ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 17
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 (พ.ศ.1601-1700) พบอักษรขอมโบราณ อักษรมอญโบราณเป็นส่วนใหญ่ ส่วนอักษรจีนพบที่จารึกที่เหรียญเงินเท่านั้น
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกแม่หินบดเวียงมะโน |
มอญโบราณ |
การสร้างพระพุทธรูปอุทิศแด่บุคคลต่างๆ โดยมีการระบุพระนามเช่น ปุกกะ? (เทิม มีเต็ม พ.ศ. 2529) หรือ สุกกมาล? (A.B. Griswold และประเสริฐ ณ นคร พ.ศ. 2514) พระเจ้าอัทธราช, มังธนราชนรทร (มังธนราชนรธร) เป็นต้น |
ชม. 45 จารึกแม่หินบดเวียงมะโน, ชม. 45 จารึกแม่หินบดเวียงมะโน, ชม. 45, ชม. 45, An Inscription in Old Mon from Wieng Mano in Chieng Mai Province, หินชนวน, แม่หินบด, เวียงมะโน, ตำบลหนองตอง, อำเภอหางดง, จังหวัดเชียงใหม่, หริภุญไชย, โม่นญะอิมุ่น, ท่านปุกกะ, สุกกมาล, เจ้าพ่อปู่อัทธราช, พระอัยกาอัธราช, มังธนราชนรทร, มังธนราชนรธร, กาล, มิ่นลาย, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, กาล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Alexander Brown Griswold, Prasert na Nagara, The Journal of the Siam Society LIX, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแม่หินบด, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-โม่นญะอิมุ่น, บุคคล-ปุกกะ, บุคคล-สุกกมาล, บุคคล-พระเจ้าอัทธราช, บุคคล-มังธนราชนรทร |
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญโบราณ,พม่าโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/551?lang=th |
2 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 7 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “เจ่งโห้” ของแผ่นดินซ้องฮุ่ยจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 7, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 7, พ.ศ. 1654, พุทธศักราช 1654, พ.ศ. 1654, พุทธศักราช 1654, พ.ศ. 1658, พุทธศักราช 1658, พ.ศ. 1658, พุทธศักราช 1658, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องฮุ่ยจง. เจ่งโฮ่, นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
สถาบันทักษิณคดีศึกษา ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศักราช 1654-1658 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2525?lang=th |
3 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 6 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “ง่วนห้อง” ของแผ่นดินซ้องซิ่นจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 6, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 6, พ.ศ. 1621, พุทธศักราช 1621, พ.ศ. 1621, พุทธศักราช 1621, พ.ศ. 1628, พุทธศักราช 1628, พ.ศ. 1628, พุทธศักราช 1628, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องซิ่นจง, ง่วนห้อง, นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
สถาบันทักษิณคดีศึกษา ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศักราช 1621-1628 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2523?lang=th |
4 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 5 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “ฮี่เล่ง” ของแผ่นดินซ้องซิ่นจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 5, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 5, พ.ศ. 1611, พุทธศักราช 1611, พ.ศ. 1611, พุทธศักราช 1611, พ.ศ. 1620, พุทธศักราช 1620, พ.ศ. 1620, พุทธศักราช 1620, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องซิ่นจง, ฮี่เล่ง, นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
สถาบันทักษิณคดีศึกษา ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศักราช 1611-1620 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2521?lang=th |
5 |
จารึกอาณาจักรปุนไชย |
มอญโบราณ |
เนื้อหาที่แปลโดย ศ. โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และ ศ. ชาร์ลส์ อ๊อตโต บล็ากเด็น (พ.ศ. 2473) กับ จำปา เยื้องเจริญ และเทิม มีเต็ม (พ.ศ. 2533) นั้นมีรายละเอียดที่ค่อนข้างแตกต่างกัน แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ การกล่าวถึงกษัตริย์ผู้ครองหริภุญชัย และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา |
จารึกอาณาจักรปุนไชย (วัดกู่กุด), ลพ. 5, ลพ./5, พช. 31, 359, ลพ. 5, ลพ./5, พช. 31, 359, วัดกู่กุฎหรือจามเทวี หลักที่ 2, วัดกู่กุฎหรือจามเทวี หลักที่ 2, Vat Kukut II, Wat Kukut II, หินทราย, ใบเสมา, วัดจามเทวี, วัดกู่กุด, วัดสันมหาพน, จังหวัดลำพูน, หริภุญไชย, ปุนไชย, ตชุ, กษัตริย์แห่งหริภุญไชย, นักปราชญ์, คณะสงฆ์, พระสงฆ์, ประเทศปุนไชย, ห้องประชุม, พนัง, ตรัม, เมืองหริภุญไชย, แม่น้ำ, คลอง, พุทธศาสนา, การสร้างที่สรงน้ำของพระสงฆ์, เจดีย์, จักก์นรสิง, การสร้างที่สรงน้ำของพระ, การสร้างที่อาบน้ำของพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Robert Halliday, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXX, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, โบราณคดี, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17-18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/569?lang=th |
6 |
จารึกสำนักนางขาว |
ขอมโบราณ |
เนื้อหาในจารึกได้กล่าวว่า พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 หรือพระบาทบรมไกวัลยบท (พ.ศ. 1623-1650) มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้บรรดาข้าราชการผู้มีนามว่า ราชปติวรมัน ซึ่งเป็นนามซ้ำกันทั้ง 3 คนนี้ จารึกสุพรรณบัตร เพื่อนำไปเก็บรักษาไว้ในกัมรเตงชคตหรือเทวสถาน |
จารึกสำนักนางขาว, ศิลาจารึกศาลานางขาว, ขก. 12, ขก. 12, ขก./13, ขก./13, Stele de Nadun, Inscription provement de Samnak Nang Khaw Nadun, Mahasarakham, K. 1094, K. 1094, ศิลาจารึกมรตาญศรีราชปติวรมัน, ศิลา, ประเภทหินทราย, อำเภอนาดูน, จังหวัดมหาสารคาม, ขอมสมัยพระนคร, มรตาญศรีราชปติวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีราชปติวรมัน, พระบาทกัมรเตงอัญศรี, พระบาทบรมไกวัลยบท, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, ชัยวรมันเทวะ, สุพรรณบัตร, กัมรเตงชคต, นวพรรณ ภัทรมูล, ประยูร ไพบูลย์สุวรรณ, โบราณวัตถุสถานในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดใกล้เคียง, อำไพ คำโท, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, นัยนา โปร่งธุระ, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 3 คุรุรำลึก, Naiyana Prongthura, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 3 คุรุรำลึก, Saveros Pou, สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, นำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, บุคคล-ราชปติวรมัน, บุคคล-พระบาทบรมไกวัลยบท, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 6 กุมภาพันธ์ 2563) |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/414?lang=th |
7 |
จารึกสร้างเทวรูป |
ขอมโบราณ |
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ทรงสร้างพระเทวรูปเพื่อประดิษฐานในที่ต่างๆ หลายองค์ เช่น ทรงสร้างพระศิวลึงค์ พระภควดีมหิษาสุรมรรทนี และพระวิษณุ ประดิษฐานที่เชิงเปรียล ณ กุฏิเวศวราศรม ทรงสร้างพระสังกรนารายณ์ ประดิษฐานในพระปรางค์ และทรงสร้างพระวิษณุ พระภควดีศรี ประดิษฐานที่โคกขนบเอสะ เป็นต้น จากนั้นจารึกได้กล่าวถึงการถวายที่ดิน การสร้างอาศรม การถวายทาส และถวายสิ่งของต่างๆ จำนวนมาก |
จารึกสร้างเทวรูป, Stele de Wat Phu, กท. 55, กท. 55, K. 366, K. 366, พ.ศ. 1682, ม.ศ. 1061, พุทธศักราช 1682, มหาศักราช 1061, พ.ศ. 1682, ม.ศ. 1061, พุทธศักราช 1682, มหาศักราช 1061, ศิลา, แท่งสี่เหลี่ยม, ขอมสมัยพระนคร, พระวิษณุ, พระพิฆเนศ, กัมรเตงชคต, พระศิวลึงค์, พระภควดีมหิษาสุรมรรทนี, พระศังกรนารายณ์, พระศรีคุรุ , พระภควดีศรี, พระศักติ, พระจรุ, กันโลง, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, ครู, นักเรียน, ดาบส, พระบาทกัมรเตงอัญศรีสูรยวรมันเทวะ, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, โลญ, เดง, ไต, สิยศ, พระกัมรเตงอัญ, เสนาบดี, พระสภา, โขลญวิษัย, จังวาด, สันเดก, สำเดงภัทร, โอส, ทัตต์, สุก, เพ, จาส, พระ, ธน, ธัน, เดง, เตง, ตี, ผะอวน, ถิ, สำราด, ดวนสิ, สาน, อานุช, ราวัท, จาน, วารโวต, กำพีช, ภาคย์, รำเจียก, เสาเขมร, อรส, อรัส, สุลัภ, กำพฤก, กำวฤก, กำพิ, กำวิ, กำพิง, กำวิง, กันสุก, สวัสดี, กำพุด, เกษม, ชีพ, กันเส, กันสอ, เดิมทะนง, กำเม, พฤก, วฤก, ภา, กันธน, กันธัน, วรขนายเกวน, สำปุ, สงวน, ช้าง, เชิงเปรียล, ดอกไม้, เครื่องกระยา, น้ำสรง, ถาดมีขา, สงกรานต์, เงิน, ไห, ขัน, ทองเหลือง, ทละ, กทะ, ไห, หม้อ, อรฆยะ, บาทยะ, สราวนะ, จรุ, ศรูจิ, ทรรพี, สำริด, สัมฤทธิ์, เพชร, วงกม, จรา, ธูป, ที่ดิน, ศิลา, ขนบเอสะ, พราหมณ์, ฮินดู, กัมรเตงชคตศรีภัทเรศวร, กุฏิภเวศวราศรม, อาศรม, การสร้างเทวรูป, กัลปนา, สถาปนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1682, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564) |
พุทธศักราช 1682 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/435?lang=th |
8 |
จารึกวัดแสนข้าวห่อ (ตะจุ๊มหาเถร) |
มอญโบราณ |
ตชุมหาเถรแห่งเมืองหริภุญไชย ได้สร้างสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูป 10 องค์ ปลูกต้นมหาโพธิ์ และต้นมะพร้าว สร้างฉัตร ยอดพระไตรปิฎก คัมภีร์พระปริตต์ พร้อมที่เก็บคัมภีร์ รวมทั้งสร้างกำแพงและถวายวัว 1 คู่ |
จารึกวัดแสนข้าวห่อ (ตะจุ๊มหาเถร), ลพ. 7, พช. 28, 355, ลพ. 7, พช. 28, 355, จารึกตะจุ๊มหาเถร (วัดแสนข้าวห่อ), Vat Sen Khao Ho, Wat Sen Khao Ho, หินทรายลักษณะ, ใบเสมา, วัดแสนข้าวห่อ, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, หริภุญไชย, ตชุมหาเถร, ตะจุ๊มหาเถร, ตชุตระละรัสส, ต้นมะพร้าว, ต้นโพธิ์, ต้นมหา, วัว, โค, ฉัตร, เครื่องประดับ, สโลปป์, ตะกร้า, ดอกไม้, หริภุญเชยยมหานคร, เมืองหริภุญชัย, พุทธศาสนา, มหาวัลล์,วัดมหาวัน, คูหา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การสร้างฉัตร, การขุดกรุ, การถวายพนัง, การบรรจุอัฐิบรรพบุรุษ, การสร้างศาลา, คัมภีร์พระปริตต์, ยอดพระไตรปิฎก, ห้อง, กำแพง, แผ่นดิน, รียบเรียงข้อมูลโดย : พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, George Cœdès, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXV, Robert Halliday, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXX, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, โบราณคดี, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างฉัตร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปลูกพระศรีมหาโพธิ, บุคคล-ตชุมหาเถร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/564?lang=th |
9 |
จารึกวัดมหาวัน (ลำพูน) |
มอญโบราณ |
(1) ข้อความเริ่มต้นกล่าวถึง ความสัตย์ที่แท้จริง คือ จรมตฺต ในผลงานของท่าน (กษัตริย์) ผู้บำเพ็ญ พระราชกุศลในพระพุทธศาสนา |
จารึกวัดมหาวัน, ลพ. 3, ลพ./3, พช. 24, 356, ลพ. 3, ลพ./3, พช. 24, 356, ศิลาจารึกมอญ วัดมหาวัน, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดมหาวัน, จังหวัดลำพูน, หริภุญไชย, พิสสุกรร, นายช่าง, ทาส, ตระลาว, ตระลาจ, พระพุทธเจ้า, เงิน, กษรร, กษาร, บาร, ทองแดง, สัมฤทธิ์, สำริด, งาช้าง, ศิลา, ของถวาย, พุทธศาสนา, เจดีย์, การสร้างเจดีย์, กัลปนา, การถวายข้าพระ, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, การบำเพ็ญกุศล, เจดีย์, เดือนไจตระ, บาท, ไพ, กรุ, เสา, ตปาล, กลทิง, กยาก, พระพุทธรูป, มเรงกษัย, ที่ดิน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, Robert Halliday, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, โบราณคดี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างฉัตร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/573?lang=th |
10 |
จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงการแบ่งเขตการปกครองที่ดินแก่หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน |
จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม, สน. 2, สน. 2, Piedroit de Sakon Lakon, K. 369, ศิลา, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, กรอบประตูทางเข้าอุโมงค์วัดพระธาตุเชิงชุม, วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร (พระธาตุเชิงชุม) ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร, โลญ, ขโลญพล, หัวหน้าหมู่บ้าน, กำเสตง, วัว, ข้าวเปลือก หมู่บ้านชระเลง, หมู่บ้านพะนุรพิเนา, การถวายทาส, การถวายสิ่งของ, กัลปนา, วันอังคาร, หลักเขต, มัทยนักษัตร, วันอาทิตย์, ที่นา, สงกรานต์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร สกลนคร, เรื่อง-การปักปันเขตแดน |
วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร (พระธาตุเชิงชุม) ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สำรวจข้อมูล 19 ธันวาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/433?lang=th |
11 |
จารึกวัดบ้านหลวย |
มอญโบราณ |
กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลในพุทธศาสนา เช่น การอุทิศข้าพระสำหรับบำรุงรักษาวัดและสระน้ำ การถวายสิ่งของต่างๆ เช่นหม้อน้ำ, ฉัตรและเครื่องใช้ต่างๆ รวมทั้งกล่าวถึงผู้สร้างเจดีย์และคูหา |
จารึกวัดบ้านหลวย, ศิลาจารึกวัดบ้านหลวย, จารึกวัดบ้านหลุย, Vat Ban Hlui, Wat Ban Hlui, ลพ. 6, ลพ./6, พช. 29, 357, ลพ. 6, ลพ./6, พช. 29, 357, พ.ศ. 1628, พุทธศักราช 1628, พ.ศ. 1628, พุทธศักราช 1628, หินทราย, ใบเสมา, วัดบ้านหลวย, ตำบลในเมือง, จังหวัดลำพูน, หริภุญไชย, อาวุธ, ทอง, ข้าวเปลือก, ตะกร้า, คนโท, เครื่องประดับ, กลฑิง, ตสาย, โตรง, อทาย, ทองแดง, กระบุง, หม้อน้ำ, ฉัตร, สระน้ำ, พุทธศาสนา, เชตวนาลัย, วัดเชตวัน, เจดีย์, คูหา, การถวายข้าพระ, การสร้างเจดีย์, การสร้างคูหา, การสร้างกรุ, การถวายสิ่งของ, กัลปนา, การบำเพ็ญกุศล, พระรัตนตรัย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Robert Halliday, Les Inscription Môn Du Siam, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, โบราณคดี, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/566?lang=th |
12 |
จารึกวัดถ้ำพระ |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงครูโสมังคลาจารย์ว่าท่านเองเป็นผู้ทำจารึกประกาศไว้ภายในถ้ำ |
จารึกวัดถ้ำพระ, สน. 5, สน. 5, พ.ศ. 1609, ม.ศ. 988, พ.ศ. 1609, ม.ศ. 988, พุทธศักราช 1609, มหาศักราช 988, พุทธศักราช 1609, มหาศักราช 988, ศิลา, ผนังถ้ำ, เพิงผาหิน, เทือกเขาภูพาน, วัดถ้ำพระ, บ้านหนองสระใน, ตำบลนาม่วง, อำเถอกุดบาก, จังหวัดสกลนคร, ตำบลนาม่อง, ขอมสมัยพระนคร, ท่านครูโสมังคลาจารย์, ท่านครูโสมังคลอาจารย์, วิตาน, เพดาน, พุทธศาสนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, ประกาศ, วันจันทร์, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1609, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนผนังถ้ำ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดถ้ำพระ สกลนคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-ครูโสมังคลาจารย์ |
เพิงผาหิน บนเทือกเขาภูพาน วัดถ้ำพระ บ้านหนองสะใน ตำบลนาม่อง (ข้อมูลเดิมว่า ตำบลนาม่วง) อำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร (สำรวจ 20 ธันวาคม 2563) |
พุทธศักราช 1609 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/503?lang=th |
13 |
จารึกวัดดอนแก้ว |
มอญโบราณ |
กล่าวถึงการสร้างเจดีย์และผูกพัทธสีมาซึ่งมีการบรรจุทองคำ จำนวน 13 อัว |
จารึกวัดดอนแก้ว, ลพ./4, พช. 25, 358, ลพ./4, พช. 25, 358, ลพ. 4, ศิลาจารึกวัดดอนแก้ว, หินทราย, ใบเสมา, วัดดอนแก้ว, จังหวัดลำพูน, ตำบลศรีบัวบาน, ทองคำ, หริภุญไชย, พุทธศาสนา, การสร้างเจดีย์, การผูกพัทธสีมา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระเจดีย์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/571?lang=th |
14 |
จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 2 |
มอญโบราณ |
จารึกชำรุด พบเพียงอักษร ‘ย’, ‘ล’ และ ‘ร’ |
จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 2, จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 2, ชม. 58, ชม. 58, พุทธศตวรรษ 17, พุทธศตวรรษ 17, โบราณสถานเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ไม่มีรูป |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17805?lang=th |
15 |
จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 1 |
มอญโบราณ |
จารึกชำรุด พบเพียงอักษร ‘ส’, เครื่องหมายวิราม และเครื่องหมายจบประโยค |
จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 1, จารึกวัดกานโถมเวียงกุมกาม 1, ชม. 57, ชม. 57, พุทธศตวรรษ 17, พุทธศตวรรษ 17, โบราณสถานเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 17 |
มอญ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17803?lang=th |
16 |
จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด) |
มอญโบราณ |
พระเจ้าสววาธิสิทธิโปรดให้มีการปฏิสังขรณ์พระรัตนเจดีย์ซึ่งพังทลายลงมาเนื่องจากแผ่นดินไหว มีการกล่าวถึงการสร้างบ่อน้ำในอารามโดยพระราชมารดา การถวายข้าพระ กัลปนาที่ดิน และสิ่งของต่างๆ อนึ่ง เจดีย์ดังกล่าวอยู่ในบริเวณวัดจามเทวี จังหวัดลำพูนในปัจจุบัน ในบริเวณวัดแห่งนี้มีสถาปัตยกรรมสมัยหริภุญไชย 2 แห่งได้แก่ (1) รัตนเจดีย์ คือเจดีย์ ทรงปราสาท 8 เหลี่ยม ก่อด้วยอิฐ มีพระพุทธรูปยืนประดิษฐานอยู่ในซุ้มจระนำ (2) กู่กุด หรือ กู่กุฏิ คือเจดีย์ทรงปราสาท 4 เหลี่ยมซ้อนชั้น ลดหลั่นกัน 5 ชั้น ทุกชั้น มีพระพุทธรูปยืน ปางประทานอภัยประดิษฐานอยู่ในซุ้มจระนำ ด้านละ 3 องค์ รวม 60 องค์ บริเวณมุมประดับด้วยเจดีย์จำลอง (สถูปิกะ) ชื่อเจดีย์องค์นี้มีการสะกดแตกต่างกันไป โดย “กู่กุด“ หมายถึง เจดีย์ที่ไม่มียอด เหมือนรูปทรงของเจดีย์ดังกล่าวซึ่งยอดหักหายไปส่วน “กู่กุฏ” หมายถึง เจดีย์ที่มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูป เจดีย์ทั้งสองมีรูปแบบที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลศิลปะทวารวดี และพุกาม |
จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด), จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด), ลพ. 2, ลพ./2, พช. 21, 354, ลพ. 2, ลพ./2, พช. 21, 354, ลพ. 2, ลพ./2, พช. 21, 354, จารึกวัดกู่กุฏหรือจามเทวี, ศิลาจารึกมอญวัดกู่กุด หรือวัดจามเทวี, หินทราย, รูปใบเสมา, ฐานพระเจดีย์ด้านทิศตะวันออกของวัดจามเทวีหรือกู่กุด (วัดสันมหาพน) จังหวัดลำพูน, หริภุญไชย, พระเจ้าสววาธิสิทธิ, สัพพาธิสิทธิ, ชนชาวมอญ, นวางค์, เจ้าปู่, เจ้าลุย, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, บรรพบุรุษ, พ่อ, แม่, สงฆ์, ทาสชาย, ทาสหญิง, ญุมปลัง, ญุมสุททะ, พระราชบิดา, พระอัยกา, นายช่างเถร, นายช่างสุทสี, นายช่างสิก, ทองคำ, เงิน, ข้าวเปลือก, ทองแดง, ตะกร้า, สุลุงตาร์ที่สปริป, โพรง, ตริจ, ตรัลัยตริย, กิรกรัญ, กยากพิสุกัล, ตระลาคพิสสุ, สระพาริคุน, พุทธศาสนา, รัตนเจดีย์, กู่กุด, กู่กุฏ, กู่กุฏิ, พระเจดีย์, กัลปนา, การปฏิสังขรณ์เจดีย์, การสร้างบ่อน้ำ, การถวายที่ดิน, การถวายพนัง, แผ่นดินไหว, กำแพง, ผาติกรรม, ไพสาขะ, ไวสาขะ, สังวัจฉร, เชษฐะ, วันอาทิตย์, มงคลฤกษ์, ทรัพย์สมบัติ, สรรพมงคล, สิงกละ, ที่ดิน, ดินแดน, พนัง, นรสิงห์, บ่อน้ำ, พระพุทธรูป, เดือนไจตระ, พระจันทร์, ฤกษ์ปิ่นแก้ว, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, George Cœdès, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXV (1925), Robert Halliday, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XXX (1930), Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, โบราณคดี, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะภาคเหนือ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างบ่อน้ำ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย-พระเจ้าสววาธิสิทธิ, บุคคล-พระเจ้าสววาธิสิทธิ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
บาลี,มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/546?lang=th |
17 |
จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว) |
มอญโบราณ |
(1) พระเจ้าสววาธิสิทธิ ทรงสถาปนาวัดเชตวันเมื่อพระชนมายุได้ 26 พรรษา ต่อมา เมื่อพระชนมายุได้ 31 พรรษา โปรดให้สร้างกุฏิ และเสนาสนะแด่ภิกษุสงฆ์ อีกทั้งจารพระไตรปิฎกไว้เป็นจำนวนมาก |
จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว), จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว), ลพ. 1, ลพ./1, พช. 19, 353, ลพ. 1, ลพ./1, พช. 19, 353, จารึกจากวัดดอน, จารึกวัดเชตวัน, ศิลาจารึกเลขทะเบียน ลพ./1, ศิลาจารึกเลขทะเบียน ลพ./1, Inscription de Văt Don, Vat Don, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดดอน, วัดดอนแก้ว, เมืองลำพูน, จังหวัดลำพูน, หริภุญไชย, พระเจ้าสววาธิสิทธิ, สรรพาสิทธิ์, สัพพะสิทธิ์, พระภิกษุ, มหานาม, กัจจายะ, ราชคุรุ, ญุมสุก, ญุมเผง, ญุมอุร, ข้าพระ, คนครัว, พระราชวงศานุวงศ์, นายช่างสุก, สามเณร, พระสงฆ์, ทาสชาย, ทาสหญิง, เจ้าอาวาส, พระโอรส, พระมหาเถร, อัครเถระ, ประธานสงฆ์, พระราชอัครเถรราชคุรุ, โค, วัว, ราชครุฑ, เสนาสนะ, ทองคำ, เวียง, เชตวนาลัย, เชตวัน, สิวส์, ขินลาย, สถานเชตวัน, ปังญิต, พุทธศาสนา, โรงอุโบสถ, วัดเชตวัน, พระสถูป, เจดีย์, อุโบสถ, พระสถูปหุ้มทอง, เจดีย์ 3 องค์, เจดีย์ 3 องค์, อาราม, เจดีย์เรือนแก้ว, อุโบสถเชตวัน, การถวายที่ดิน, การถวายข้าทาส, การสร้างพนัง, การบำเพ็ญกุศล, การสร้างถาวรวัตถุ, กัลปนา, ผนวช, บวช, การจารพระไตรปิฎก, การทำบุญ, การสร้างพระเจดีย์, ทวาร, กายทวาร, วจีทวาน, มโนทวาร, ศีล, ปัจจัย, สัปปายะ, พระไตรปิฏก, พระรัตนตรัย, ทุกข์, สุข, วันอาทิตย์, เชษฐะ, มัคคสิระ, อุตรฤกษ์, ผลบุญ, พิภพ, เชฏฐคารวาร, เชฏฐะ, จิตรฤกษ์, เชสถ์, วันอังคาร, พระจันทร์, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-จารพระไตรปิฏก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาสน์สงฆ์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-อุปสมบท, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย-พระเจ้าสววาธิสิทธิ, บุคคล-พระเจ้าสววาธิสิทธิ, บุคคล-มหานาม, บุคคล-กัจจายะ, บุคคล-ราชคุรุ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
บาลี,มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/543?lang=th |
18 |
จารึกพระศรีสูรยลักษมี |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกด้านที่ 1 ชำรุดมาก พบเพียงข้อความข้างต้นที่กล่าวนมัสการเทพเจ้า ได้แก่ พระศิวะ และต่อด้วยการสรรเสริญพระเจ้าศรีสูรยวรมเทวะ ซึ่งยังไม่ทราบแน่ชัดว่าคือพระเจ้าศรีสูรยวรมันที่ 1 หรือพระเจ้าศรีสูรยวรมันที่ 2 ข้อความจารึกด้านที่ 2 กล่าวถึงประวัติและพระราชกิจของกัมรเตงอัญเทวี ศรีสูรยลักษมี ได้แก่การประดิษฐานเทวรูปและสร้างพระศิวลึงค์ไว้ในเมือง ข้อความจารึกดานที่ 3, 4 และขอบล่าง กล่าวถึงพระราชกิจของกัมรเตงอัญเทวี ศรีสูรยลักษมี ได้แก่การประดิษฐานเทวรูป สร้างพระศิวลึงค์ และประทานวัตถุสิ่งของ ข้าทาส ให้อยู่รับใช้เทวสถานในหมู่บ้านต่างๆ ที่ทรงประทานนั้นด้วย |
จารึกพระศรีสูรยลักษมี, ขก. 22, ขก. 22, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, หินทราย, รูปใบเสมา, อำเภอพล, จังหวัดขอนแก่น, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, หริเทพ, พระหริ, พระภัทเรศวร, รูปพระปฏิมา, พระศิวลึงค์, พระศิวลิงค์, พระศรีสูรยวรมเทวะ, พระเจ้าพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระศรีสูรยวรมันเทวะ, สวามีเนทรภะ, ชญานี, นักบวช, ทาส, พระนางกานติ, พราหมณ์, ศรีสูรยลักษมี, กุลิ, ไต, ปราชญ์, บัณฑิตชน, กัมรเตงอัญเทวีศรีสูรยลักษมี, โฆยศ, กษัตริย์, มหามนตรี, พระอนุชา, โหราจารย์, ประธาน, มหาอัครชายา, พระเทวี, อาจารย์, ประธารโหราจารย์, ตำรเปง, ปะโรงเฉวง, เนก, เชน, สัตลัญไช, กัญชา, กันตาล, ต้นไม้สวรรค์, ต้นกัลปพฤกษ์, ข้าวเปลือก, ข้าวสาร, กระเชอ, ลูกศร, ทรัพย์, เศรษฐปุระ, ศตคราม, เมืองกรณะ, หมู่บ้านพระสังเก, หมู่บ้านวำชุล, ไพรกันทวาร, กันทวารวนา, ถ้ำ, แหล่งน้ำ, หมู่บ้าน, สิงหลี, ตระพาง, นาต้นเปรียง, นาเตฏเกทำ, นาต้นสำโรง, นาเลวงววึม, นาลากกาง, หมู่บ้านโฉกตราจรัญกาง, สิทธิญชัย, หมู่บ้านไตถยะ, พราหมณ์, ฮินดู, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, กัลปนา, พิธีสงกรานต์, การประดิษฐานเทวรูป, ราชสมบัติ, ฤคเวท, วิทยา, พระศิวบาท, ถลวง, ศิวาสบท, วรรณะ, กฤตติกา, วันพุธ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1565, อายุ-จารึกศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระศรีสูรยลักษมี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สร้างพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระศรีสูรยลักษมี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564) |
พุทธศตวรรษ 17 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1198?lang=th |
19 |
จารึกปราสาทหินพิมาย 6 |
ขอมโบราณ |
ชิ้นที่ 1 กล่าวถึงพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ถวายสิ่งของแก่เทวสถาน ชิ้นที่ 2 เป็นรายชื่อทาสชาย ที่ถวายแก่เทวสถาน ชิ้นที่ 3 เป็นรายชื่อทาสชายและหญิงที่ถวายแก่เทวสถาน ชิ้นที่ 4 เป็นรายชื่อทาสชายหญิงและบุตรที่ถวายแก่เทวสถาน |
จารึกปราสาทหินพิมาย 6, จารึกปราสาทหินพิมาย 6, นม. 19, นม. 19, ศิลา, ปราสาทหินพิมาย, บ้านพิมาย, ตำบลในเมือง, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, ธุลีพระบาท, ธุลีเชิง, พระกัมรเตงอัญ, ไต, สิ, วิย, วิษัย, อิน, ตะปู, ตระบุ, ตรปู, ตรบุ, พร, วร, พระ, วระ, สระ, สร, เพา, จน, จัน, ใต, ไต, สิ, พรหม, เก, ชน, ชัน, ไม, รุ, อรชุน, ทอง, แหวน, เชิงเทียน, พัด, อาศรม, พระราชโองการ, นา, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
หน่วยศิลปากรที่ 6 ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/426?lang=th |
20 |
จารึกปราสาทหินพิมาย 5 |
ขอมโบราณ |
พบคำจารึกเพียงสองคำ ซึ่งไม่สามารถบอกถึงเรื่องราวใดๆ ได้เลย |
จารึกปราสาทหินพิมาย 5, จารึกปราสาทหินพิมาย 5, นม. 11, นม. 11, ศิลา, ปราสาทหินพิมาย, บ้านพิมาย, ตำบลในเมือง, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, รียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา |
หน่วยศิลปากรที่ 6 ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา |
พุทธศตวรรษ 17 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/439?lang=th |
21 |
จารึกปราสาทหินพิมาย 4 |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ แห่งเมืองโฉกวะกุล ได้สร้างรูปกมรเตงชคตเสนาบดี |
จารึกปราสาทหินพิมาย 4, จารึกปราสาทหินพิมาย 4, นม. 13, นม. 13, Nouvelles Inscriptions de Pimai, Nouvelles Inscriptions de Phimai, K. 954, หลักที่ 60 จารึกบนฐานศิลา, หลักที่ 60 จารึกบนฐานศิลา, ศิลา, ฐานปฏิมากรรมรูปสี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพิมาย, บ้านพิมาย, ตำบลในเมือง, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, ศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ, ศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, ศรีวีเรนทราธิบดีวรมะ ศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, กมรเตงชคตเสนาบดี, กัมรเตงชคตเสนาบดี สถานที่: โฉกวะกุล} การสถาปนา, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, แสง มนวิทูร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนฐานปฏิมากรรม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, บุคคล-ศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/424?lang=th |
22 |
จารึกปราสาทหินพิมาย 3 |
ขอมโบราณ |
เป็นบันทึกว่าในแต่ละปี (ตั้งแต่มหาศักราช 1030-1034) ขุนนางหรือข้าราชการคนใดถวายสิ่งใดแก่เทวสถานบ้าง สิ่งที่ถวายก็มีอาทิเช่น สิ่งของ ทาส และที่ดิน |
จารึกปราสาทหินพิมาย 3, จารึกปราสาทหินพิมาย 3, นม. 16, นม. 16, Pimai, Phimai, K. 397, จารึกหลักที่ 61 จารึกที่กรอบประตูซุ้มระเบียงคด ปราสาทหินพิมาย, จารึกหลักที่ 61 จารึกที่กรอบประตูซุ้มระเบียงคด ปราสาทหินพิมาย, พ.ศ. 1655, ม.ศ. 1034, พุทธศักราช 1655, มหาศักราช 1034, พ.ศ. 1655, ม.ศ. 1034, พุทธศักราช 1655, มหาศักราช 1034, ศิลา, สี่เหลี่ยม, พระกัมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีวรมัน, กมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกยวิชัย, กมรเตงชคตพิมาย, กมรเตงชคตวิมาย, ไต, สิ, ไตรโลกยวิชัย, เตงตวนประสาน, กมรเตงอัญศรีวีรพรม, กมรเตงอัญศรีวีรวรมัน, พระบาทกมรเตงอัญศรีธรณินทรวรมเทวะ, พระบาทกมรเตงอัญศรีธรณินทรวรมันเทวะ, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระกมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีพรม พระกมรเตงอัญศรีพีเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, พระกมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, ข้าพระ, กมรเตงอัญเสนาบดี, บันทาน, ฉเก, ปันทาน, เฉก, มูล, สิ, กำวฤก, กำพฤก, กันตู, กันดู, สมภบ, กำญาณ, ขทิง, คนธะ, คันธะ, กันสยำ, กันเสียม, กันรยยบ, กันเรียบ, อลิ, กำวาง, กำญาน, เขร์,เขทบ, ขเทบ, กันศรี, กันสด, กโญน, กำวาง, กำวฺฤก, ขฺทิง, ขทิง, สารัสวดี, กันศรี, วาม, วิงสิ่งของ: รั้ว, ที่ดิน, หิน, ตระพัง, ข้าวสารสถานที่: ตระพัง, เขวียว, ขวยว, โฉกวะกุล, ตลิ่งศาสนา: พราหมณ์, ฮินดูศาสนสถาน: ศรีวีเรนทราศรม, ศรีพีเรนทราศรม, อาศรม, สังวัจฉรปุณณมี, กัลปนา, การสถาปนา, พิธีถวายข้าพระ, เดือนยี่, วันอาทิตย์, ทิศาคเนย์, มูลนิธิ, ทิศอีศาน, ทิศทักษิณ, ทิศประจิม, ทิศหรดี, ทิศอุดร, บัญชี, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, แสง มนวิทูร, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ.1655, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
ปราสาทหินพิมาย บ้านพิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศักราช 1655 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/422?lang=th |
23 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 13 |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกชำรุด พบเพียงข้อความสรรเสริญพระศิวะในบรรทัดแรก |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 13, จารึกปราสาทหินพนมวัน 13, นม. 49, นม. 49, หินทรายสีน้ำตาล, ชิ้นส่วนชำรุด, ฐานประตูอาคารอิฐด้านทิศเหนือของประตูทางเข้าปราสาทองค์กลาง, ปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า, ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, นวพรรณ ภัทรมูล, จตุพร ศิริสัมพันธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16-17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, ไม่มีรูป |
บริเวณฐานประตูอาคารอิฐด้านทิศเหนือของประตูทางเข้าปราสาทองค์กลาง ในบริเวณปราสาทหินพนมวัน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา |
พุทธศตวรรษ 16-17 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1196?lang=th |
24 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 6 |
ขอมโบราณ |
เนื้อความมี 2 บรรทัด ข้อความขาดหายไม่สมบูรณ์ บรรทัดแรกเป็นการบอกวันเดือนปี และบรรทัดที่ 2 มีคำนำหน้าชื่อบุคคลซึ่งจะเป็นใครไม่ทราบได้ |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 6, จารึกปราสาทหินพนมวัน 6, นม. 35, นม. 35, Inscriptions de Nom Van, K. 392, ศิลา, เสาซุ้มประตูรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เสาหลืบประตูปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า, ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงซคต, กมรเตงชคต, กมรเตงซคัต, สงกรานต์, วันเสาร์, เดือนอ้าย, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสาซุ้มประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา |
กรอบประตูชั้นนอก ด้านใต้ ปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/420?lang=th |
25 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 5 |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงบุคคลผู้หนึ่งที่ประกาศความมุ่งหมายของตนเองและวงศ์ตระกูล ที่ได้ปฎิบัติดูแลเทวาลัย อีกทั้งแสดงความหวังว่าวงศ์ตระกูลของตน และผู้ที่มีความประพฤติดี จะได้รับแต่ความเจริญรุ่งเรืองในภายภาคหน้า ตอนท้ายของจารึกมีการสาปแช่งบุคคลที่มาทำลายเทวาลัยแห่งนี้ ให้ตกนรกถึง 32 ขุม |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 5, จารึกปราสาทหินพนมวัน 5, นม. 34, นม. 34, Piedroits de Nom Van (K. 393), ศิลา, เสาซุ้มประตูรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เสาหลืบประตูปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า, ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระเกส, คนวิกลจริต, คนโลภ, สุลักษ์ กำมรเตงสุขาลัย, หัวหน้าหมู่บ้าน, พระกลาศ, โขลญ, นรก, วีรคราม, ตระพาง, ตระวาง, พระทำนบ, หมู่บ้าน, สุขาวาส, สกุล, สัญญา, ขยอล, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ยอร์ช เซเดส์, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง |
ประตูตะวันออกปราสาทประธานปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/494?lang=th |
26 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 4 |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงจำนวนสิ่งของและสัตว์ที่ถวาย |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 4, จารึกปราสาทหินพนมวัน 4, นม. 5, นม. 5, Inscriptions de Nom Van, K. 391, พ.ศ. 1625, พ.ศ. 1625, ม.ศ. 1004, ม.ศ. 1004, พุทธศักราช 1625, พุทธศักราช 1625, มหาศักราช 1004, มหาศักราช 1004, ศิลา, หลืบประตูรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ปราสาทหินวัดพนมวัน, ปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, ม้า, ข้าวสาร, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนขอบบานประตู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
ประตูด้านใต้ ปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศักราช 1625 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/418?lang=th |
27 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 3 |
ขอมโบราณ |
ในมหาศักราช 1004 พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ทรงมีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้บรรดาพระกัมรเตงอัญคนอื่นๆ ช่วยกันดูแลอาศรม และให้ถวายสิ่งของแก่กมรเตงชคตเป็นประจำ นอกจากนี้ยังทรงถวายทาสและสิ่งของอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะพวกทาสนั้น ทรงมีพระบรมราชโองการห้ามอยู่ใต้บังคับบัญชาของผู้ใด และทรงห้ามพวกทาสเหล่านี้ทำพิธีกรรมอื่นๆ อีกด้วย |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 3, จารึกปราสาทหินพนมวัน 3, นม. 1, นม. 1, Inscription de Nom Van, K. 391, พ.ศ. 1625, พ.ศ. 1625, ม.ศ. 1004, ม.ศ. 1004, พุทธศักราช 1625, พุทธศักราช 1625, มหาศักราช 1004, มหาศักราช 1004, ศิลา, หลืบประตู, รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ปราสาทหินวัดพนมวัน, ปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญลักษมีนทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญภูเบนทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญภูเปนทรวรมัน, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมันเทพ, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระกัมรเตงอัญราเชนทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญตระพังตันโนต, พระกัมรเตงอัญตระพังตันโนด, พระกัมรเตงอัญกวีนทราลัย, พระกัมรเตงอัญโยคีศวรบัณฑิต, พระกัมรเตงอัญวาคินทรบัณฑิต, พระกัมรเตงอัญศิวคุปต, พระกัมรเตงอัญนิรวาณ, หมู, ทอง, เงิน, ผชุ, อวร, เสื้อผ้า, เครื่องหอม, จุมพุ, ดอกไม้, เนยเหลว, นมเปรี้ยว, น้ำผึ้ง, น้ำผลไม้, ข้าวสาร, โขลญ, มุขดำรวจพล, พระสภาบดี, โขลญพล, พระบัญชี, ขุนพล, ประธานผู้พิพากษา, ปุโรหิต, รัตนภูมิ, รัตนปุระ, เทวาศรม, อาศรม, ตระพังตันโนด, การสังเวย, วันเพ็ญ, พระจันทร์, กฤติกา, วันศุกร์, กองทัพกลาง, ฉางข้าว, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, อายุ-จารึก พ.ศ. 1625, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลืบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ |
ประตูด้านใต้ ปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศักราช 1625 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/416?lang=th |
28 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 8 |
ขอมโบราณ |
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ทรงสร้างสระศรีสูรยะ พร้อมทั้งเทวรูปศิวนาฏราช พระนารายณ์ พระลักษมีฤตะ พระมธุสูทนะ และพระเทวี |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 8, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 8, บร. 14, บร. 14, ศิลา, รูปใบเสมา, ปราสาทหินพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, พราหมณ์, พระศิวะ, พระลักษมีฤตะ, ศิวนาฏราช, พระศิวลึงค์, พระศิวลิงค์, ลิงคะ, พระมธุสูทนะ, พระเทวี, พระอุมา, พระวิษณุ, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, ศราขยะ, พระวฤษธวชะ, ดาบส, โยคี, ศกุนตลา, กัณวะฤษี, พราหมณ์, สหาย, พระราชา, ปราชญ์, ข้าทาสคนใช้, จอมโยคี, ธิดา, โค, วัว, จันทน์แดง, กานพลู, ผ้ากัมพล, เสื้อคลุม, ทรัพย์, ของหอม, การบูร, ไม้จันทน์, ข้าว, ยุ้งฉาง, เครื่องเทศ, พริกไทย, ข้าวเปลือก, น้ำผึ้ง, บัลลังก์, มุก, ทองคำ, ขุมทรัพย์, เครื่องสังเวย, เครื่องบวงสรวง, สระน้ำศรีสูรยะ, เชิงเขาจขานะ, ห้องโถง, ตำบล, เทือกเขาใหญ่, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, บุญ, ศิวบาท, บัลลังก์, ทาน, แผ่นดิน, ธรรม, ท่าฟ้อนรำ, ที่ดิน, ที่นา, สกุล, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ขุดสระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 17 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/496?lang=th |
29 |
จารึกปราสาททัพเสียม 2 |
ขอมโบราณ |
ข้อความในจารึกกล่าวสรรเสริญพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 2 ว่าทรงเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งหลาย พระองค์ทรงสร้างพระศิวลึงค์ เทวรูป (พระศิวะ) และพระเทวีไว้บนภูเขา |
จารึกปราสาททัพเสียม 2, จารึกปราสาททัพเสียม 2, ปจ. 8, ปจ. 8, Piedroits de Prasat Tap Siem, K. 234, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตู ปราสาททัพเสียม อ. อรัญประเทศ จ. ปราจีนบุรี, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตู ปราสาททัพเสียม อ. อรัญประเทศ จ. ปราจีนบุรี, ศิลา, หลืบประตูรูปสี่เหลี่ยม, ปราสาททัพเสียม, อำเภออรัญประเทศ, สระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอัคนี, พระจันทร์, พระอาทิตย์, กามเทพ, พระเทวี, พระอิศวร, พระลักษมี, พระหริเทวรูป: พระศิวลึงค์, รูปพระศิวะ, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, ศรีสูรยวรมัน, ศรีสูรยะ, ศรีสมร, พระเจ้าวีรวรมัน, ศรีธรณีนทรวรมัน, ธรณีนทรวรมัน, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, ปราชญ์, อาจารย์, พระราชา, พระเชษฐา, กษัตริย์, โอรส, พระมเหสี, พระมเหษี, พระภคินี, อนุชา, พระยาเนื้อ, เนื้อ, กวาง, งูสิ่งของ: มาลี, สีวิกา, สีพิกา, ยาน, ทรัพย์, ดาวทองคำ, น้ำโสม, อุบล, เครื่องประดับ, ประตู, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกายสถานที่: สวรรค์, ภูเขา, การบูชายัญอื่นๆ: ทิพยศักดิ์, มฤตยู, อสูร, รัศมี, เปลวไฟ, พระจันทร์, พระอาทิตย์, คลื่น, แสงไฟ, ท้องฟ้า, น้ำ, วาจา, อมร, เนตร, เดช, ไฟบูชายัญ, โทษ, ปฐพี, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลืบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์, เรื่อง-กษัตริย์และผู้8รองนคร, เรื่อง-กษัตริย์และผู้นครองนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, เรื่อง-การสรรเสริญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-การสร้างศิวลึงค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 17 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/412?lang=th |
30 |
จารึกปราสาททัพเสียม 1 |
ขอมโบราณ |
เป็นรายนามของทาส จำนวนของสิ่งของ และอาณาเขตของที่ดินที่ถวายแด่เทวรูป |
จารึกปราสาททัพเสียม 1, จารึกปราสาททัพเสียม 1, ปจ. 7, ปจ. 7, Piedroits de Prasat Tap Siem, K. 234, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตูที่ปราสาททัพเสียม อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี, หลักที่ 125 จารึกบนหลืบประตูที่ปราสาททัพเสียม อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี, ศิลา, หลืบประตูรูปสี่เหลี่ยม, ปราสาททัพเสียม, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงค์, โฆ, ไต, กำเพรา, กำเวรา, ภัทร, ภัทระ, กันเทส, กำบิด, เถอียก, ถอยก, เศรษฐี, ชีพ พราม, กันสาน, กันสอ, กัญชาน, กันโส, มานภาคยะ, กัญชุ, กันเชส, กำบิด, วรุณ, กำไพ, กำไว, สถาน, กำโจน, เบน, เปน, จังกาส, สราคปุณยะ, กัญยุก, เสถียร, ปโรง, บโรง, ภักติยะ, วีระ, หฤทัย, อารฆะ, โคศักดิ์สิทธิ์, วัว, กระบือ, ควาย, แหวน, วุทิ, กระโถน, แจกันเงิน, อาหาร, ชันชยง, ชันเชียง, กระจก, จวารโม, ปิงขลาศาสนา: พราหมณ์, ฮินดู พิธีกรรม: การถวายทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, กัลปนา, หลักเขต, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน,, ลักษณะ-จารึกบนหลืบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 17 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/431?lang=th |
31 |
จารึกบ้านซับบาก |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกเป็นการกล่าวแสดงความคารวะต่อพระพุทธเจ้า และบรรดาศาสดาจารย์ทั้งหลาย ทั้งในพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ฮินดู |
จารึกบ้านซับบาก, จารึกบ้านโคกสะแกราช, นม. 39, นม. 39, พ.ศ. 1609, ม.ศ. 988, พ.ศ. 1609, ม.ศ. 988, พุทธศักราช 1609, มหาศักราช 988, พุทธศักราช 1609, มหาศักราช 988, หินทรายสีเขียว, รูปใบเสมา, บ้านโคกสะแกราช, บ้านโคกสะแกราช, ตำบลสะแกราช, อำเภอปักธงชัย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระพรหม, พุทธศรีสมันตประเภศวร, พระพุทธโลเกศวร, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีอุทยาทิตยวรมเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีอุทยาทิตยวรมันเทวะ, พระพุทธเจ้า, พระพัชรสัตยะ, สัมโพธิสัตวะ, ทาส, พระศรีสมาชะ, ชยันตรปุรนาม, พระชินะ, ครู, นักปราชญ์, พระศรีศักติ, พระกีรติ, กัมรเตงศรีสัตยวรมัน, กัมรเตงอัญคุรุธรณีนทรปุรชิราโณทธรณะ, น้ำอมฤต, เมืองฉปารรันสิ, กัมพูชา, ภควัตจุงวิศ, ภควัตจัมปาทะ, สถลาสวาย, ภควัตธรณีนทรปุร, พระธนู, อภัยคีรี, ชวา, สรุกเขมร, พุทธศาสนามหายาน, การสวดมนต์, การสวดบูชา, งานบูชาพระสุคต, การประดิษฐานเทวรูป, การสถาปนาเทวรูป, พุทธะ, อาธาระ, บาท, อภิวาท, ธรรมะ, ทรัพย์, สิทธานตะ, กาศิกาวยะ, โยคะ, เตงปาสันคะ, โลก, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ.1609, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทพนมรุ้ง บุรีรัมย์, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจ 20 มกราคม 2563) |
พุทธศักราช 1609 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1220?lang=th |
32 |
จารึกธรรมมิกราชา |
มอญโบราณ |
เนื่องจากจารึกชำรุดค่อนข้างมาก ข้อความที่อ่าน-แปลได้จึงไม่ต่อเนื่องกัน จับความได้เพียงว่ามีการกล่าวถึง “พระเจ้าธรรมิกราช” หรือพระราชาผู้ทรงธรรม และ “อานิสงส์ต่างๆ” ซึ่งนายเกษียร มะปะโม ได้ให้ความคิดเห็นไว้ว่า พระเจ้าธรรมิกราชที่ปรากฏในจารึกน่าจะเป็นกษัตริย์พระองค์เดียวกับที่ถูกกล่าวถึงในชินกาลมาลีปกรณ์ ว่า “เมื่อพระเจ้าอาทิจจ์ ล่วงลับไปแล้ว ยังมีกษัตริย์องค์หนึ่งพระนามว่า “ธัมมิกราชา” ครองราชสมบัติต่อมา ทรงสร้างพระพุทธรูปสูง 18 ศอก ดำรงอยู่ในราชสมบัติ 5 ปี สวรรคต ต่อจากนั้น พระเจ้ารถครองราชสมบัติอยู่ 5 ปี ต่อจากนั้น พระเจ้าสัพพาสิทธิ ทรงราชาภิเษกเมื่อพระชนมายุ 17 ปี และพระองค์ก่อเสริมพระธาตุทรงปราสาทไว้เป็นสูง 24 ศอก ทรงสะสมบุญเป็นอันมาก ครองราชสมบัติอยู่ 45 ปี” |
จารึกธรรมมิกราชา, ลพ. 36, ลพ./36, พช. 36,40, ลพ. 36, ลพ./36, พช. 36, 40, หินทราย, แผ่นหิน, บริเวณคณะอัฏฐารส, วัดพระธาตุหริภุญไชย, จังหวัดลำพูน, พระเจ้าธรรมิกราช, พุทธศาสนา, หริภุญไชย, หริภุญชัย, อานิสงส์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, Okell John, A reference grammar of colloquial Burmese, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรหริภุญชัย-พระเจ้าธรรมิกราช, บุคคล-พระเจ้าธรรมิกราช, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศตวรรษ 17 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/549?lang=th |