพ่อขุนผาเมือง แต่ผู้แต่งจารึกหลักนี้ เห็นจะไม่ใช่พระมหาเถรนั้น เป็นผู้อื่น ผู้ใช้คำว่า “กู” ในด้านที่ 2 ตั้งแต่บรรทัดที่ 45 ไป แต่ผู้แต่งนั้นจะชื่ออะไรไม่ปรากฏ บางทีจะได้ออกชื่อไว้ในตอนต้นของจารึกหลักนี้แล้ว แต่ตอนต้นชำรุดเสียหมดอ่านไม่ได้ คำจารึกหลักนี้แบ่งออกเป็นหลายตอน คือ ตอนที่ 1 (ด้านที่ 1 บรรทัดที่ 1 ถึง 7) ชำรุดมาก แต่เข้าใจว่าเป็นคำนำมีชื่อพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ตอนที่ 2 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 8 ถึง 20) เป็นประวัติของพ่อขุนศรีนาวนำถม ตอนที่ 3 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 21 ถึง 41) เป็นเรื่องพ่อขุนผาเมืองตั้งราชวงศ์สุโขทัยและเรื่องราชวงศ์สุโขทัย ตอนที่ 4 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 41 ถึง 52) เป็นคำสรรเสริญพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ตอนที่ 5 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 53 ถึง 61) เป็นเรื่องอิทธิปาฏิหาริย์ในการเสี่ยงพระบารมี โดยวิธีอธิษฐานต่างๆของพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ตอนที่ 6 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 61 ถึง ด้านที่ 2 บรรทัดที่ 5) ในตอนนี้เป็นประวัติของสมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาฯ เมื่อยังอยู่ในคิหิเพศ แบ่งออกเป็นสามพลความคือ ก.(ตั้งแต่บรรทัดที่ 61 ถึง 75) เป็นเรื่องเจ้าศรีศรัทธาฯ ทรงทำยุทธหัตถี (ชนช้าง) กับขุนจัง ข. (ตั้งแต่บรรทัดที่ 76 ถึง 79) เป็นเรื่องประวัติเมื่อเจ้าศรีศรัทธาฯ ทรงเจริญวัยเป็นหนุ่ม ค. (ตั้งแต่บรรทัดที่ 79 ถึงด้านที่ 2 บรรทัดที่ 5) เป็นเรื่องเจ้าศรีศรัทธาฯ ได้ทรงศึกษาศิลปวิทยาต่างๆ แล้ว และทรงเบื่อหน่ายในฆราวาสวิสัย แลมีศรัทธาเลื่อมใสออกผนวชในพระพุทธศาสนา ตอนที่ 7 (ตั้งแต่ด้านที่ 2 บรรทัดที่ 6 ถึง 19) เล่าเรื่องมหาเถรศรีศรัทธาฯ ได้บำเพ็ญการกุศลแลสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ตอนที่ 8 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 20 ถึง 48) เป็นเรื่องพระมหาเถรได้ปฏิสังขรณ์วัดมหาธาตุเมืองสุโขทัย ตอนที่ 9 (ตั้งแต่บรรทัดที่ 49 ถึงบรรทัดสุดท้าย) เป็นเรื่องแสดงปาฏิหาริย์ของพระธาตุต่างๆ ในเมืองสุโขทัย

หลักที่ 2 ศิลาจารึกวัดศรีชุม, หลักที่ 2 ศิลาจารึกวัดศรีชุม, สท. 2, สท./2, สท. 2, สท./2, หินดินดาน, แผ่นรูปใบเสมา, อุโมงค์วัดศรีชุม, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระหริะ, พระอินทร, พระกฤษณ์, พระนารายณ์, สมเด็จพระตถาคต, สมเด็จพระมหามุนีศรีมหาทันตธาตุ, สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลงกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า, เจ้าศรีศรัทธาจุฬามุนี, พระศรีราชจุฬามุนีเป็นเจ้า, พระยาศรีนาวนำถุม, พ่อขุนศรีนาวนำถุม, พ่อขุนนำถุม, พระยาศรีนาวนำถม, พ่อขุนศรีนาวนำถม, พ่อขุนนำถม, พระยาผาเมือง, พ่อขุนผาเมือง, พ่อขุนศรีอินทราทิตย์, ศรีอินทรบดินทราทิตย์, กมรแดงอัญผาเมือง, พ่อขุนบางกลางหาว, พ่อขุนกลางหาว, ศรีอินทราบดินทราทิตย์, พ่อขุนรามราช, พระยาคำแหงพระราม, ชาวสีหล, ขุนยี่ขุนนาง, ขุนลุนตาขุนดาขุนด่าน, พ่อขุนดาย, ขอมสมาดโขลญลำพง, กมรแดงอัญผาเมือง, กมรเตงอัญผาเมือง, กัมรเตงอัญผาเมือง, ผีฟ้า, เจ้าเมือง, นางสุขรมหาเทวี, พ่อขุนรามราช, ธรรมราชาพุล, ท้าวพระยา, อาจารย์พรนธิบาล, กษัตราธิราช, ผู้เฒ่าผู้แก่, พระพุทธเจ้า, คฤหัสถ์, ควาญช้าง, สมเด็จธรรมราชา, ท้าวอีจาน, ขุนจัง, ราชกุมารพัตร, เขมรดง, คนหนดิน, คนเดินเท้า, คนเดินดิน, พลเดินเท้า, พระพุทธมหาอุดม, อุปัฏฐาก, พระมหาเถรานุเถร, ภิกษุสงฆ์, เจ้าราชกุมาร, หน่อพุทธางค, บริพาร, สังฆเถร, อมาตยราชเสนา, อุบาสก, อุบาสิกา ต้นไม้: พระศรีมหาโพธิ, ไม้กระทิง, อ้อย, ต้นโพธิ์, ไม้กทิง, เนาวรัตนพระศรีมหาโพธิ, ต้นไม้อินทรนิลสัตว์: ช้าง, ม้า, แพะ, หมู, หมา, เป็ด, ไก่, ห่าน, นก, ปลา, เนื้อ, กวาง, ช้างสราย, ราชสีห์, นาคราช, เผิ้ง, ผึ้ง, ใบพง, พระขรรค์ชัยศรี, หมอนแพร, ปืน, ธนู, แหวน, ปูน, เกวียน, กระยาทาน, บาตร, ค้อน, ปืน, จอบ, นม, เรือนผ้า, ผ้าแดง, ผ้าเหลือง, ผ้าดำ, ผ้าเขียว, ผ้าขาวเลื่อม, สา, ไตรกระยาทาน, พาร, มรกต, หิน, มนีรัตน, มณีรัตน, ประพาล, รัตนแก้ว, แหวน, ดอกไม้, อิฐ, มาส, ทอง, ล้อ, ดอกซ้อน, ดอกพุด, กลองเงิน, โกศทอง, ลูกหมาก, ท่อนอ้อย, กงจักร, ธชปฏากทีปธูปคันธมาลา, จรวดสวาย, ช่อมะม่วง, ธง, ธงปฎาก, ประทีป, ของหอม, ดอกไม้หอม, ลงกาทีป, ลงกาทวีป, ลังกาทีป, ลังกาทวีป, เมืองกำพไล, นครสรลวงสองแคว, นครสระหลวงสองแคว, นครสุโขทัย, เมืองสุโขทัย, นครศรีสัชนาลัยสุโขทัย, นครศรีเสชนาไลสุโขทัย, เมืองศรีเสชนาไล, เมืองศรีสัชนาลัย, เมืองฉอด, เวียงเหล็ก, ละพูน, ลำพูน, เชียงแสน, พยาว, พะเยา, ลาว, เมืองศรีโสธรปุระ, กุดานครกำพงครอง, ตลาดซื้อสัตว์,มฌิมเทศ, ปาตลีบุตรนคร, เขาสุมนกูฏ, ฝั่งน้ำมาวลิกคงคา, ป่าแขม, เมืองเชลียง, เมืองใต้ออก, เมืองราด, เมืองลุม, บ้าน, เมืองออกหลวง, เมืองบางยาง, บางขลง, นครสิงหล, ศรีรามเทพนคร, กุดานครกำพงครอง, ป่าแขมเงือด, บางฉลัง, มหาสะพาน, สวนหมาก, สวนพลู, เขานางตาย, นครพระกฤษณ์, โป่งปูน, มฌิมประเทศ, ปาตลีบุตรนคร, ฝั่งน้ำอโนมานที, เขาไกรลาส, มหาสมุทร, น้ำคงคา, อารญิก, โหนั่ง, หอนั่ง, ราทบูรมหานครศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: พระทันตธาตุสุคนธเจดีย์, พระศรีรัตนมหาธาตุ, ศรีธานยกฏกาเจดีย์, ศรีธาญกดกา, พิหารอาวาส, มหาตำหนักศาลามหาตร, พระมหาธาตุหลวง, พระนลาตธาตุ, พระคีวาธาตุ, พระทักขินอักขกธาตุ, พระเจดีย์, พิหารอาวาส, วิหารอาวาส, ศาลามหาตรพังมหาเจดีย์, พระธม, มหาพิหารใหญ่, พระเกศาธาตุ, พระบริโภคธาตุ, มหิมายังคณะมหาเจดีย์, บัลลังก์พระมหาธาตุ, พระเกศธาตุ, เจดีย์ทอง, สุวรรณเจดีย์พิธีกรรม: การประดิษฐานพระธาตุ, การประดิษฐานพระมหาธาตุ, ต่อหัวช้าง, การชนช้าง, การอภิเษก, ภิเนษกรม, ออกบวช, ตักน้ำล้างตีน, เผาหม้อเผาไหอื่นๆ: อีแดงพุะเลิง, ศึก, สิน, บุญ, ทาน, บิณฑิบาต, บิณฑบาต, จำศีล, ลูกหมากรากไม้, ภาษา, โพธิสมภาร, พุทธประติมา, ธนุศิลป, บาป, สุข, ทุกข์, จังหัน, ฉัพรังสี, อูบาทยาย, อุปัชฌาย์, รัตนภูมิ, กุศล, สรรเพญุเดญาณ, สัพพัญญุตญาณ, ธรรมบูรา, ไร่, นา, เดือนดับ, เดือนเพ็ญ, วันอุโบสถปวารณา, พระพุทธรูป, มหาพุทธรูป, เกวียน, สงสารภพ, เมตไตรโยโคตโมคาถา, มหานิทาน, พระพุทธรูปหิน, บุญสมภาร, รัสมี, รัศมี, ดวงดาว, บุษบธาร, จักรพาล, จักรวาล, ตะวัน, พระอาทิตย์, ฉัพพรรณรังสี, เลือง, ดำ, เขียว, ขาว, โลกธาตุ, ประทักษิณ, กงเกวียนแก้ว, เบญจางค, อธรรม, ธุดงคลีลา, พุทธรูปมุนี, วันสิ้นเดือน, สันท, ลวดลาย, ตรุก, จีน, พรรณ, ฝน, ชัง, ชงฆ, แข้ง, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม), ยอร์ช เซเดส์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19-20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุณี ศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า, เรื่อง-ประวัติศาสตร์-เมืองสุโขทัย, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-ขุนผาเมือง, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-พ่อขุนศรีนาวนำถม, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองนคร-พระยาคำแหง, เรื่อง-การสรรเสริญ-สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดมหาธาตุ สุโขทัย, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-ขุนผาเมือง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนศรีนาวนำถม, บุคคล-สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุณี ศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเป็นเจ้า, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-ขุนจัง, บุคคล-พ่อขุนผาเมือง, บุคคล-พ่อขุนศรีนาวนำถม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศตวรรษ 19-20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/177?lang=th

14

จารึกวัดพระเสด็จ

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

นายพันเทพรักษาและนายพันสุริยามาตย์พร้อมด้วยภรรยา และท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา สถาปนาพระวิหาร ตลอดจนการบำเพ็ญกุศลต่างๆ ในสถานารามคาม

จารึกวัดพระเสด็จ, สท. 12, สท. 12, จารึกหลักที่ 15 ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ จังหวัดสุโขทัย, จารึกหลักที่ 15 ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ พุทธศักราช 2068, ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, ม.ศ. 1431, มหาศักราช 1431, ม.ศ. 1431, มหาศักราช 1431, พ.ศ. 2055, พุทธศักราช 2055, พ.ศ. 2055, พุทธศักราช 2055, ม.ศ. 1434, มหาศักราช 1434, ม.ศ. 1434, มหาศักราช 1434, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, ม.ศ. 1438, มหาศักราช 1438, ม.ศ. 1438, มหาศักราช 1438, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, ม.ศ. 887, มหาศักราช 887, ม.ศ. 887, มหาศักราช 887, หินแปร , แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระแก้ว, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, อรูปพรหม, นายพันเทพรักษา, นายพันสุริยามาตย์, อำแดงคำกอง, อำแดงคำแก้ว, พระมหาเถรราหุลเทพวันนวาสีศรีวิริยประญา, สัปบุรุษ, ประธาน, ท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา, ออกหลวงมหาเพียรประญา, ท้าวยอดท้าว, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จพระสังฆราชจุฑามณีศรีสังฆปรินายกสธรรมดิลกบรมเวธาจารีย์บพิตร, สมเด็จพระสังฆราชเจ้า, อำแดงศรีบัวทอง, มหาพรหมรัตน์, วิลาศ, นายไกรเชียร, มหาเทพ, มหาจันทร์, มหามงคล, มหานนท์, อีแก้ว, นายพันเทพ, อำแดงน้อย, แม่ศรีบัวทอง, ข้าพระ, พระสงฆ์, มหาเถรราหุลเทพวันนวาสี, มหาเทพภิกษุ, มหานนท์, เจ้าพันรด, นายไกรเชียร, ข้าอุโบสถ, ฆ้อง, ทอง, เงิน, สบู, หินสีมา, หินเสมา, หินดาด, น้ำทักษิโณทก, ผ้าขาวบูรพัตร, ผ้าข้าวสวรัตน์, อารามกานสอ, สังฆิการาม, วัดพระเสด็จ, วันนาวาส, พุทธศาสนา, พระวิหารสถานารามคาม, พระพิหารสถานพระสรรเพชญ, พัทธสีมาอุโบสถ, พระวิหารสถานสีมา, พระพิหารสถานสีมา, อุโบสถวัดพระเสด็จ, การสถาปนาพระวิหาร, การสถาปนาพระพิหาร, การสถาปนาอุโบสถ, กัลปนา, ปีมะเส็ง, บูรณมี, ไพสาข, วันพุธ, ศุภมหุรดี, ปีมะแม, ปีกุน, ปีขาล, ปีระกา, ชั่ง, ตำลึง, บาท, บุญ, กุศล, คุณาธิคุณ, มฤคศิร, โรค, ทุกข์, สวรรค์, นิรพาน, นิพพาน, ปรัชญา, มหาปรัชญา, สัปตศก, พินัยกรรม, กรรมาวสาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2064, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุุคคล-พันเทพรักษา, บุคคล-นายพันสุริยามาตย์, บุุคคล-เจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566)

พุทธศักราช 2068

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/111?lang=th

15

จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร)

ขอมสุโขทัย

ความในจารึกเป็นคำยอพระเกียรติของพญาฦาไทย (พระธรรมราชาที่ 1) ทั้งเพื่อจะให้เป็นที่ระลึก การที่พระองค์ทรงอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากลังการูปหนึ่ง มาที่เมืองสุโขทัยเมื่อ มหาศักราช 1283 (พ.ศ. 1905) และการซึ่งพระองค์ได้ทรงพระราชศรัทธา ออกทรงผนวช ข้อความนี้จะได้เรียบเรียงและจารึกลงในศิลา ในปีเดียวกับปีที่มีงานสมโภชนั้นๆ หรือจะได้จารึกต่อมาภายหลัง ก็ไม่สามารถจะทราบได้ เพราะด้านที่ 3 ของศิลานั้นได้ลบเลือนไปเสียแทบสิ้นแล้ว ด้านที่ 1 ในตอนต้นกล่าวถึงเรื่องพญาฦาไทยเสด็จออกจากเมืองศรีสัชนาลัย ไปปราบจลาจลในเมืองสุโขทัย เมื่อ ม.ศ. 1269 (พ.ศ. 1890) ที่เกิดจลาจลนั้นเห็นจะเป็นด้วยเหตุ พญาเลอไทย พระชนกพึ่งสิ้นพระชนม์ครั้งนั้น เมื่อได้เมืองแล้ว พญาฦาไทยได้ทำพระราชพิธีราชาภิเษกในกรุงสุโขทัย ตอนที่ 2 เป็นคำยอพระเกียรติของพญาฦาไทยธรรมราชา ตอนนี้ชำรุดเสียหายมาก แต่สันนิษฐานได้บ้าง เพราะในศิลาจารึกภาษาไทย (หลักที่ 5) มีเนื้อความอย่างเดียวกัน ข้างสุดท้ายด้านที่ 1 กล่าวถึงเรื่องประดิษฐานรูปพระอิศวร พระนารายณ์ พระ (คเณศ) ในเทวาลัยมหาเกษตรที่ป่ามะม่วง ด้านที่ 2 ตอนต้นเป็นคำสรรเสริญพระปัญญาของพญาฦาไทยทรงรู้ศิลปานุศิลทั้งปวง และได้แก้ไขศักราช ตอนที่ 2 กล่าวถึงงานรับพระมหาสามีสังฆราช และการซึ่งพญาฦาไทยได้ทรงผนวช ด้านที่ 3 ชำรุดเหลือที่จะอ่านได้ ด้านที่ 4 เป็นข้อความตักเตือนสัตบุรุษ ให้รีบเร่งทำบุญกุศล และข้างสุดท้ายกล่าวถึงคาถา ซึ่งพระมหาสามีสังฆราชได้จารึกไว้ในป่ามะม่วง (คือหลักที่ 6)

หลักที่ 4 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษาเขมร, หลักที่ 4 ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง อักษรขอม ภาษาเขมร, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร พุทธศักราช 1904, ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ภาษาเขมร พุทธศักราช 1904, สท. 3, สท. 3, สท./3, สท./3 , พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, พ.ศ. 1904, พุทธศักราช 1904, ม.ศ. 1283, มหาศักราช 1283, พ.ศ. 1283, พุทธศักราช 1283, พ.ศ. 1890, พุทธศักราช 1890, พ.ศ. 1890, พุทธศักราช 1890, ม.ศ. 1269, มหาศักราช 1269, พ.ศ. 1269, พุทธศักราช 1269, หินแปร, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, ปราสาทเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระอิศวร, พระมเหศวร, พระวิษณุ, พระวิษณุกรรม, พระพิษณุกรรม, พระบาทกมรเดงอัญฦาไทยราช, พระบาทกมรเตงอัญฦาไทยราช, พระบาทกัมรเดงอัญฦาไทยราช, พระบาทกัมรเตงอัญฦาไทยราช, พระบาทกมรเดงอัญศรีรามราช, พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช, พระบาทกัมรเดงอัญศรีรามราช, พระบาทกัมรเตงอัญศรีรามราช, พ่อขุนรามคำแหง, พลพยุหเสนา, พลโยธา, ไพร่พล, พญาฦๅไทย, พระยาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระธรรมราชาที่ 1, พระธรรมราชาที่ 1, พระมหาสามี, สังฆราช, สัตรู, ศัตรู, พระบิดา, พระอัยกา, กษัตริย์, พระบาทกมรเดงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกัมรเดงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, พระบาทกัมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช, สมณะ, พราหมณ์, ดาบส, นักพรต พระมหาเถร, พระภิกษุสงฆ์, พระมหาสามีสังฆราช, พระพุทธเจ้า, โลกาจารย์กฤตยา, สมเด็จบพิตร, ราชบัณฑิต, นายช่าง, พระเถรานุเถร, สามเณร, ประชาชน, กัลปพฤกษ์, นาคราช, หมาก, ดอกไม้, มกุฏ, มงกุฎ, พระขรรค์ชัยศรี, เศวตฉัตร, ข้าวตอก, เทียน, ธูป, พวงดอกไม้, ผ้าเบญจรงค์, ทอง, เงิน, เบี้ย, จีวร 4, หมอนนอน, หมอนนั่ง, เสื่อ, กระยาทาน, บริขาร, พระแสงอาญาสิทธิ์, เมืองศรีสัชนาลัย, พระวิสัย, เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย, ป่ามะม่วง, ลังกาทวีป, นครพัน, เมืองฉอด, เมืองเชียงทอง, เมืองบางจันทร์, เมืองบางพาน, เมืองบางพาร, ทางหลวง, พระราชมรรคา, ทางสวรรค์, พระราชมณเทียร, ปราสาทราชมณเทียรทอง, ปราสาททอง, พุทธศาสนา, พราหมณ์, ฮินดู, ถนน, พระเจดีย์, รูปพระอิศวร, รูปพระวิษณุ, หอเทวาลัยมหาเกษตร, พระพุทธรูปสำริด,พระมหาธาตุ, พระพุทธรูปทอง, พระราชมนเทียร, ศิลาจารึก, กฏิวิหาร, พัทธสีมา, อภิเษก, การประดิษฐานเทวรูป, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การบูชา, เข้าพรรษา, ออกพรรษา, พระพรรษา, การทำทาน, การทำมหาทาน, การฉลองพระพุทธรูป, ฟังธรรม, การสมาทานศีล, การบวช, การจารศิลาจารึก, พระไตรปิฎก, ชั่ง, ล้าน, กระแส, บาดพจุะ, ปีกุน, วันศุกร์, พระบัณฑูร, ประตู, ไอสูรยาธิปัตย์, สังสารทุกข์, ปีฉลู, ปุรวาษาฒนักษัตรฤกษ์, เพดาน, ไตรมาส, พระพุทธรูปสำริด, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์, พระวินัย, พระอภิธรรม, เพทศาสตราคม, ความยุติธรรม, โชยติศาสตร์, ดาราศาสตร์, ปี, เดือน, สุริยคราส, จันทรคราส, อธิกมาส, วันวาร, ปฏิทิน, พระกรณียกิจ, ราชสมบัติ, ศีล, ศิลาจาร, พระขีณาสพล ทราย, วันเพ็ญ, พระราชทรัพย์, วันพุธ, ปุนัสสุฤกษ์, ดาบสเพศ, พระเนตรพระพุทธรูปทอง, จักรพรรดิสมบัติ, อินทรสมบัติ, พรหมสมบัติ, ไตรสรณาคมณ์, แผ่นดินไหว, มหัศจรรย์, บุญ, บาป, พระคาถา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1890, อายุ-จารึก พ.ศ.1904, อายุ-จารึก พ.ศ.1905, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 1, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พญาเลอไทย, บุคคล-พระมหากัลยาณเถระ, บุคคล-พญาฦาไทย, บุคคล-พระธรรมราชาที่ 1, บุคคล-พญาเลอไทย, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1904

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1329?lang=th

16

จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 3

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดปากอ่าว เมืองนนทบุรี และการเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดปรมัยยิกาวาส”ในสมัยรัชกาลที่ 5 กล่าวคือ ใน พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานพระกฐิน ณ วัดปากอ่าว ซึ่งเป็นวัดฝ่ายรามัญ (มอญ) ทรงเห็นว่าวัดแห่งนี้ทรุดโทรมมากจึงโปรดให้ปฏิสังขรณ์ เพื่อสนองพระคุณของพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ซึ่งเคยรับสั่งว่าหากทรงพระเจริญขึ้นแล้ว ขอให้สร้างวัดให้สักแห่งหนึ่ง การปฏิสังขรณ์ใช้เวลาราว 7 เดือน ครั้น พ.ศ. 2418 รัชกาลที่ 5 และพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ เสด็จมาถวายเครื่องเสนาสนะแก่พระสงฆ์ และพระราชอุทิศถวายหมู่กุฏิเป็นสังฆิกาวาส แล้วโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามเป็น “วัดปรมัยยิกาวาส” นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระไตรปิฎกอักษรมอญและตู้พระธรรม มีการกล่าวถึงพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งเป็นผู้ร่วมปฏิสังขรณ์และบางพระองค์ทรงเป็นนายช่างด้วยพระองค์เอง อีกทั้งระบุถึงขนาดของสิ่งก่อสร้างภายในวัดและจำนวนเงินที่ใช้ในการต่างๆ อย่างละเอียด ต่อมาใน พ.ศ. 2427 รัชกาลที่ 5 และพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ เสด็จมาปิดทองพระพุทธไสยาสน์ และโปรดให้ซ่อมแซมบางส่วนเพิ่มเติม เช่น ระเบียง หอสวดมนต์ และศาลาท่าน้ำ ในปีเดียวกันได้เชิญพระคัมภีร์และพระบรมธาตุจากท่าราชวรดิษฐ์แห่มาถึงวัด มีการผูกพัทธสีมาใหม่ให้กว้างขึ้น ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จมาเลี้ยงพระและถวายอัฐบริขาร และโปรดให้มีการเฉลิมฉลองวัด ตอนท้าย พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอฯ ทรงอธิษฐานให้ถึงแก่นิพพาน หากยังต้องเวียนว่ายตายเกิด ขอให้ได้พบกับรัชกาลที่ 5 และพระบรมวงศานุวงษ์ทุกภพชาติ มีการอุทิศกุศลแด่พระญาติทุกพระองค์ รวมถึงพสกนิกรที่ได้อ่านจารึกนี้ รวมทั้งเทวดา และมนุษย์

จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 3, หลักที่ 225 จารึกบนหินอ่อน, หลักที่ 225, พ.ศ. 2417, 2518, 2427, จุลศักราช 1236, 1237, 1246, 2417, 2518, 2427, 1236, 1237, หินอ่อน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่5, ร.5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร.5, รัชกาลที่ 5, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร.3, ร.3, รัชกาลที่ 3, พระบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร, กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์, พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ, กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์, พระประพันธ์วงศ์เธอ กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์, พระสุเมธาจารย์, เจ้าฟ้าจาตุรนรัศมี กรมหลวงจักพรรดิพงษ์, เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุพันวงษ์วรเดช, กรมหมื่นภูมินทรภักดี, วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี, วัดปากอ่าว, ท่าราชวรดิฐศาสนาพุทธ, การปฏิสังขรณ์, การสร้างพระไตรปิฎกอักษรมอญ, การบรรจุพระบรมธาตุ, การทอดพระกฐิน, การเปลี่ยนชื่อวัด, มอญ, รามัญ, เรือพระราชพิธี, กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

หน้าพระอุโบสถวัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (สำรวจเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564)

พุทธศักราช 2427

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1230?lang=th

17

จารึกวัดบูรพาราม

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ด้านที่ 1 ว่าด้วยพระราชประวัติพระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย นับแต่การประสูติ จบการศึกษาศิลปศาสตร์ การเสวยราชย์ การปราบดาภิเษก การขยายพระราชอาณาเขตไปยังทิศานุทิศ มีเมืองฉอด เมืองพัล ลุมบาจาย ยโสธร นครไทย เชียงดง เชียงทอง เป็นต้น จากนั้นกล่าวถึงสมเด็จมหาธรรมราชาธิราช เสด็จออกทรงผนวช และเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1951 นอกจากพระราชประวัติ ยังได้กล่าวถึงสายสัมพันธ์ราชสกุลแห่งพระราชวงศ์ การประดิษฐานพระมหาธาตุใน “บูรพาราม” การสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา ท้ายของด้านที่ 1 นี้กล่าวถึง สมเด็จพระราชเทวีเจ้าทรงกัลปนาอุทิศบุณยโกฏฐาส เพื่อทรงอุทิศส่วนพระราชกุศล ถวายแด่สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช สมเด็จพระศรีธรรมราชมาตาพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ มีสมเด็จปู่พระยา พ่อออก แม่ออก เป็นต้น ส่วนข้อความจารึกด้านที่ 2 กล่าวถึงพระเทวีสังฆมารดาและพระเทวี ร่วมกันบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวถึงพระราชประวัติพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงประสูติจากพระครรภ์พระศรีธรรมราชมารดา พระอัครมเหสีของ “สิริราชา” เมื่อเดือน 8 ศักราช 730 (พ.ศ. 1900)

หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, สท. 59, สท. 59, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, พุทธศักราช 730, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, จ.ศ. 758, จุลศักราช 758, จ.ศ. 758, พุทธศักราช 758, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, พุทธศักราช 770, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, พุทธศักราช 774, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, จ.ศ. 775, จุลศักราช 775, จ.ศ. 775, พุทธศักราช 775, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระศรีธรรมราชมารดา, สมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา, สมเด็จพระราชเทวีศรีจุฬาลักษณ์อัครราชมหิศีเทพยธรณีดิลกรัตนบพิตรเป็นเจ้า, สมเด็จรามราชาธิราช, ศรีธรรมาโศกราช, พระมหาอานนท์, สาธุชน, พระมุนี, พระศาสดา, พระทศพล, พระเทวีสังฆมารดา, พระเทวีศรีจุฬาลักษณ์, อัครมเหสี, พระราชบิดา, สิริราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, นางเทวนารีอัปสร, พระนางพิมพา, พระนางมหามายา, พระนางจันทิมา, พระนางสรัสวดี, พระสงฆ์, พระราชบุตร, กนิฏฐกะ, พระญาณคัมถีรเถระ, โชติปาละ, พระเถระ, พระฏิปิฎกาจารย์, เทวมงคล, พระธรรมกรรมกะ, พระอินทโฆสะ, บัณฑิต, พระปาลีติตะ, บุรุษ, สามเณร, พระภิกษุ, อุบาสก, พระสารีบุตรปิยทัสสะ, พระจันทิยยภุยยะ, พระพุทธปาลสิริวังสะรับ, ลวะ, เหมะ, พระสลิสรานันทเถระ, ประมุข, พระติโลกติลกรตนสีลคันธารวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสมณะ, พระสมณินทัสสเถระ, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, พระกันโลง, ปราชญ์, ท้าวพระยา, บาทบริจาริการัตนชายา, สมเด็จรามราชาธิราชบรมนารถบุตร, พระนุช, ศรีธรรมาโศกราช, อาจารย์, อินทรโฆรสราชบัณฑิต, รัชตะ, บาไปรียะ, พระมหาอานนท์, ปู่พระยาพ่อออก, ภัษฎราธิบดี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, ญาติ, พระยาสามนตราช, เลือง, ต้นโพธิ, มะพร้าว, มะขามป้อม, ต้นพิกุล, มะม่วง, สมอ, บุนนาค, กากะทิง, สาระภี, กอปทุม, เมล็ดถั่ว, ทองคำ, แก้วผลึก, สังข์, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ดอกพิกุล, ข้าวเปลือก, ผ้าหนังสัตว์, ภิกษา, บาตร, จีวร, ไม้เท้า, ที่นอน, ข้าวสารสาลี, กระยาทาน, เมืองฉอด, เมืองพัล, ลุมบาจาย, ยโสธร, นครไทย, เชียงดง, เชียงทอง, ปกกาว, ศรีสัชชนาลัย, กรุงสุโขทัย, รัฐกาว, รัฐชวา, เมืองพระบาง, เมืองนครไทย, เมืองเพชรบูรณ์, เมืองไตรตรึงส์, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุระ, เมืองเชียงแสน, แม่น้ำพิงค์, แม่น้ำโขง, เกาะลังกา, คู, กำแพง, สะพาน, เกาะสิงหล, แดนพัล, สาย, ริด, เมืองสุโขทัย, ท่งไชย, ทุ่งไชย, ฝั่งของ, ฝั่งโขง, เมืองพัน, ทุ่งชัย, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, ปุพพาราม, ห้องพระธาตุ, พระเจดีย์, พระวิหาร, พระพิหาร, พระอุโบสถ, อาราม, บูรพาราม, พระมหามณฑปเจดีย์, คันธวนวาส, พระพุทธเจดีย์, วัดอโสการาม, วัดศีลวิสุทธาวาส, การอภิเษก, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, สร้างศาลา, สถาปนาพระเถระ, บวช, ผนวช, บรรพชา, อุปสมบท, บำเพ็ญมหาทาน, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, กัลปนา, สัตว์โลก, ทศพลญาณ, ธรรม, อนันตญาณ, มาร, เสนามาร, โอฆะสงสาร, สรรพัญญุตญาณ, นรก, คนธชาติ, ราคะ, ศิลป, ธุรบัญญัติ, ทุกข์, ภพ, สุข, ธรรมนาวา, โมหะ, พระพุทธพจน์, พุทธธรรม, ศีล, ปัญญา, กุศลกรรมบท 10, กุศลกรรมบท 10, บุญ, ทักขิไณยบุคคล, พระรัตนตรัย, รัชสมบัติ, ทิศอุดร, ทิศอิสาน, ทิศทักษิณ, ทิศบูรพา, ทิศอาคเนย์, ทิศพายัพ, ปีฉลู, ปีมะโรง, มะโรงนักษัตร, วันพฤหัสบดี, ศีล, ยศ, ขัตติยา, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระธาตุ, ปาฏิหาริย์, พระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, ที่นา, ทรัพย์, สมาธิ, ปัญญา, กุศล, วอกนักษัตร, ปีวอก, อาษาฒมาส, กลาศาสตร์, มูรฒรณรงค์, ฉลูนักษัตร, ปีฉลู, ราชสมบัติ, ออกใหม่, ปัญจพิธ, กัลญาณี, ญาณคัมถีร์, ศีลวัตร์, กรรม, กรยาการ, โกฏฐาส, พระราชกุศล, กระยาการ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7 : ประมวลจารึกที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, 2) ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2566

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 ตุลาคม 2566)

พุทธศตวรรษ 20

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/254?lang=th

18

จารึกวัดบางสนุก

ไทยสุโขทัย

คำขึ้นต้นของจารึกเป็นภาษาบาลี และภาษาไทย เป็นคำกล่าวนมัสการพระรัตนตรัย ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงเมืองตรอกสลอบ ได้ชักชวนบรรดาลูกเจ้าขุนมูลนาย ไพร่ไทย ตลอดทั้งชาวแม่ชาวเจ้าทั้งหลาย สร้างพระพุทธรูปด้วยดีบุกด้วยดิน และได้กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลอื่นๆ อีก

จารึกวัดบางสนุก, พร. 1, พร. 1, หลักที่ 107 ศิลาจารึกวัดบางสนุก, หลักที่ 107 ศิลาจารึกวัดบางสนุก, พ.ศ. 1882, พุทธศักราช 1882, พ.ศ. 1882, พุทธศักราช 1882, แผ่นหินชนวน, แผ่นหินดินดานสีเขียว, แผ่นรูปใบเสมา, จังหวัดแพร่, ไทย, สุโขทัย, พระอินทร์, เจ้าเมืองตรอกสลอบ, เจ้าพายสลอบชีพร, ชาวเจ้าขุน, มูนนาย, มูลนาย, ไพร่ไทย, ชาวแม่, ชาวเจ้า, แงซุน, พระช้าง, ม้า, วัว, โค, ควาย, กระบือ, พระพิมพ์ดิน พระพิมพ์ดีบุก (เหียก), พระธาตุ, พระงาสอง, ขันหมากทอง,จ้อง, ร่ม, ธง, กลอง, ขันข้าวตอกดอกไม้, เทียน, ธูป, จันทร์, น้ำมันหอม, ช้าง ม้า วัว ควาย, หมอนนอน, อ่าง, หินแลง, ปูน, กระยาทาน , หมอน, หมากเมือง, เมืองตรอกสลอบ, พุทธศาสนา, ศาลา, เถาะ, โถะ, ปีกัดเหม้า วันเมิงเป้า,พระศรีรัตนตรัย, บุญ, ธรรม, พุทธบูชา, ธรรมบูชา, สังฆบูชา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง และประเสริฐ ณ นคร, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง และประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง และประเสริฐ ณ นคร, จารึกสมัยสุโขทัย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1822, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว,วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองตรอกสลอบ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1882 (โดยประมาณ)

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/241?lang=th

19

จารึกวัดจำปา

ขอมอยุธยา

กล่าวถึงการทำบุญของบุคคลนามว่า มหาจันธง เจ้าปุญจน และอำแดงเพชรทอง โดยการถวายที่ดิน กระบือ และข้าทาสแก่วัด

จารึกวัดจำปา, สฎ. 1, สฎ. 1 , พ.ศ. 2309, พุทธศักราช 2309, พ.ศ. 2309, พุทธศักราช 2309, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1128, จุลศักราช 1128 , หินทรายสีเทา , รูปใบเสมา , คูร่องน้ำ, วัดจำปา, ตำบลทุ่ง, อำเภอไชยา, จังหวัดสุราษฎร์ธานี , ศรีวิชัย , มหาจันธง, เจ้าปุญจน, อำแดงเพชรทอง, พ่อกน, ทาส, คนหาบ, พระสงฆ์, กระบือ, ควาย , นานินนวน, นาหนองผาย, หัวชิงปอ, นากระจาย, ประตูทักษิณ, ม่วงปอ, เปรฬ, นารำมาไย, นาเดชทา, ประตูพายัพ , พุทธศาสนา, วัดทมาน, วัดจำปา, กัลปนา, การถวายนา, การถวายสิ่งของ, การถวายทาส, การบูรณวัด, พระวัสสา, ปีจออัฐศก, ทิศปัศจิม, โพธิญาณ, นิพพาน, กำลา, ตำลึง, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2309, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-มหาจันธง, บุคคล-เจ้าปุญจน, บุคคล-อำแดงเพชรทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชยา ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

พุทธศักราช 2309

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/632?lang=th

20

จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณิ

ไทยสุโขทัย,ธรรมล้านนา

พระมหาเถรจุฑามุณิ สร้างวิหาร ประดิษฐานพระธาตุ พระพุทธประติมา และพระอถารส

จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณิ, จารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามุณี, สท. 52, สท. 52, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, ทองคำ, แผ่นลาน, ฐานพระประธาน, พระอุโบสถ, วัดมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระมหาเถรจุทามุณิ, เงิน, ทอง, เหียก, ดีบุก, งา, พุทธศาสนา, วิหาร, ปลูกพิหาร, ประดิษฐานพระธาตุ, ประดิษฐานพระพุทธรูป, โรงนักษัตร, ปีมะโรง, สุกราพาร, วันศุกร์, กรรดิการิกส, พระพุทธประติมา, พระอถารส, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1919, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, วัตถุ-จารึกบนแผ่นลาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระพุทธประติมา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1919

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/171?lang=th

21

จารึกพ่อขุนรามคำแหง

ไทยสุโขทัย

เรื่องที่มีในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงนี้แบ่งออกได้เป็นสามตอน ตอนที่ 1 ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 ถึง 18 เป็นเรื่องพ่อขุนรามคำแหงเล่าประวัติของพระองค์ ตั้งแต่ประสูติจนได้เสวยราชสมบัติใช้คำว่า “กู” เป็นพื้น ตอนที่ 2 ไม่ได้ใช้คำว่า “กู” เลย ใช้คำว่า “พ่อขุนรามคำแหง” เล่าเรื่องประพฤติเหตุต่างๆ และธรรมเนียมในเมืองสุโขทัย เรื่องสร้างพระแท่นมนังศิลาเมื่อ ม.ศ. 1214 เรื่องสร้างพระธาตุเมืองศรีสัชนาลัย เมื่อ ม.ศ. 1207 และที่สุดเรื่องประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นเมื่อ ม.ศ. 1205 ตอนที่ 3 ตั้งแต่ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 12 ถึงบรรทัดสุดท้าย เข้าใจว่าได้จารึกภายหลังหลายปี เพราะตัวหนังสือไม่เหมือนกับตอนที่ 1 และที่ 2 คือตัวพยัญชนะลีบกว่าทั้งสระที่ใช้ก็ต่างกันบ้าง ตอนที่ 3 นี้ เป็นคำสรรเสริญ และยอพระเกียรติคุณของพ่อขุนรามคำแหง และกล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัยที่แผ่ออกไปครั้งกระโน้น

จารึกพ่อขุนรามคำแหง, สท. 1, สท. 1, หลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย, พ.ศ. 1835, พุทธศักราช 1835, พ.ศ. 1835, พุทธศักราช 1835, ม.ศ. 1214, มหาศักราช 1214, ม.ศ. 1214, มหาศักราช 1214, พ.ศ. 1828, พุทธศักราช 1828, พ.ศ. 1828, พุทธศักราช 1828, ม.ศ. 1207, มหาศักราช 1207, ม.ศ. 1207, มหาศักราช 1207, พ.ศ. 1826, พุทธศักราช 1826, พ.ศ. 1826, พุทธศักราช 1826, ม.ศ. 1205, มหาศักราช 1205, ม.ศ. 1205, มหาศักราช 1205, หินทรายแป้งเนื้อละเอียด, หลักสี่เหลี่ยมด้านเท่าทรงกระโจม, ปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, ไทย, สุโขทัย, พ่อขุนศรีอินทราทิตย์, นางเสือง, บานเมือง, ขุนสามชน, พระรามคำแหง, พ่อขุนรามคำแหง, ปู่ครูนิสัยมุต, มหาเถรสังฆราช, กาว, ลาว, ไทย, ชาวอู, ชาวของ, ไพร่, ไพร่ฟ้าหน้าใส, ลูกเจ้าลูกขุน, ไพร่ฟ้าข้าไทย, ข้าเสือก, ข้าศึก, หัวรบหัวพุ่ง, แม่ทัพนายกอง, ไพร่ฟ้าหน้าปก, ปู่ครู, มหาเถร, สังฆราช, นักปราชญ์, อุบาสก, ท้าว, พระยา, ครูอาจารย์, ข้าเสีอ, หมากส้ม, หมากหวาน, หมากม่วง, หมากขาม, ไม้ตาล, เนื้อ, กวาง, ปลา, ช้าง, ช้างเผือก, ม้า, วัว, โค, รูจาครี, รูจาศรี, มาสเมือง, ทอง, เงือน, เงิน, ข้าว, เสื้อคำ, กะดิ่ง, กระดิ่ง, กลอง, พาด, พาทย์, พิณ, กระพัด, ลยาง, พนมเบี้ย, พนมหมาก, พนมดอกไม้, หมอนนั่งหมอนโนน, หมอนนอน, สิน, เมืองฉอด, เมืองสุโขทัย, อรัญญิก, เมืองศรีธรรมราช, ตลาดปสาน, เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, เมืองเชลียง, สรลวง, สระหลวง, สองแคว, ลุมบาจาย, สคา, เวียงจันทน์, เวียงคำ, คนที, พระบาง, แพรก, สุพรรณภูมิ, ราชบุรี, เพชรบุรี, หงสาวดี, เมืองแพร่, เมืองม่าน, เมืองพลัว, เมืองชวา, ฝั่งของ, น้ำโขง, ทะเลหลวง, น้ำโคก, ถ้ำพระราม, น้ำสำพาย, ถ้ำรัตนธาร, ทะเลสมุทร, ป่าหมาก, ป่าพลู, ป่าพร้าว, ป่าลาง, ป่าม่วง, ป่าขาม, เยียข้าว, ฉางข้าว, ตระพังโพยสี, น้ำโขง, อรัญญิก, หัวลาน, ปากประตูหลวง, ภูเขา, พุทธศาสนา, ตระพังโพยสี, ตรีบูร, พิหาร, วิหาร, กุฎีพิหาร, สรีดภงส์, ทำนบ, พระศรีรัตนธาตุ,ศาลาพระมาส, พุทธศาลา, พระธาตุ, พระเจดีย์, เวียงผา, กำแพงหิน, ปราสาท, กุฏิ, การคล้องช้าง, กรานกฐิน, เผาเทียนเล่นไฟ, การชนช้าง, บริพารกฐิน, ญัติกฐิน, การสวด, การบูชาพระธาตุ, การก่อพระเจดีย์, ไร่, นา, น้ำ, จกอบ, ภาษี, การค้าขาย, เหย้าเรือน, ประตู, ทาน, ศีล, บุญ, ธรรม, พรรษา, พระพุทธรูปทอง, พระไตรปิฎก, ปิฎกไตร, บ้าน, พระอัฏฐารศ, พระอจนะ, พระอัจนะ, พระขพุงผี, เทพดา, เทวดา, ปีมะโรง, มนังศิลาบาตร, ขดานหิน, เดือนดับ, เดือนออก, เดือนเต็ม, เดือนบ้าง, ปีกุน, พระธาตุ, ลายสือไทย, ปีมะแม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารึก พ.ศ. 1835, จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, จารึกภาษาไทย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกบนหินทรายแป้ง, จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, จารึกพบที่สุโขทัย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย, กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, พ่อขุนรามคำแหง, ความเป็นอยู่และประเพณี, การสร้างพระแท่นมนังศิลา, การสร้างพระธาตุ, ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัย, การประดิษฐ์ตัวอักษร, การสร้างศิลาจารึก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1835, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแป้ง, ลักษณะ-จารึกทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระแท่นมนังศิลา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย, เรื่อง-การประดิษฐ์ตัวอักษร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1835

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/47?lang=th

22

จารึกพระยาศรียศราช วัดหงส์รัตนารามฯ

ไทยสุโขทัย

ข้อความในจารึกหลักนี้ กล่าวถึง พระยาศรียศราช คือ เจ้าเมืองเฉลียง (ศรีสัชนาลัย-สวรรคโลก) และมีบทบาทต่อมาในประวัติศาสตร์การเมือง การสงครามและพุทธศาสนาในราชอาณาจักรสุโขทัย ยุคร่วมสมัยกับสมเด็จพระบรมราชาธิราช (เจ้าสามพระยา) แห่งกรุงศรีอยุธยา ดังที่ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร ได้สรุปไว้ในผลงานที่อ้างแล้วข้างต้นว่า “จารึกหลักนี้ยืนยันข้อความในตำนานมูลศาสนา วัดป่าแดง (เชียงตุง) ซึ่ง กล่าวว่า สมัยเจ้าสามพระยาสุโขทัยถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน มีพระยาบาล (บรมปาลมหาธรรมราชา) ครองพิษณุโลก พระยารามครองสุโขทัย พระยาเชลียงครองเชลียง และพระยาแสนสอยดาวครองกำแพงเพชร ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับปลีก เลขที่ 222, 2/ก, 104 มัดที่ 27 มีรายละเอียดว่า ตอนยกทัพไปพระยาเชลียงไว้เมืองสวรรคโลกแก่เจ้าราชศรียศ ผู้เป็นบุตร ส่วนตำนานมูลศาสนา ฝ่ายวัดสวนดอก (วัดยางควง เชียงตุง ต้นฉบับได้จากวัดบ้านเอื้อมลำปาง) กล่าวว่า เมื่อ พ.ศ. 1972 พระยาเมืองเชลียง ชื่อ ไสยศรียศ และจารึกสมเด็จพระมหามุนีรัตนโมลี (ดู จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 หน้า 169) พ.ศ. 1963 กล่าวว่า เสด็จพ่อพระยาสอยเสวยราชย์ในบุรีศรีกำแพงเพชร ส่วนวันศุกร์ขึ้น 3 ค่ำ เดือนแปด ตรงกับวันรวงเม็ดและ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 1963”

จารึกพระยาศรียศราช วัดหงส์รัตนารามฯ, หลักที่ 293, หลักที่ 293, พ.ศ. 1966, พุทธศักราช 1966, พ.ศ. 1967, พุทธศักราช 1967, พ.ศ. 1966, พุทธศักราช 1966, พ.ศ. 1967, พุทธศักราช 1967, ทองเนื้อผสมนวโลหะ, ฐานของพระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิราบ, วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร, เขตบางกอกใหญ่, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระยาศรียศราช, เจ้านนทปัญญา, เจ้านันทปัญญา, พระเจ้า, ดอกหวาย, ปีเถาะ, สวน, ไร่, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประเสริฐ ณ นคร, ตำนานมูลศาสนา เชียงใหม่ เชียงตุง, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, ประเสริฐ ณ นคร, งานจารึกและประวัติศาสตร์ของ ประเสริฐ ณ นคร, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารรึก พ.ศ. 1966, จารึก พ.ศ. 1977, อายุ-จารึก พ.ศ. 1966, อายุ-จารึก พ.ศ. 1967, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำเนื้อผสมนวโลหะ, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระยาศรียศราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชลียง

พระวิหารวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1966

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/269?lang=th

23

จารึกป้านางคำเยีย

ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย

ข้อความในจารึกอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย ได้กล่าวถึงป้านางคำเยียที่ได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ ในพระพุทธศาสนา ส่วนข้อความในจารึกอักษรขอมสุโขทัย ภาษาบาลี ได้กล่าวพรรณนาถึงลายลักษณ์ที่ปรากฏในพระบาททั้งสอง แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

จารึกป้านางคำเยีย, กท. 30, กท. 30, หลักที่ 130 ศิลาจารึกภูเขาไกรลาส สวนซ้าย, หลักที่ 130 ศิลาจารึกภูเขาไกรลาส สวนซ้าย, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทยสมัยสุโขทัย, พ.ศ. 1922, พุทธศักราช 1922, ม.ศ. 1301, มหาศักราช 1301, จ.ศ. 741, จุลศักราช 741, พ.ศ. 1922, พุทธศักราช 1922, ม.ศ. 1301, มหาศักราช 1301, จ.ศ. 741, จุลศักราช 741, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, เขาไกรลาส, สวนซ้ายในพระบรมมหาราชวัง, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, รูปมหาพรหม, ป้านางคำเยีย, เถรญี, มหาธรรมราชา, อ้ายอินท์, พี่อ้ายท่านพระศรีราชโอรส, เถรธรรมวิสาร, พระเป็นเจ้า, พระเยีย, ข้าไท, ตริปอง, เถรญี, งั้วช่างเขียน, ลุงขุน, อ้ายอินทร์, ภิกษุ, สงฆ์, เถรานุเถร, พระมเหสี, พระพุทธเจ้า, พระเจ้าจักรพรรดิ, บริวาร, มหาสังฆราชา, มหาเถร, พระมหาเถรสังฆราชา, เจ้าเมืองสุโขทัย, ช้าง, ม้า, ปลาทอง, จระเข้, ปลาฉลาม, ราชสีห์ทอง, เสือ, ม้าวลาหก, ช้าง, หงส์, นกจากพราก, พระยานาค, ช้างเอราวัณ, นกการเวก, แมลงภู่ทอง, ไก่เถื่อน, ไก่ป่า, นกกระเรียน, แมลงภู่ทอง, นกกระทาดงสิ่งของ: ฉัตร, ไตรจีวร, องค์บริขาร, พาทย์, พิณ, แตร, สังข์, เครื่องดนตรี, ข้าว, พัลลุ, พลุ, จักร, กง, ดุม, นางฟ้า, แว่นส่องหน้า, ดอกไม้กรอง, ขอช้าง, ปราสาท, นกพริก, ดอกพุดซ้อน, ร่มขาว, มีด, พระขรรค์ชัยศรี, ขั้วลูกตาล, พัด, หางนกยูง, ผ้าโพกหัว, ผ้าโพกศีรษะ, มกุฏ, บาตร, เรือทอง, ภาชนะ, เชือกแก้ว, ดอกบัวสาย, ดอกบัวเขียว, ดอกบัวแดง, ดอกบัวหลวง, ภาชนะใส่น้ำ, หม้อใส่น้ำ, ลูกโลก, ธงชัย, ธงปฏาก, เก้าอี้, ผ้าทองขนหางสัตว์, เมืองสุโขทัย, ทะเล, ภูเขาเมรุ, สระ, ภูเขาไกรลาส, พุทธศาสนา, กุฎี, พระพิหารสถาน, สถูป, เจดีย์, วัด, อาวาส, อุโบสถ, การบำเพ็ญกุศล, การทำทาน, การบำเพ็ญบุญ, การทำบุญ, การถวายข้าพระ, พระทศพิธธรรม, เบญจาคประดิษฐ์, พระพุทธรูปเจ้า, จังหัน, พยาบาล, ปีมะแม, วัยพุธ, หนไทย, วันเปิกสัน, พระธรรม, ทสชาติ, ทศชาติ, สวรรค์, นิรพานสถาน, พระบาท, ฟัน, ดาว, ดวงอาทิตย์, ดวงจันทร์, มหาทวีป, ราชาศัพท์, กินนร, กินนรี, นางกินนร, พรหมโลก, มงคล 108, มงคล 108, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ศิลปากร, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1922, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในสวนซ้าย พระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ป้านางคำเยีย, จารึกวัดตระพังช้างเผือก, epigraphic and historical studies, The Inscription of Vat Traban Jan Phoak

เขาไกรลาส สวนซ้ายในพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1922

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/92?lang=th

24

จารึกบนแผ่นหินชนวน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

เป็นคำแปลของจารึกลานทอง 2 ชิ้นซึ่งพบที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี จารด้วยอักษรขอม ภาษาบาลี ชิ้นที่ 1 คือ “จารึกเจ้ารัตนโมลีศรีไตรโลกย์” ซึ่งเป็นพระสุพรรณบัฏของพระองค์เอง ส่วนชิ้นที่ 2 คือ “จารึกลานทอง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี” กล่าวถึง กษัตริย์พระองค์หนึ่งโปรดให้สร้างสถูปและบรรจุพระบรมธาตุ ต่อมาพระโอรสของกษัตริย์พระองค์นั้น ได้ทำการปฏิสังขรณ์และบรรจุพระบรมธาตุ รวมทั้งบูชาด้วยเครื่องบูชาต่างๆ เช่น ทองคำ โดยตั้งความปรารถนาขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

ศิลาจารึกบนแผ่นหินชนวน, สพ.10, สพ.10, จ.ศ. 1265, 1269, พ.ศ. 2456, 2446, 2450, 1265, 1269, 2456, 2446, 2451, สมเด็จพระสังฆราช, ไทย, สยาม, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 6, ร.6, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร.5, ร.5, ร.6, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 6, อยุธยา, รัตนโกสินทร์, วัดมหาธาตุ, กรุ, ศาสนาพุทธ, ก่อพระสถูป, สร้างสถูป, บรรจุพระธาตุ, พระธาตุ, ชินธาตุ, สถูป, พระพุทธเจ้า, บุญ, ลานทอง, ไม่มีรูป

กุฏิเจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศักราช 2456

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1187?lang=th

25

จารึกบนแผ่นดินเผาวัดเทพอุรุมภังค์

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

เมื่อ พ.ศ. 2341 สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ โปรดให้นำพระตำหนักแพมาสร้างเป็นพระอุโบสถของวัดแห่งหนึ่ง เพื่อเป็นปัจจัยแก่พระโพธิญาณ

ชื่อจารึก : นบ. 2 ,นบ. 2, จารึกวัดเทพอุรุมภังค์ (วัดร้าง), หลักที่ 135 จารึกบนแผ่นดินเผา, หลักที่ 135 จารึกบนแผ่นดินเผา, จารึกบนแผ่นดินเผาวัดเทพอุรุมภังค์ศักราช : พุทธศักราช 2341, พุทธศักราช 2341วัตถุจารึก : แผ่นดินเผาเนื้อดิน (เผาด้วยอุณหภูมิต่ำ)ลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสถานที่พบ : วัดเทพอุรุมภังค์ (วัดร้าง) ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีอาณาจักร : สยาม, ไทย รัชกาล : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช , รัชกาลที่1,รัชกาลที่1, ร.1, ร.1ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์, เจ้าฟ้าตัน สถานที่ : วัดเทพอุรุมภังค์, วัดร้าง, พระตำหนักแพ, อุโบสถ, อารามศาสนา : พุทธศาสนา, พระโพธิญาณเหตุการณ์สำคัญ : การสร้างพระอุโบสถ

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2341

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/739?lang=th

26

จารึกบนหินอ่อนด้านหลังพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐ์ฯ

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

คำประกาศพัทธสีมาวัดราชประดิษฐ์ กล่าวถึงความเป็นมา วัตถุประสงค์ กฏเกณฑ์และขอบเขตของสีมา โดยเน้นถึงการเป็นที่ของภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย

จารึกบนหินอ่อนด้านหลังพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐ์, หลักที่ 193 ศิลาจารึกวัดราชประดิษฐ์ ฯ, หลักที่ 193 ศิลาจารึกวัดราชประดิษฐ์ ฯ, จุลศักราช 1226, พุทธศักราช. 2407, จุลศักราช 1227, พุทธศักราช 2408, จุลศักราช 1226, พุทธศักราช. 2407, จุลศักราช 1227, พุทธศักราช 2408, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลทื่ 4 , ร. 4, รัชกาลที่ 4, ร. 4, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4 , ร. 4, หม่อมเจ้าดิศ, พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3 , ร. 3, เจ้าพระยาศรีสุริวงษสมันตพงษ์พิสุทธิ์, ตึกดิน, สวนกาแฟ, โรงธรรม, ศาลาการเปรียญ, หอพระพุทธรูป, คลองโรงสี, พุทธศาสนา, ธรรมยุติกนิกาย, ธรรมยุต, กรมพระนครบาล

วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรมหาวิหาร แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2408

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1135?lang=th

27

จารึกนายศรีโยธาออกบวช

ขอมสุโขทัย

ข้อความที่จารึกกล่าวถึง นายศรีโยธาถูกแมงคาเข้าหู แล้วป่วยจนไม่สามารถรับราชการต่อไปได้ จึงได้อำลาพระญาศรีไสยรณรงค์สงครามออกจากราชการ แล้วออกบวชเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 ปีฉลู สัปตศก จุลศักราช 868 และได้กล่าวถึงมหาสัทธาปุญโญขอทีดินจากพระญาศรีไสยรณรงค์สงคราม เพื่อสร้างอารามในตำบลพระศรีมหาโพธิ์ ต้นศรีมหาโพธิ์ดังกล่าวนี้ พระมหาสวามีอนุราชได้อัญเชิญมาแต่ลังทวีป ซึ่งปลูกไว้ในระหว่างกลางบ้านอ้ายรอกและบ้านมตเพ็ง นอกจากนี้แล้วยังได้กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลอื่นๆอีก

จารึกนายศรีโยธาออกบวช, สท. 28, สท. 28, ท. 40, ท. 40, หลักที่ 86 ศิลาจารึกนายศรีโยธาออกบวช พุทธศักราช 2071, หลักที่ 86 ศิลาจารึกนายศรีโยธาออกบวช พุทธศักราช 2071, ศิลาจารึก อักษรขอมโบราณ ภาษาบาลีและภาษาไทย, หลักที่ 86 ศิลาจารึกอักษรขอมภาษาบาลีและภาษาไทย, หลักที่ 86 ศิลาจารึกอักษรขอมภาษาบาลีและภาษาไทย, พ.ศ. 2071, พุทธศักราช 2071, พ.ศ. 2071, พุทธศักราช 2071, จ.ศ. 890, จุลศักราช 890, พ.ศ. 890, พุทธศักราช 890, พ.ศ. 2048, พุทธศักราช 2048, พ.ศ. 2048, พุทธศักราช 2048, จ.ศ. 867, จุลศักราช 867, พ.ศ. 867, พุทธศักราช 867, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, พ.ศ. 868, พุทธศักราช 868, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, พ.ศ. 875, พุทธศักราช 875, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, เจดีย์วัดโบสถ์, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, นายศรีโยธา, หัวปาก, พระยาศรีไสยรณรงค์สงคราม, มหาสัทธาปุญโญ, พระมหาสวามีอนุราช, มหาสวามีศีลสาคร, เจ้าเมืองรามราช, มหาอุปาสก, หมื่นนริน, พระพุทธเจ้า, พระยาศรีธรรม, คนครัว, ชาย, หญิง, พระมหาสัทธา, เจ้าไทย, สงฆ์, อุบาสากอุบาสิกา, อุบาสกอุบาสิกา, สมเด็จพระสังฆราช, ไม้ไผ่, ต้นตาลลอน, ไม้สาล, พระมหาโพธิเจ้า, แมงคา, แร่, เหล็ก, เงิน, ทอง, สัมฤทธิ์, สำริด, ดีบุก, หิน, ไม้, ปูน, คำ, ตำบลพระศรีมหาโพธิ, ลังกาทวีป, บ้านอ้ายรอก, บ้านมตเพ็ง, พิษณุโลก, พุทธศาสนา, อุโบสถ, อาราม, พระเจดีย์, พระวิหาร, พระพิหาร, พระเชตุพนอาราม, องคาสวัสดิ์, วัด, การตั้งศักราช, บวช, อุปสมบท, สร้างอาราม, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, พระศรีรัตนไตรแก้ว, มาส, ปี, เดือน, วัน, คืน, ฟกษ์ผานาที, ดิถี, ศุภมหุรดิ, หู, เอาราชการ, วันพฤหัสบดี, ฉลูนักษัตร, ปีฉลู, สัปตศก, ปีขาล, ขาลนักษัตร, อัฏฐศก, วันพุธ, ฤกษ์บุษย, ตะวันชาย, บาท, พุทธฎีกา, เส้น, ยงเขา, ยุ้งข้าว, ปีระกา, ตำลึง,มหหุรดี, ใบเหยียบย่ำ, รูปมหาสวามีอนุราช, รูปมหาพุทธสาคร, หา, หัวนอน, ไร่, ผลอานิสงส์, เกล้า, ผม, โอฆสงสาร, อำนาจพยาธิ, อาพาธอันตราย, อายุ, นิพพาน, ปีชวด, ชวดนักษัตร, สัมฤทธิศก, ดุล, อายุ-จารึก พ.ศ. 2071, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาราม, บุคคล-นายศรีโยธา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง-ไม่ครบ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

พุทธศักราช 2071

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/228?lang=th

28

จารึกที่ศาลาเล็กวัดบวรนิเวศฯ 1

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

กล่าวถึงประวัติของศาลาเล็ก วัดบวรนิเวศว่า เดิมเป็นพลับพลาของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี หลังจากสวรรคตจึงมีการรื้อมาปลูกในวัด ริมคูด้านหน้าออกถนนพระสุเมรุ ต่อมาใน พ.ศ. 2455 จึงย้ายมาปลูกในบริเวณพระตำหนักจันทร์ โดยใช้เป็นที่สอนภาษาบาลี และกล่าวกันว่า ในขณะที่รัชกาลที่ 4 ยังครองสมณเพศ ทรงประทับเฝ้าเยี่ยมพระศรีสุริเยนทราฯ ณ พลับพลาดังกล่าว

จารึกที่ศาลาเล็กวัดบวรนิเวศฯ 1, จารึกที่ศาลาเล็กวัดบวรนิเวศฯ 1, หลักที่ 171 จารึกที่ศาลาเล็กวัดบวรนิเวศฯ, หลักที่ 171 จารึกที่ศาลาเล็กวัดบวรนิเวศฯ, ศาลาเล็ก ภายในบริเวณวัดบวรนิเวศ แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี, พระบรมราชชนนี, สมเด็จพระพันวัสสา, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 4, รัชกาลที่ 4, วชิรญาณภิกขุ, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์, พลับพลาสมเด็จพระศรีสุริเยนทรา, ศาลาเล็ก, วัดบวรนิเวศ, ถนนพระสุเมรุ, อาสนศาลา, พระตำหนักจันทร์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พลับพลาสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, บุคคล-สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี, บุคคล-สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, บุคคล-สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

ศาลาเล็ก ภายในบริเวณวัดบวรนิเวศ แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ไม่ปรากฏศักราช

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/782?lang=th

29

จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีสุทธาวาส

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ ทรงมีพระราชศรัทธาสร้างวัดรังษีสุทธาวาส โดยใช้เวลาถึง 6 ปี จึงแล้วเสร็จ ตอนท้ายกล่าวอุทิศกุศลนี้ให้แก่สรรพสัตว์ทั้งปวง

จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีสุทธาวาส, หลักที่ 137 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีฯ, หลักที่ 137 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดรังษีฯ, พุทธศักราช 2366, พุทธศักราช 2366, พ.ศ. 2366, พ.ศ. 2366, อุโบสถวัดรังษีสุทธาวาส ในวัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร. 2) แห่งราชวงศ์จักรี, พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร. 2) แห่งราชวงศ์จักรี, รัชกาลที่ 2, รัชกาลที่ 2, พุทธ, พระรัตนตรัย, ปริยัติธรรม, พุทธภูมิ, ปัจเจกภูมิ, สาวกภูมิ, วัฏสงสาร, นิพพาน, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, อรัญวาสี, คามวาสี, อุทิศ, กุศล, อนุโมทนา, การสร้างวัด, การตั้งชื่อวัด, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2366, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อน, วัตถุ-จารึกบนหินอ่อนสีขาว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมขุนอิสรานุรักษ์, บุคคล-พระมหานาค, บุคคล-พระมหาอยู่

ฝาผนังด้านหน้าของพระอุโบสถเก่า วัดรังษีสุทธาวาส ในวัดบวรนิเวศวิหาร แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2366

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/754?lang=th

30

จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 2

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

(1) ระบุวันเวลาที่เริ่มสร้างวัดใน พ.ศ. 2419 และวันเวลาที่สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2421
(2) การหล่อพระพุทธนฤมลธรรโมภาสเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2420, การสร้างรูปพระมหาสาวก, การสร้างพระไตรปิฎกและการเชิญมาจากกรุงเทพ พร้อมกับพระสงฆ์วัดราชประดิษฐ์ 8 รูปโดยเรือกลไฟ
(3) กล่าวถึงรายละเอียดในพิธีการผูกพัทธสีมาและการเฉลิมฉลอง
(4) ตอนท้าย รัชกาลที่ 5 ทรงกล่าวอุทิศพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระเจ้าแผ่นดินสยามทุกพระองค์ รวมถึงผู้ที่ได้อ่านจารึกนี้ ทั้งมนุษย์และเทวดา ขอให้ได้ถึงแก่นิพพาน สำหรับพระองค์เองทรงระบุว่า ไม่ทรงปรารถนาเฉพาะพุทธภูมิ แต่ขอให้ได้สรรพสมบัติความบริบูรณ์ด้วยคุณธรรม ที่จะช่วยให้พ้นจากสงสารทุกข์ทั้งปวง

จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 2, จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 2, อย. 48, หลักที่ 186 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 48, หลักที่ 186 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธศักราช 2421, พุทธศักราช 2421, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2421, หินอ่อน สีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระเจ้าปราสาททอง, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวิริยาลงกรณ์, วัดนิเวศธรรมประวัติ, วัดราชประดิษฐสถิยมหาสีมาราม, พุทธศาสนา, ธรรมยุติกนิกาย, สถาปนาพระพุทธรูป, การสร้างพระพุทธรูป, การหล่อพระพุทธรูป, พระพุทธนฤมลธรรโมภาส, มหาสาวก, เรือกลไฟ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2421

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1139?lang=th

31

จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 1

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

พ.ศ. 2421 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้พระศรีสุนทรโวหาร เจ้ากรมพระอาลักษณ์ จารึกประวัติการสร้างวัดนิเวศธรรมประวัติ เพื่อติดไว้ในพระอุโบสถด้านขวา-ซ้าย ด้านละ 1 แผ่น โดยมีเนื้อความต่อเนื่องกัน จารึกหลักนี้กล่าวย้อนถึงเหตุการณ์สมัยประเจ้าปราสาททอง ในสมัยอยุธยา และการปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นจึงกล่าวถึงประวัติวัดนิเวศธรรมประวัติตั้งแต่มูลเหตุการสร้าง, ฤกษ์การก่อพระอุโบสถใน พ.ศ. 2420, รายละเอียดเกี่ยวกับสถาปัตกรรมภายในวัด, การเสด็จพระราชดำเนินมาบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ, การปลูกต้นพระมหาโพธิ รวมถึงการโปรดให้หล่อพระพุทธรูปคันธารราษฎร์ใน พ.ศ. 2421

จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 1, จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ 1, อย. 47, หลักที่ 180 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, อย. 47, หลักที่ 180 จารึกที่ผนังพระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ, พ.ศ. 2421, พ.ศ. 2421, หินอ่อนสีขาว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, รัชกาลที่ 5, ร. 5, จักรี, รัตนโกสินทร์, พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 5, ร. 5, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร. 4, พระเจ้าปราสาททอง, พระศรีสรรเพชญ์ที่ 5, พระศรีสุนทรโวหาร, เจ้ากรมพระอาลักษณ์, รัชกาลที่ 4, ร. 4, วัดนิเวศธรรมประวัติ, พุทธ, ธรรมยุติกนิกาย, การสร้างวัด, สถาปนาวัด, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พระอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2421

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1137?lang=th

32

จารึกฐานพระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา

ไทยสุโขทัย

แม่ศรีมหาตา สร้างพระพุทธรูป แล้วตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ขอให้ได้เป็นศิษย์แห่งพระศรีอาริยโพธิสัตว์

จารึกฐานพระพุทะรูปแม่ศรีมหาตา, กท. องค์ที่ 26, กท. องค์ที่ 26, จารึกบนฐานพระพุทธรูปที่กุฏิคณะ 15, จารึกบนฐานพระพุทธรูปที่กุฏิคณะ 15, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, กุฏิ น. คณะ 15, คณะ 15, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าแม่ศรีมหาตา, พระองค์เจ้าอยู่หัว, แม่พระพิลก, แม่ศรี, พระเจ้า, ศิษย์, พระศรีอาริย์โพธิสัตว์เจ้า, ข้าพระ, โสกโขไท, สุโขทัย, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, จังหัน, เบี้ย, ศอก, คืบ, นิ้ว, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-แม่ศรีมหาตา

กุฏิ น. คณะ 15 วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 20

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/101?lang=th

33

จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง

ไทยสุโขทัย

ผ้าขาวทอง (หมายถึงชีปะขาว) สร้างพระพุทธรูปเมื่อปี พ.ศ. 1965

จารึกฐานพระพุทธรูปผ้าขาวทอง, กท. องค์ที่ 16, กท. องค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 16, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, ไทย, สุโขทัย, ผ้าขาวทอง, ชีปะขาว, พระแม่มูยเมีย, ยงลูก, ข้าพระ, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, จารึกสมัยสุโขทัย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ผ้าขาวทอง

ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1965

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/80?lang=th

34

จารึกฐานพระพุทธรูปนายทิตไส

ไทยสุโขทัย

กล่าวถึง 2 พ่อลูก คือ นายทิตไส และนางทองแก้ว ผู้สร้างพระพุทธรูป

จารึกฐานพระพุทธรูปนายทิตไส, กท. องค์ที่ 15, กท. องค์ที่ 15, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 15 ในวิหารคด, จารึกบนฐานพระพุทธรูปองค์ที่ 15 ในวิหารคด, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, พ.ศ. 1965, พุทธศักราช 1965, โลหะ, ฐานพระพุทธรูป, พระระเบียงวิหารคด, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, กรุงเทพมหานคร, สุโขทัย, นายทิตไส, นายทิดไส, นางทองแก้ว, ข้าพระ, พระเจ้า, สังคโลก, สวรรคโลก, พุทธศาสนา, การถวายข้าพระ, จังหัน, โพธิสมภาร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1965, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล), วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นายทิตไส, บุคคล-นางทองแก้ว, ไม่มีรูป

ในพระระเบียงวิหารคด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 1965

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/78?lang=th