ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 16
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 (พ.ศ.1501-1600) ส่วนมากจารึกที่พบเป็นอักษรขอมโบราณ อักษรจีนจากเหรียญเงินของจีน และอักษรเทวนาครีเพียง 1 หลัก
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 4 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “เก๊งอิ้ว” ของแผ่นดินซ้องยิ่นจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 4, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 4, พ.ศ. 1577, พุทธศักราช 1577, พ.ศ. 1577, พุทธศักราช 1577, พ.ศ. 1580, พุทธศักราช 1580, พ.ศ. 1580, พุทธศักราช 1580, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องยิ่นจง, เก๊งอิ้ว, นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
ข้อมูลระบุว่าอยู่ที่ สถาบันทักษิณคดีศึกษา จังหวัดสงขลา แต่สำรวจแล้วไม่พบจารึกดังกล่าว (26 กุมภาพันธ์-1 มีนาคม 2561) |
พุทธศักราช 1577-1580 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2519?lang=th |
2 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 3 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “เที้ยนเส่ง” ของแผ่นดินซ้องยิ่นจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 3, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 3, พ.ศ. 1566, พุทธศักราช 1566, พ.ศ. 1566, พุทธศักราช 1566, พ.ศ. 1574, พุทธศักราช 1574, พ.ศ. 1574, พุทธศักราช 1574, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องยิ่นจง, เที้ยนเส่ง, นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
ข้อมูลระบุว่าอยู่ที่ สถาบันทักษิณคดีศึกษา จังหวัดสงขลา แต่สำรวจแล้วไม่พบจารึกดังกล่าว (26 กุมภาพันธ์-1 มีนาคม 2561) |
พุทธศักราช 1566-1574 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2517?lang=th |
3 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 2 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “เที้ยนฮี้” ของแผ่นดินซ้องจินจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 2, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 2, พ.ศ. 1550, พุทธศักราช 1550, พ.ศ. 1550, พุทธศักราช 1550, พ.ศ. 1564, พุทธศักราช 1564, พ.ศ. 1564, พุทธศักราช 1564, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องจินจง, เจ้าแผ่นดินซ้องจิ้นจง, เที้ยนฮี้, นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
ข้อมูลระบุว่าอยู่ที่ สถาบันทักษิณคดีศึกษา จังหวัดสงขลา แต่สำรวจแล้วไม่พบจารึกดังกล่าว (26 กุมภาพันธ์-1 มีนาคม 2561) |
พุทธศักราช 1550-1564 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2515?lang=th |
4 |
จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 1 |
จีน |
ข้อความจารึกระบุชื่อปีรัชกาล “เก้งเท็ก” ของแผ่นดินซ้องจินจง |
เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง ขุดพบที่ริมทะเล ใกล้วัดอู่ตะเภา อำเภอระโนด, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 1, จารึกเหรียญจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง 1, พ.ศ. 1544, พุทธศักราช 1544, พ.ศ. 1544, พุทธศักราช 1544, พ.ศ. 1548, พุทธศักราช 1548, พ.ศ. 1548, พุทธศักราช 1548, ทองเหลือง, เหรียญวงกลม, ริมทะเลระหว่างบ้านท่าบอนกับวัดอู่ตะเภา, อำเภอระโนด, จังหวัดสงขลา, เจ้าแผ่นดินซ้องจินจง, เจ้าแผ่นดินซ้องจิ้นจง, เก็งเท็ก, เก้งเท็ก,นวพรรณ ภัทรมูล, สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, อนุสรณีย์ สุชาติ รัตนปราการ |
ข้อมูลระบุว่าอยู่ที่ สถาบันทักษิณคดีศึกษา จังหวัดสงขลา แต่สำรวจแล้วไม่พบจารึกดังกล่าว (26 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2561) |
พุทธศักราช 1544-1548 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2513?lang=th |
5 |
จารึกเมืองเสมา |
ขอมโบราณ |
เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระอุมา และพระสรัสวดี จากนั้นได้กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 หรือพระบาทบรมวีรโลกว่าทรงเป็นโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมัน และทรงสืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์ (โสมานฺวย) กล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ว่าได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจไว้อย่างไรบ้าง สุดท้ายก็ได้กล่าวถึงข้าราชการผู้ใหญ่ที่ได้สร้างเทวรูปและพระพุทธรูปไว้หลายองค์ พร้อมทั้งถวายทาสและสิ่งของต่างๆ แด่ศาสนสถานไว้อีกด้วย |
จารึกเมืองเสมา, นม. 25, นม. 15, Stele de Sema (Korat) (K. 1141), พ.ศ. 1514, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, มหาศักราช 893, ศิลา, หินทรายสีขาว, หลักสี่เหลี่ยม, เมืองเสมา, ตำบลเสมา, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอุมา, พระรุทระ, พระวิษณุ, พระพรหม, เคารี, สรัสวตี, สรัสวดี, กามเทพ, ศิวลิงค์, ลิงค์, พระมเหศวร, ศิวลึงค์, ยัชญวราหะ, ศิขรสวามี, พระเทวี, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญภควดี, พระประติมากรรม, พระพุทธรูป, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, จันทรวงศ์, ศรีโรทรวรมัน, ศรีทฤฒภักดีสิงหวรมัน, ตระลาว, ตระลาวศรีโรทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญผู้ราชา, โฆ, ไต, พราหมณ์, พระสหาย, คนอนาถา, คนมีทุกข์, คนยากจน, บัณฑิต, คนยากไร้, คนตาบอด, คนป่วยไข้, คนแก่เฒ่า, คนชรา, มนตรี, ทาส, กำเพรา, ตฤป, จน, กำประวาด, ถะเอียก, กำวิด, กำพิด, กำปราก, กัญชน, อุย, นาราย, ประวาด, โขลญวิษัย, เสตงอัญพระครู, กำเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, สัตว์เดรัจฉาน, ช้างป่า, ไทยทาน, จัญจูล, อาสนะบัว, ทอง, ธนู, ประทีป, น้ำ, ดอกบัว, อาภรณ์โภคะ, ขันเงิน, ภาชนะ, ข้าวสาร, อากร, ทุรคาอิศวรบุรี, ทัมรง, สวรรค์, ปราสาท, สวน, พราหมณ์, ฮินดู, พระเวท, พระมนูศาสตร์, ไศวะนิกาย, บุณย์, บุญ, สมาธิ, คัมภีร์พระเวท, พระมนูศาสตร์, คุณธรรม, นิกายไศวะ, ทาน, พระธรรม, วรรณาศรม, อาศรม, พลีกรรม, การอภิเษก, การกัลปนา, พลีกรรม, การถวายทาส, พิธีเบิกพระเนตร, สาปแช่ง, การเฉลิมฉลอง, กลียุค, ฝนแก้วมุกดา, ไตรโลก, ไตรเพท, สรรพวิทยา, มนตร์, พระจันทร์, องค์สี่, จักรวาล, คำกลอน, ละคร, วิทยาการ, ราชสมบัติ, วันคราส, ทุ่งนา, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1514, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี , ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ,เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระสรัสวดี, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1514 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/353?lang=th |
6 |
จารึกเกษตรสมบูรณ์ |
ขอมโบราณ |
ข้อความของจารึก กล่าวถึงอมรสิงหภิกษุ ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธาน พร้อมทั้งคณะของท่านก็มีความยินดี เข้าใจว่า คงเป็นหน้าที่ในการก่อสร้างอะไรสักอย่างหนึ่ง ซึ่งน่าจะเป็นพุทธวิหาร พร้อมทั้งกำแพงโดยรอบ เพราะบรรทัดต่อไปกล่าวว่า ผู้มีความปรารถนาอันแรงกล้าได้เข้าถึงสิ่งอันประเสริฐ ที่อยู่ในกำแพง น่าจะหมายถึงพระพุทธรูป ที่ประดิษฐานอยู่ภายในเขตพุทธาวาส นอกจากนั้นข้อความจารึกบอกถึงความปรารถนาว่า ขอให้ตั้งอยู่ชั่วกาลนาน ด้วยบุญกุศลต่างๆ ซึ่งก็เป็นการสอดคล้องกับข้อความเบื้องต้นที่เป็นการก่อสร้างศาสนสถานเพื่อการกุศล ส่วนในทิศปราจีน คงเป็นสถานที่แสดงธรรมให้ประชาชน ฉะนั้น การก่อสร้างศาสนสถานแห่งนี้ ได้สำเร็จลงเมื่อมหาศักราช 913 |
จารึกเกษตรสมบูรณ์, ชย. 5, ชย. 5ศักราช: มหาศักราช 913, พุทธศักราช 1534, ม.ศ. 913, พ.ศ. 1534, มหาศักราช 913, พุทธศักราช 1538, ม.ศ. 913, พ.ศ. 1538, หินทราย, ใบเสมา, หน้าที่ว่าการอำเภอเกษตรสมบูรณ์, จังหวัดชัยภูมิ, ขอมสมัยพระนคร, พระพรหม, พระพุทธรูป, อมรภิกษุ, พุทธาวาส, พุทธศาสนามหายาน, ธรรม, บุญ, กุศล, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, พระพุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1534, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจข้อมูลเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2563) |
พุทธศักราช 1534 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/962?lang=th |
7 |
จารึกอุบมุง |
ขอมโบราณ |
จารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม และพระอุมา จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชดำรัสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (มหาศักราช 968-1001) ให้ถวายอาศรมและที่ดินแก่พระผู้เป็นเจ้า และให้ร่วมกันปฏิบัติดูแลพระผู้เป็นเจ้า (เทวรูป) และหากผู้ใดไม่ทำตามก็แช่งให้ตกนรก จากนั้นก็เป็นรายนามทาส และจำนวนสิ่งของที่ถวาย |
จารึกอุบมุง, อบ. 10, ฐ.จ. 18, อบ. 10, ฐ.จ. 18, Inscription de Vat Pa Saen (Ubon), K. 1085, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านอุบมุง, อำเภอวารินชำราบ, จังหวัดอุบลราชธานี, ตำบลโคกสว่าง, อำเภอสำโรง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, พระพรหม, พระมเหศวร, พระอุมา, พระรุทระ, ศักติ, พระพิฆเนศ, พระเทวี, พระคงคา, พระอาทิตย์, พระกัมรเตงชคต, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วาบ, ไต, สิ, โลญ, ศักดิ์พยาปิ, เสตงอัญอาจารย์ภควัน, เสตงอัญกษิการ, เสตงอัญพระลำพาง, มรตาญขโลญศรีนฤเปนทรริมถะ, อาจารย์ภควันประสาน, พระกัมรเตงอัญประสาน, สัตยานตราจารย์, บพิตร, ปวิตร, พระเจ้าแผ่นดิน, ประธาน, พระผู้เป็นเจ้า, หร, อาศรม, ถะเง, ปโรง, พรุณ, กันเดง, ขชะ, เขมา, กำประหวาด, ดันเทบ, อาย, กำพระ, ปราณ, ตันเชส, จำเลา, ตีรถะ, กำบิด, ปันทน, ปันทัน, ดันทวาจ, กันตฤป, กำเพรา, กันธะ, ขะทะวาด, กำพระ, กำบร, ขะนล, กำ ไพ, ไว, ภัทระ, สำอบ, สนุม, กำไว, ปันลส, ปันลัส, กันโส, อคด, อคัด, กำพิ, กำวิ, ถะเอียก, กำดอ, กันอส, กันอัส, กำบญ, กำบัญ, กันธีบ, กันเชส, บิณฑะ, ถะเง, กำบู, สวัสดี, ถะลก, ปันสม, ปันเตม, บำนบ, บันนับ, บันทน, บันทัน, กำนจ, กำนัจ, ปะนวส, คันธะ, กันรวน, กันสอ, เถลิม, กันสรัจ, ธรรม, กันเทส, สุริยะ, กันเหียง, อัจยุต, ผะเอม, ปันโส, ปิ่น, ดอกบัว, สังข์, ดอกไม้, ถั่วจตุรมาส, ถั่วเดือนสี่, ถาด, ขันทองแดง, เครื่องกระยา, น้ำสรง, มะพร้าว, จรุ, สะเอกระ, ทรัพย์, พลเพียลเชิงพลุก, ถาดมีขา, เชิงตริบาท, น้ำมัน, ธูป, เทียน, กระทะ, ขันทองแดง, จาปะทองแดง, ขันเงิน, แหวนประดับพลอยสีขาบ, ถ้วย, หม้อทองแดง, เสลี่ยง, ดอกบัว, สังข์, ผลไม้, ต้นขวัส, ต้นขวส, ต้นตะกุ, ต้นตะกู, หญ้า, ทีปธารณ์, ถบลรญโคศาลมวาย, รัญโคศาลมวาย, ตรางทวาร, เชงพระยัชญะ, สันธานิบุรี, สดุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทาร, โชร, หินขยวาย, ทำนบ, พะนวน, สันธานิบุรี, สตุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทร, เชิงกรานทองแดง, ข้าวสุก, ทำนบหิน, หนองกก, ประเทศ, สวรรค์, พราหมณ์, ฮินดู, กุติสรวจ, กุติสรวาจ, ลิงคปุระ, กันโลง, กุติสระวาจ, อาศรม, กัลปนา, ทักษิณาทาน, การบูชาพระเพลิง, การถวายข้าทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, สังสารวัฏ, สงกรานต์, พระเพลิง, ทะนาน, ถะโงย, จำโบง, ปรัสถะ, งานมหรสพ, พระบรมราชโองการ, พระเนตร, จอมอสูร, โลก, สะดือบัว, สรีระ, เทวดา, มณเฑียร, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, คำสาปแช่ง, ตกนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1536, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายอาศรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1536 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/388?lang=th |
8 |
จารึกสูงเนิน |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เป็นการกล่าวสรรเสริญพระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง ว่าทรงมีอำนาจทางการทหาร ทรงมีเกียรติยศ และทรงได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ด้านที่ 2 เป็นรายชื่อของทาส |
จารึกสูงเนิน, นม. 3, นม. 3, ศิลา, หินทราย, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, ปาณฑพ, โฆ, ไต, ทหาร, นักปราชญ์, บูรพะ, สันอด, สันอัส, ลำวี, ธรรม, ไท, ปันโส, กัญจน, กัญจัน, กัญยน, กัญยัน, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจ 30 พฤศจิกายน 2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/373?lang=th |
9 |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 |
ขอมโบราณ |
เนื้อหาโดยสังเขป ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระพรหม พระนารายณ์ ตามด้วยการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ว่ารูปงามเหมือนกามเทพ มีปัญญาดุจพระพรหม และทรงปกครองแผ่นดินด้วยความยุติธรรม จากนั้นก็กล่าวถึงพราหมณ์ศิวไกวัลย์ ว่าเป็นผู้ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมุนี ผู้ประกอบพิธีกรรมตามประเพณี หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องเวทมนตร์จากพราหมณ์หิรัณยทามะแล้ว ตอนท้ายของจารึกด้านนี้ได้กล่าวสรรเสริญ ชเยนทรวรมัน ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ผู้มีบรรพบุรุษต้นตระกูลคือ “พราหมณ์ศิวไกวัลย์” ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมตามประเพณี ด้านที่ 2 เป็นการลำดับความสัมพันธ์ และผลงานของผู้ที่อยู่ในสายตระกูล ที่มีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมในราชสำนักกัมพูชา เริ่มตั้งแต่พราหมณ์ศิวไกวัลย์เรื่อยมาจนถึง ชเยนทรวรมัน หรือ สทาศิวะ ด้านที่ 3 กล่าวสรรเสริญพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 แจงรายการสิ่งของจำนวนมาก ที่พระองค์ทรงถวายแด่เทวสถาน ณ เมืองภัทรนิเกตนะ จากนั้นก็กล่าวถึงการบริจาคที่ดินของพระราชครูชเยนทรวรมัน ตามด้วยการลำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรมในราชสำนัก ของแต่ละรัชกาล ด้านที่ 4 เป็นการลำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรมในราชสำนัก ของแต่ละรัชกาลต่อจากจารึกด้านที่ 3 |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2, จารึกสด๊กก๊อกธม 2, ปจ. 4, ปจ. 4, หลักที่ 57 จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม ณ อรัญประเทศ, หลักที่ 57 จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม ณ อรัญประเทศ, มหาศักราช 965, พุทธศักราช 1586, มหาศักราช 968, พุทธศักราช 1588, มหาศักราช 971, พุทธศักราช 1592, มหาศักราช 974, พุทธศักราช 1595, มหาศักราช 894, พุทธศักราช 1515, มหาศักราช 901, พุทธศักราช 1522, ม.ศ. 965, พ.ศ. 1586, ม.ศ. 968, พ.ศ. 1588, ม.ศ. 971, พ.ศ. 1592, ม.ศ. 974, พ.ศ. 1595, ม.ศ. 894, พ.ศ. 1515, ม.ศ. 901, พ.ศ. 1522, ศิลา, หินชนวน, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองพร้าว, ตำบลโคกสูง, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, กิ่งอำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอัคนี, พระพรหม, พระนารายณ์, พระลักษมี, กามเทพ, พระอิศวร, พระอุมา, เทพดา, พระอินทร์, พระวิษณุ, พระมนู, เทพเจ้ากาละ, เทพแห่งสมุทร, คเณศวระ, พระศัมภวะ, พระนางสรัสวตี, พระอังคีรส, อิศวระ, พระตนูนปาตะ, พระษฏตนู, พระลักษมี, เทพภัทราทริ, กัศยปะ, อัตริ, อินทระ, จันทระ, พระนางทุรคาเทวี, พระคเณศวร, ศรุติ, อีศานมูรติ, พระศังกร นารายนะ, พระภควตี, พระศิวลึงค์, รูปพระนารายณ์, รูปของพระวิษณุ, รูปของพระสรัสวตี, รูปพระปฏิมา, พระปฏิมาภควดี, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่,1พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, พระเจ้ายโศวรมัน, พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีหรรษวรมัน, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2, พระเจ้าชเยนทรวรเมศวร, พระกัมรเตงอัญศรีชเยนทรวรมัน, พพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าชัยวรมันที่ 2, พระเจ้าชัยวรมันที่ 3, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, พระบาทปรเมศวร, พระบาทวิษณุโลก, พระเจ้าวิษณุโลก, พระบาทอีศวรโลก, พระบาทนิรวาณบท, พระบาทบรมนิรวาณบท, พระบาทรุทรโลก, พระบาทพรหมโลก, พระบาทบรมวีรโลก, พระบาทบรมรุทรโลก, พระบาทบรมศิวบท, พราหมณ์ศิวะไกวัลยะ, ปุโรหิตศิวไกวัลยะ, เสตงอัญศิวไกวัลยะ, พราหมณ์คงคาธระ, พราหมณ์หิรัณยรุจิ, พราหมณ์หิรัณยทามะ, หิรัณยทามะพราหมณ์, หิรัณยพราหมณ์, พราหมณ์วามศิวะ, ศิวไกวัลยพราหมณ์, ศิวไกวัลยะ, ศรีชเยนทรบัณฑิต, กัมรเตงอัญศรีวาคินทรบัณฑิต, พราหมณ์สังกรษะ, ท่านศิวาศรมผู้อาวุโส, ท่านศิวาศรมผู้เยาว์, กัมรเตงศิวาศรม, เสตงอัญศิวโสมะ, พระภคินีอีศานมูรติ, พระศรวะ, เสตงอัญกุมารสวา, นวพรรณ ภัทรมูล, R.C. Majumdar, Inscription of Kambuja, Adhir Chakravarti, The Sdok Kak Thom Inscription Part II, ปรีดา ศรีชลาลัย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1595, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-ชเยนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, บุคคล-ชเยนทรวรมัน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจ 7 พฤศจิกายน 2563) |
พุทธศตวรรษ 1595 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/498?lang=th |
10 |
จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี |
ขอมโบราณ |
คำจารึกนี้เป็นเรื่องกัลปนาที่ดินกับคนใช้และสิ่งของต่างๆ ถวาย “พระบรมวาสุเทพ” คือ พระนารายณ์ |
จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี, ลบ. 3, ลบ. 3, Lopburi (San Cau) K. 412, หลักที่ 21 ศิลาจารึกศาลเจ้า เมืองลพบุรี, จารึกที่ 21 ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า เมืองลพบุรี, หลักที่ 21 ศิลาจารึกศาลเจ้า เมืองลพบุรี, จารึกที่ 21 ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า เมืองลพบุรี, ศิลา, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ศาลเจ้าในเขตอำเภอเมือง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระนารายณ์, พระกัมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกัมรเดงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกมรเดงอัญศรีบรมวาสุเทพ, วาบ, โฆ, โขลญพล, โขลญ, โฉลญ, พระกัมรเตงอัญ, พระกัมรเดงอัญ, โขลญวิษัย, ตำรวจวิษัย, อบ, ดังเกร, ตังเกร, ดงเกร, จระทิด, จรทิด, ขทด, ชทัด, มหา, กัญไช, สํอบ, กำบิด, สางคะ, ควาล, ราชศรีย์, อนงค์, สุนธรี, ข้าวสาร, พืชผล, หญ้า, ข้าวเปลือก, ร่ม, อ่างเงิน, เครื่องบริวารเงิน, ละโวก, ถาด, โวทิ, จนหวาย, จันหวาย, ตลับเงิน, ละโว้, ทวารชลวิมาน, อดเสนห์, เมืองพทาง, พราหมณ์, ฮินดู, ไวษณพนิกาย, กัลปนา, การถวายสิ่งของ, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, หลังคา, เรือกสวน, มรดก, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 15-16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/339?lang=th |
11 |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 2) |
ขอมโบราณ |
ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ชิ้นที่ 1 ระบุชื่อข้าราชการและตำแหน่ง ส่วนชิ้นที่ 2 มีเพียงอักษรไม่กี่ตัว จับใจความไม่ได้ |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 2), ลบ. 19, ลบ. 19, Lopburi (San Sung), K. 410, หลักที่ 20 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 2), จารึกที่ 20 ศิลาจารึก (ซื่งแตกหัก) ที่ศาลสูง, หลักที่ 20 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 2), จารึกที่ 20 ศิลาจารึก (ซื่งแตกหัก) ที่ศาลสูง, ศิลา, โบราณสถานศาลสูง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระกระลา, วาบสด, วาบปัญจควยะ, พระบาญชี, พระบัญชี, ตำรวจวิษัย, โขลญ, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การเมืองการปกครอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/383?lang=th |
12 |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1) |
ขอมโบราณ |
มีใจความว่า ครั้งแผ่นดินพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 เมื่อมหาศักราช 944 และ 947 (พ.ศ. 1565 และ 1568) มี “พระนิยม” ตรัสให้บรรดาชีสงฆ์ ซึ่งอาศัยอยู่ในอาวาสต่างๆ ทั้งดาบส (คือพวกพราหมณ์) ทั้งพระภิกษุ ถือลัทธิมหายานก็ดี ถือสาวกยานก็ดี ให้ท่านทั้งหลายเอา “ตบะ” ของตน คือเดชะบุญกุศลที่สร้างเมื่อถือศีลสวดมนต์ภาวนา ไปถวายพระเจ้าแผ่นดินให้ทรงพระเจริญแลห้ามอย่าให้มีคนหรือสัตว์ใดๆ มารบกวนบรรดาชีสงฆ์ ในอาวาสที่เขาอยู่ |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1), ลบ. 2, ลบ. 2, Lopburi (San Sung), K. 410, หลักที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), หลักที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร (หลักที่ 1), พ.ศ. 1568, ม.ศ. 947, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พ.ศ. 1568, ม.ศ. 947, พ.ศ. 1565, ม.ศ. 944, พุทธศักราช 1568, มหาศักราช 947, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, พุทธศักราช 1568, มหาศักราช 947, พุทธศักราช 1565, มหาศักราช 944, ศิลา, หลักสี่เหลี่ยม, โบราณสถานศาลสูง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรรมเทวะ, พระบาทกัมรเดงกำตวนอัญศรีสุริยวรรมเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรมันเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรมเทวะ, ดาบส, ภิกษุ, สถวิระ, พระภิกษุมหายาน, บัณฑิตยศตำแหน่ง: สมาจาร, ทุราจารสัตว์: ควาย, กระบือ, สุกร, หมู, แพะ, ไก่, เป็ด, ลิง, ตโบวนาวาส, ตโปวนาวาส, ดโบวนาวาส, ตโปวนาวาส, พุทธศาสนา, มหายาน, สาวกยาน, พระนิยม, โยคธรรม, ศาลสภา, วันอาทิตย์, พระบัณฑูร, กฎ, บวช, โยคธรรม, ตบะ, ตปะ, ดบะ, ดปะ, สวดมนต์, วันพฤหัสบดี, ร่องน้ำ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1565, อายุ-จารึก พ.ศ. 1568, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1568 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/381?lang=th |
13 |
จารึกวัดสุปัฏนาราม 3 |
เทวนาครี |
เนื้อหาในจารึกเป็นการเล่าประวัติความเป็นมาของบรรพบุรุษ โดยจารึกด้านที่หนึ่งกล่าวถึงประวัติของราเชนทรบัณฑิต หรือพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 จารึกด้านที่สองกล่าวพระราชภารกิจของพระราชาและพระมเหสีในการดูแลเทวรูปและเทวสถาน จารึกด้านที่สามและด้านที่สี่ชำรุด จับใจความไม่ได้ |
จารึกวัดสุปัฏนาราม 3, จารึกวัดสุปัฏนาราม 3, อบ. 6, อบ. 6, พ.ศ. 1590, ม.ศ. 969, พ.ศ. 1590, ม.ศ. 969, พุทธศักราช 1590, มหาศักราช 969, พุทธศักราช 1590, มหาศักราช 969, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดสุปัฏนาราม, จังหวัดอุบลราชธานี, ขอมสมัยพระนคร, พระอุมา, พระศิวะ, พระวิษณุ, พระไวษณ, เทพเจ้าแห่งภวาลัย, พระศิวลิงค์, พระศิวลึงค์, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ราเชนทรบัณฑิต, อัธยาปกะ, สุตโควินทะ, มาธวี, รามภัฏฏะ, จานา, วิตยา, ภานิตยา, ศิขาศานติ, กวินทราริมถนะ, กวีนทราริมถนะ, มรตาญศรีลักษมีนทรริมถนะ, เกศวภัฏฏะ, นาคปาละ, พราหมณ์, มหารถารุณะ, วนา, พระนางเทวี, กัมพุชลักษมี, พระโอรส, พระรุทราณี, พระอุมา, วิชย, วิชัยยศ, กษัตริย์, พระราชา, โหราจารย์, พระกัมรเตงอัญศรี, ขุนนาง, พระมเหสี, แม่, ข้าวเปลือก, เครื่องบูชา, สระน้ำ, เนินเขา, พื้นดิน, แผ่นดิน, สระน้ำกุฏิ, หมู่บ้านทำเนยใส, หมู่บ้านสำโรง, หมู่บ้านช่างทำโลหะ, พระนคร, บ้านเรือน, ประเทศ, เขื่อนกั้นน้ำ, แม่น้ำ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, ไวษณพนิกาย, อาศรม, การถวายข้าทาส, การสถาปนาเทวรูป, ศิลาขาว, วันพฤหัสบดี, ขาริกา, ธรรม, พระบรมราชโองการ, สามเวท, พระราชอาชญา, สงคราม, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1590, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสุปัฏนาราม อุบลราชธานี, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ไม่มีรูป |
หอศิลปวัฒนธรรมวัดสุปัฏนารามวรวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (ข้อมูลวันที่ 4 มีนาคม 2563) |
พุทธศักราช 1590 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1161?lang=th |
14 |
จารึกวัดสุปัฏนาราม 2 |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงการประดิษฐานเทวรูปไว้ในเทวสถาน การแต่งตั้งทาสให้ดูแลเทวสถาน และรายการสิ่งของที่ถวายแด่เทวสถาน |
จารึกวัดสุปัฏนาราม 2, จารึกวัดสุปัฏนาราม 2, อบ. 5, อบ. 5, Ban Khamoi, K. 370, ศิลา, วัดสุปัฏนาราม, จังหวัดอุบลราชธานี, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญ, ลักษมีเตงตวน, ไต, โขลญ, วีระ, อานนท์, อาจารย์, กันเสรจ, กระบือ, ควาย, ผ้า, ดาล, ฆ้อง, สำริด, สัมฤทธิ์, ต้นมะพร้าว, ต้นมะตูม, พราหมณ์, ฮินดู, วิหาร, การประดิษฐานเทวรูป, กรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกชำรุด, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสุปัฏนาราม อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, นวพรรณ ภัทรมูล, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสุปัฏนาราม อุบลราชธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-การปกครองข้าทาส |
หอศิลปวัฒนธรรมวัดสุปัฏนารามวรวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (ข้อมูลวันที่ 4 มีนาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/343?lang=th |
15 |
จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ |
ขอมโบราณ |
เรื่องราวในจารึก ได้กล่าวถึงพระกัมรเตงอัญศิวทาสคุณโทษ พระสภาแห่งกัมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร ร่วมกับพระกัมรเตงอัญคนอื่นๆ ซื้อที่ดินอุทิศถวายแด่กัมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร และได้ซื้อสิ่งของให้แก่บุคคลบางคนอีกด้วย นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึงการถวายทาสให้ทำหน้าที่แต่ละปักษ์ และกล่าวถึงทรัพย์สินที่ใช้แลกเปลี่ยนในการซื้อ เช่น วัว ทองคำ และภาชนะต่างๆ เป็นต้น |
จารึกวัดสระกำแพงใหญ่, ศก. 1, ศก. 1, พุทธศักราช 1585, มหาศักราช 964, พุทธศักราช 1585, มหาศักราช 964, พ.ศ. 1585, ม.ศ. 964, พ.ศ. 1585, ม.ศ. 964, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ซุ้มประตูกำแพงศาสนสถานวัดสระกำแพงใหญ่, ตำบลสระกำแพงใหญ่, อำเภออุทุมพรพิสัย, จังหวัดศรีสะเกษ, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร, กัมรเตงอัญศิวทาสคุณโทษ, พระกัมรเตงอัญขทุรอุปกัลปดาบส, พระกัมรเตงอัญศิขเรสวัต, พระธรรมศาสตร์, กำเสตงโขลญมุขประติปักษ์,พระกัมรเตงอัญพยาบาร, กัมรเตงอัญพระตีรถะ, กำเสตงโขลญระโบส, กำเสตงโขลญมุขระโณจ, กำเสตงทุเลา, ไต, สิ, กำจิ, โขลญพลชนารทธะยศ, พระสภา, พระกัมรเตงอัญผู้ตรวจราชการ, กำเสตงโขลญมุขเขนดบังศาล, กำเสตงอยู่ประจำพระบัญชี, พระตรวจพล, หัวหน้าพระโผลง, หัวหน้าช่างจำหลัก, หัวหน้าช่างตกแต่งปูลาด, ตำรวจ, กันโส, กำพฤก, ถะเกนล, กะเชณ, ฤทธิบูร, กันธณ, กำสด, กำพิด, สมากุล, สำสำอบ, กำไพ, ขะเนต, พระโค, วัว, กินนร, โคภิกษา, ข้าวสาร, ทรัพย์, ลังเคา, แหวน, ทองคำ, พลอย, ขะโชสีเขียว, ตลับเงิน, ภาชนะ, เชียง, สลึง, ขันดีบุก, กระเวา, เมืองสดุกอำพิล, สตุกอำพิล, ตระพังพราหมณ์, พรหมณ์, ฮินดู, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, การถวายสิ่งของ, กัลปนา, ที่ดิน, หลักเขต, สงกรานต์, กุศลปักษ์, กฤษณปักษ์, ต้นสกุล, วิศุวสงกรานต์, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1585, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ ศรีสะเกษ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระกัมรเตงอัญศิวาทาสคุณโทษ, บุคคล-กัมรเตงชคตครีพฤทเธศวร |
ซุ้มประตูกำแพงศาสนสถาน ด้านตะวันออก วัดสระกำแพงใหญ่ ตำบลสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ (ข้อมูลวันที่ 2 มกราคม 2563) |
พุทธศักราช 1585 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/511?lang=th |
16 |
จารึกวัดมะกอก |
ขอมโบราณ |
เป็นพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ ต่อข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ให้มาจารึกพระบรมราชโองการของพระองค์ ไว้ที่ สาธุปาลิ |
จารึกวัดมะกอก, ปจ. 19, ปจ. 19, Inscription de Kok Cheng (Ta Praya), K. 999, 13/2510, 13/2510, ศิลา, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา , วัดมะกอก, ตำบลโคกแวง, อำเภอตาพระยา, จังหวัดสระแก้ว, วัดมะกอก บ้านโคกเพร็ก ตำบลทัพเสด็จ, ขอมสมัยพระนคร, กำเสตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, กมรเตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ศรีราเชนทรวรมัน, มรตาญโขลญศรีลักษมินทราริมถน, โขลญศรีลักษมินทราริมถน, ศรีลักษมินทราริมถน, อาจารย์พัชรธรรม, ลักษมินทราริมถน, มรตาญโขลญศรีปรถิวีนเรนทร, โขลญศรีปรถิวีนเรนทร, ศรีปรถิวีนเรนทร, ปรถิวีนเรนทร, มรตาญศรีนเรนทรายุทธ, ศรีนเรนทรายุทธ, วาป ศิขาพรหม, ไทยทาน, น้ำมันสรง, ทอง, ข้าวขาว, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, สาธุปาลิ, สิทธายะ, กำเสตงชคตลิงคบุรี, ลิงคบุรี, ธุลีพระบาท, ธุลีเชิง, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อุไรศรี วรศะริน, อุไรศรี วรศะริน, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566) |
พุทธศตวรรษ 16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/379?lang=th |
17 |
จารึกวัดตาพระยา |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 กล่าวถึงมรตาญโขลญศรีนรบดีวีรวรมัน ส่งคนให้นำพระราชโองการมาบอกวาบสรรพศิวะ พร้อมทั้งหมู่ญาติซึ่งตั้งถิ่นฐานที่สรุกเสร (บ้านนา) ดินแดนแห่งสระโมเอม (สมอหวาน) เพื่อให้ทราบถึงการได้รับบำเหน็จความดีความชอบ และนอกจากนี้ ยังมีข้าราชการบางคนได้มอบบ้านเรือน และโคกระบือ ให้บุคคล ในนามของทางราชการ และพร้อมทั้งอุทิศที่ดิน ถวายเป็นส่วนพระราชกุศล เกี่ยวกับการที่เสด็จสู่รุทรโลก ต่อมาวาบสรรพศิวะก็ได้รับพระราชโองการ ให้ใช้คนไปจัดการปักหลักเขตที่ดินแห่งสระโมเอม ซึ่งเขาเองได้รับพระกรุณาประสาท พร้อมทั้งหมู่ญาติของเขาอีกด้วย ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชโองการ ให้บรรดาข้าราชการไปจัดทำคำประกาศทางราชการ บนศิลาจารึก ที่บ้านสระโมเอม เพื่อให้พระกรุณาประสาทแก่มรเตญโสมศิวะ ผู้เป็นหลานของวาบสรรพศิวะพร้อมทั้งหมู่ญาติ และกล่าวถึงพระราชโองการห้ามพวกข้าราชการ ที่จะออกไปปฏิบัติงานตามชนบทนั้น อย่าได้ไปจับกุมคุมขัง หรือริบทรัพย์สินของชาวบ้านสระโมเอม แห่งกันเมียงพระกระลาละอองเป็นอันขาด และสุดท้าย ได้กล่าวถึงการปักหลักเขตที่ดินแห่งสระโมเอม |
จารึกวัดตาพระยา, ปจ. 9, ปจ. 9, Stele de Ta Praya, K. 1152, พุทธศักราช 1505, มหาศักราช 884, พุทธศักราช 1505, มหาศักราช 884, พ.ศ. 1505, ม.ศ. 884, พ.ศ. 1505, ม.ศ. 884, พุทธศักราช 1520, มหาศักราช 899, พุทธศักราช 1520, มหาศักราช 899, พ.ศ. 1520, ม.ศ. 899, พ.ศ. 1520, ม.ศ. 899, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดตาพระยา, ตำบลตาพระยา, อำเภอตาพระยา, จังหวัดสระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, มรเตญโขลญศรีนรบดีวีรวรมัน, วาบสรรพศิวะ, วาบอาส, ญาติ, วาบชีว, วาบประภาวิศวร, วาบรวิจันทร์, วาบเวรา, วาบศรีประติทาสทิศาธิกฤต, วาบโนง, วาบคาบ, เมสา, โฉลญมโนพินทุ, วาบสด, ตาญเมา, วาบสทาศิวะ, วาบทา, วาบเราทิศาธิกฤต, วาบเทง, วาบอัญ, วาบอบประตไย, วาบทันรังวาง, มรตาญศรีนฤปภักดีครรชิต, เสตงงิอาจารย์คุณโทษทรรศี, มรเตญโสมศิวะ, หลาน, ประชาชน, มรเตญโสมศิวะ, มรเตญโขลญศรีนรบดีวีรวรมัน, พระเจ้าอินทรวรมัน, พระเจ้ายโศวรมันยศ, โขลญคาบวิชัยปัตตันนะ, กันเมียงพระกระลาละออง, โขลญชะนวล, หัวหน้า, ธุลีพระบาทธุลีเชิงพระกัมรเตงอัญ, โขลญคาบ, โขลญชะนวล, ตำรวจ, อมฤตกธันนะ, กัมรเตงอัญพระครู, กัมรเตงอัญราชกุล, กัมรเตงอัญมหามนตรี, เสตงงิแห่งขมุก, พระกระลาอรรจนะ, โขลญพล, โขลญสรุเชิงพนม, คำประกาศทางราชการ, วรีหะ, เปรียง, วิษัยแห่งจัญจูล, กระบือ, ควาย, วัว, โค, เกรียว, สรุกเสร, สระโมเอม, บ้านวิชัยปัตตันนะ, วิชัยปัตตนะ, ป่าสระโมเอม, รุทรโลก, คฤหาสน์, ตระนิ, ขมุกชนบท, ทางสั้น, การถวายทาส, การถวายที่ดิน, กัลปนา, การก่อตั้งหมู่บ้าน, วันอาทิตย์, พระราชโองการ, เครื่องบำเหน็จ, ทางราชการ, ที่ดิน, พระราชกุศล, หลักเขต, วันจันทร์, พระสภา, จอมปลวก, ส้วมถ่ายอุจจาระ, มวร, พระกรุณาประสาท, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ.1520, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดตาพระยา สระแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก,เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, บุคคล-มรตาญโขลญศรีนรบดีวีรวรมัน, บุคคล-มรตาญโขลญศรีนรบดีวีรวรมัน, บุคคล-วาบสรรพศิวะ, บุคคล-มรเตญโสมศิวะ, บุคคล-มรเตญโสมศิวะ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง , มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดตาพระยา ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว (21 กุมภาพันธ์ 2564) |
พุทธศักราช 1520 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/376?lang=th |
18 |
จารึกวัดจงกอ |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระบรมราชโองการ ธุลีพระบาทกมรเตงกำตวนอัญศรีชยวีรวรมันเทวะ ดำรัสสั่งให้ข้าราชการดำเนินการวัดที่ดิน และปักศิลาจารึกเพื่อถวายแก่กมรเตงชคตวิมาย กำหนดเขตศาสนสถาน และอุทิศข้าพระจำนวนมาก ดังมีรายชื่อปรากฏในจารึก |
จารึกวัดจงกอม มหาศักราช 930, มหาศักราช 930, ม.ศ. 930, ม.ศ. 930, พุทธศักราช 1551 , พุทธศักราช 1551, พ.ศ. 1551, พ.ศ. 1551, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดจงกอ, เขตบ้านน้อย, ตำบลบ้านเก่า, อำเภอด่านขุนทด, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, กัมพูชา, ธุลีพระบาทกมรเตงกำตวนอัญศรีชยวีรวรมัน, เสตงอัญสินทูรสภาสิต, วาปรัสยักเวียวหาราธิการี, วาปวรตะมะระวาจ, พระหติ, กมรเตงชคตวิมาย, พระราชธรรมกมรเตงตวนอัญ, ข้าพระกมรเตงชคต, โฆอญัต โฆธรรม, สิถะคุน, สิจระทิต, สิระกำใว, สิจะโล, สิกันตัป, สิกุก, สิมาฆะ, ใตเจฏ, ใตทช, ใตถะโค, ใตกะผยาส, ใตกันรุน, ใตกันทัน, ใตเวียก ใตภัทร, ใตอะวาง, ใตถะเคียกเหต, ใตตันยาล, ใตเขมา, ใตกันเตม, ใตกราญ, สิจังกาส, สิกะปิต, สิกันหัล, ข้าพระ, พวกวษล, อาจารย์, หมู่บ้านกระวานสะเทก, และหมู่บ้านอาจารย์ตรีภุวเกียรติ์, หมู่บ้านมันติตระลาภ, ป่าระนาม, หมู่บ้านลังโลง, เวรียงมันเตงอยักคอาง, จังวาดหมู่บ้านเตระ, หมู่บ้านตระกวานสะเทก, หมู่บ้านมันติตระลาภ, หมู่บ้านเสรใวร, ผรูตระโทง, ฉทิงปราย, พราหมณ์, ฮินดู, วัดที่ดิน, ปักหลักจารึก, ปักหลักศิลา, ถวายข้าพระ, เดือนเชษฐ, วันศุกร์, พระบรมราชโองการ, ไทยธรรม, กมรเตงชคตวิมาย, ราชธรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เอมอร เชาวน์สวน, ศิลปากร, อุไรศรี วรศะริน, ประชุมอรรถบทเขมร : รวมบทความวิชาการ ของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. อุไรศรี วรศะริน, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจงกอ นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การรังวัดที่ดิน, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวีรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าชัยวีรวรมัน |
ศาลาด้านข้างขวามือพระประธานในอุโบสถ วัดจงกอ (เดิมเป็นวัดร้าง) เขตบ้านน้อย หมู่ 7 ตำบลบ้านเก่า อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจข้อมูลวันที่ 21 มกราคม 2563) |
พุทธศักราช 1551 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2538?lang=th |
19 |
จารึกวังสวนผักกาด |
ขอมโบราณ |
ข้อความในจารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวว่าในมหาศักราช 938 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ทรงมีพระราชบัญชาแก่มรตาญโขลญศรีวีรวรมันให้มาจารึกพระกระแสรับสั่งไว้ที่เสาหิน ณ ภูเขาดิน จากนั้นข้อความในจารึกก็เป็นรายการสิ่งของ และรายชื่อทาสที่จะทำการกัลปนา |
จารึกวังสวนผักกาด, กท. 53, กท. 53, พ.ศ. 1559, พ.ศ. 1559, พุทธศักราช 1559, พุทธศักราช 1559, ม.ศ. 938, ม.ศ. 938, มหาศักราช 938, มหาศักราช 938, K. 232, K.232, ศิลา, หินทรายแดง, รูปใบเสมา, วังสวนผักกาด, อำเภอศรีอยุธยา, ตำบลทุ่งพญาไท, อำเภอพญาไท, กรุงเทพมหานคร, ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี, ขอมสมัยพระนคร, ธุลีพระบาท, กำมรเตงกำตวนอัญ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรมเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรมันเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรรมเทวะ, มรตาญโขลญศรีวีรวรมัน, โขลญศรีวีรวรมัน, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมสวามี, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมันสวามี, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรรมสวามี, กำมรเตงชคตกำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรเมศวร, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมชนนีศวร, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมันชนนีศวร, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรรมชนนีศวร, กำมรเตงชคต, วรีห, โขลญพนม, สุริยวรมันที่ 1, ขโลญมุขคาบชนวล, โฆ, ไต, กันโลง, มุรัททนะศิวะ, กัญยาน, อีศานศิวะ, กนิหาต, ขทวาต, เฉก, ฉเก, เถง, ถเง, กันชัน, หฤทยวีนทุ, หฤทัยวีนทุ, พรหมศิวะ, กำวก, สังวาร, ถยก, เถียก, สังกร, ธรรมปาล, กันชน, โตร, อเปน, กันสวร, กันตำ, กันดำ, กันธป, กันธบ, กันเหน, กันโส, กันอน, กันอัน, หริย, หริยะ, กันสรง, พรหมศิวะ, จำเหก, เขมา, ขเมา, ถมาส, กันเทส, บันลส, บันลัส, ปันลส, ปันลัส, กันสต, กันสด, กันหยง, กันเหียง, ธรรม, สรจ, สรัจ, ถโกน, นาหวิ, เถกต, เถกด, ถเกต, ถเกด, กำวิต, กำพิต, กำวิด, กำพิด, กันเทง, บันทาน, ปันทาน, ปุรพะ, ปุรพ, ปุรวะ, บูรพะ, พรหม, จยม, เจียม, คันธะ, คันธะ, กันสอ, สังอบ, บโรง, ลนุต, ลนุด, เสาหิน, ข้าวสาร, น้ำมัน, งา, ถั่ว, ผ้า, ภูเขาดิน, พุทธศาสนา, กัลปนา, การถวายทาส, อายุ-จารึก พ.ศ. 1559, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การสร้างศิลาจารึก, เรื่อง-การถวายข้าทาส, เรื่อง-การถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-การกัลปนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-มรตาญโขลญศรีวีรวรมัน, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง และทองสืบ ศุภะมาร์ค, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1559, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-มรตาญโขลญศรีวีรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 22 ธันวาคม 2565 |
วังสวนผักกาด ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี (ข้อมูลเดิมว่า ตำบลทุ่งพญาไท อำเภอพญาไท) กรุงเทพมหานคร (สำรวจข้อมูล 1 มีนาคม 2565) |
พุทธศักราช 1559 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/361?lang=th |
20 |
จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 |
ขอมโบราณ |
ได้กล่าวถึงการอุทิศที่ดินซึ่งประกอบด้วยอาศรมแห่งเดียว หรือหลายแห่ง และทาสหญิงชายตามพระราชโองการของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 จากนั้นได้กล่าวถึงขอบเขตของที่ดินซึ่งเป็นสถานที่อุทิศในคราวนี้ |
จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ปจ. 10, ปจ. 10, Stele Provenant de la Province de Prachinburi, (K. 991), พ.ศ. 1551, พุทธศักราช 1551, พ.ศ. 1551, พุทธศักราช 1551, ม.ศ. 930, มหาศักราช 930, ม.ศ. 930, มหาศักราช 930, ศิลา, รูปใบเสมา, จังหวัดสระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, ลักษมี, ศรีสูรยวรมัน, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ทาสชาย, ทาสหญิง, กํเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรรมเทพ, กำเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีนรปตีนทรวรมัน, โขลญสำดับ, เชษฐา, พระราชินี, ปิตุลา, บุรุษ, มารดา, วิษัย, วรีหะ, เปรียง, โขลญมุข, โขลญพลชระเลียง, สตุกกัด, หมู่บ้านกันตวรสันโตมะ, ตระพังกุเรก, ตรีณิ, หมู่บ้านตูเรีย, สำโรง, ตระพังตันโนด, ไพรกันโลง, พราหมณ์, ฮินดู, อาศรม, นฤปตีนทราลัย, การถวายทาส, การถวายที่ดิน, กัลปนา, การบริจาคทรัพย์, การบูชา, ศีลธรรม, พระราชโองการ, ที่ดิน, สวนผลไม้, พระสภาสัด, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ยอร์ซ เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1551 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/393?lang=th |
21 |
จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 1 |
หลังปัลลวะ |
จารึกข้อความอริยสัจสี่ |
จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 1, จารึกพระพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย 1, ตง. 1/1, ตง. 1/1, D2, จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ดินดิบสีน้ำตาลเทา, พระพิมพ์รูปทรงสี่เหลี่ยมปลายมน, สำนักศิลปากรที่ 15, สำนักศิลปากรที่ 15, นายถนอม อินทรภิรมย์, นวพรรณ ภัทรมูล, ชญานุตม์ จินดารักษ์, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
พุทธศตวรรษ 15-16 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18766?lang=th |
22 |
จารึกปราสาทโตนตวล 1 |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกเป็นการออกคำสั่งโดยพระบรมบพิตรให้เผยแพร่คำประกาศจับสองข้าทาส คือ จันทรพรกับลาตวิ ที่ไกรจักวัลละ มอบให้เป็นข้าทาสแก่พระกัมรเตงชคัต ข้าทาสทั้งสองคงจะหนี จึงมีประกาศจับ พร้อมทั้งระบุโทษผู้ละเลยหน้าที่ ไม่เผยแพร่คำประกาศจับดังกล่าว |
จารึกปราสาทโตนตวล 1, จารึกปราสาทโตนตวล 1, ศก. 9, ศก. 9, พ.ศ. 1545, ม.ศ. 924, พ.ศ. 1545, ม.ศ. 924, พุทธศักราช 1545, มหาศักราช 924, พุทธศักราช 1545, มหาศักราช 924, กรอบประตูปราสาท, ผนังข้างด้านทิศเหนือ, บ้านภูมิซรอล ตำบลเสาธงชัย, กรอบประตูปราสาท, ผนังข้างด้านทิศเหนือ, กรอบประตูมุขด้านหน้าปราสาทประธาน, ปราสาทโตนตวล, ตำบลภูมิซรวล, อำเภอกันทรลักษณ์, จังหวัดศรีสะเกษ, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงชคัต, บรมบพิตร, ไกรจักวัลละ, ข้าทาส, ไตย, ประชาชน, ข้าวสาร, กระเชอ, จันทรพร, ลาตวิ, อรรค, กัพผุน, พิธีสงกรานต์, วันจันทร์, จังหวัด, พระกรุณา, ประกาศ, โทษ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1545, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนขอบบานประตู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทโตนตวล ศรีสะเกษ, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-พิจารณาและตัดสินคดี, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, บุคคล-จันทรพร, บุคคล-ลาตวิ, บุคคล-ไกรจักวัลละ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
ปราสาทโตนตวล บ้านภูมิซรอล ตำบลเสาธงชัย อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ (สำรวจเมื่อ 4 มีนาคม 2563) |
พุทธศักราช 1545 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1168?lang=th |
23 |
จารึกปราสาทเมืองแขก 3 |
ขอมโบราณ |
ข้อความเกือบทั้งหมดเป็นรายชื่อทาส ตอนท้ายมีรายการสิ่งของที่ถวาย |
จารึกปราสาทเมืองแขก 3, จารึกปราสาทเมืองแขก 3, นม. 50, นม. 50, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, อายุ-จารึก พ.ศ. 1517, มหาศักราช 896ล หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองแขก, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, บ้านกกกอก ตำบลโคราช, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงคะ, ไต, สิ, ประวัติ, รักขเนต, อยัก, เอียก, อัม, ปันทะ, ปัญ, สหะ, คฤส, เอมกัญไช, มูร, คาย, โส, ไส, กราม, สร, พรม, เอมกปุย, กัมปุย, ลาง, อัน, อันติส, รัต, เถลง, เทป, ทัน, สุท, จี, กันโล, มางควะ, ทัน, เทง, ชัน, ทิจ, ช้าง, เครื่องนุ่งห่ม, ข้าวเปลือก, ข้าวสุก, เกลือ, โค, วัว, กัลปนา, อาย-พ.ศ. 1517, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาเทวรูป, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563) |
พุทธศักราช 1517 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1194?lang=th |
24 |
จารึกปราสาทเมืองแขก 2 |
ขอมโบราณ |
ข้อความทั้งหมดเป็นรายชื่อทาส |
จารึกปราสาทเมืองแขก 2, จารึกปราสาทเมืองแขก 2, นม. 50, นม. 50, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองแขก, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, บ้านกกกอก ตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงคะ, ไต, สิ, อัจราณ, วัน, เหม, ปัญ, ธรรม, อิน, เนง, ปัทมะ, กาน, สี, ฤษี, เฉนง, นิต, ลัก, อยัก, ปติกลันวะ, กันธี, เง, ชะเนา, พฤก, บูร, วร, เนง, ปิต, เส, ทิจ, อัสชุ, โส, พรม, โปะ, โย, สวยัต, สหะ, เลง, จัมพุะ, อัป, ปราณ, ภัง, ลัส, ปิต, สรัษฏะ, เหง, อยัต, รักเขนต, กันวรัต, มัส, เสรษฐะ, โอชัตเชส, สัง, ภาช, อัง, สิก, วัท, วิกัญชา, โป, ลิป, ธูร, ขลัย, กะโรง, โส, ตรี, กัลปนา, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1517, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563) |
พุทธศักราช 1517 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1185?lang=th |
25 |
จารึกปราสาทเมืองแขก 1 |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงพระราชโองการของพระราชา ให้สถาปนาเทวรูปคือ กัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรมเหศวร มรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรสถามะ และพระแม่เจ้ากัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรเทวี และหลังจากนั้นยังได้รวมพระกัมรเตงอัญแห่งลิงคปุระไว้ด้วย แล้วให้บรรดาขุนนางและข้าราชบริพาร ร่วมกันดูแลเทวรูปและเทวสถานเหล่านี้ โดยกัลปนาข้าทาสและสิ่งของ เช่น ข้าวสาร น้ำมัน ฯลฯ เป็นประจำ |
จารึกปราสาทเมืองแขก 1, จารึกปราสาทเมืองแขก 1, นม. 50, นม. 50, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองแขก, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา บ้านกกกอก ตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรมเหศวร, พระกัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรสถามะ, พระแม่เจ้ากัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรเทวี, พระกัมรเตงอัญชคัตลิงคปุระ, พระบรมบพิตร, พระกัมรเตงอัญบรมบพิตร, กัมรเตงอัญพระสกลจตุราจารย์, กัมรเตงอัญพระคุรุ, เสตงอัญผู้เป็นใหญ่, กวิษัย, วิษัย, โขลญ, กัมรเตงอัญจตุราจารย์, น้ำมัน, ข้าวสาร, เสื้อผ้า, การสถาปนาเทวรูป, กัลปนา, สัมฤทธิปุระ, ตระลาว, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, ธุลีพระบาทธุลีเชิง, วันพุธ, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึก พ.ศ. 1517, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาเทวรูป, บุคคล-กัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรมเหศวร, บุคคล-มรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรสถามะ, บุคคล-พระแม่เจ้ากัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรเทวี, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563) |
พุทธศักราช 1517 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1177?lang=th |
26 |
จารึกปราสาทเมืองต่ำ |
ขอมโบราณ |
จารึกทั้ง 4 ชิ้นมีข้อความน้อยคำ เป็นชื่อบุคคล และเทวสถาน |
จารึกปราสาทเมืองต่ำ, บร. 25, บร. 26, บร. 27, บร. 28, บร. 25, บร. 26, บร. 27, บร. 28, หินทราย, โคปุระ, กรอบประตูปราสาท, ปราสาทเมืองต่ำ, อำเภอประโคนชัย, จังหวัดบุรีรัมย์, บ้านโคกเมือง ตำบลจรเข้มาก, ขอมสมัยพระนคร, วาบ, เตณา, ตำรง, พระสรุ, พราหมณ์, ฮินดู, สายน้ำ, เทวสถาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, ลักษณะ-จารึกบนโคปุระ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทเมืองต่ำ บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, แก้ภาพ* |
ปราสาทเมืองต่ำ บ้านโคกเมือง ตำบลจรเข้มาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1223?lang=th |
27 |
จารึกปราสาทเขาดุม |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงกัมเสตงท่านหนึ่ง ที่ได้ให้จารึกถึงเรื่องราวที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระกัมรเตงอัญ น่าจะหมายถึงพระเจ้าศรีอุทยาทิตยวรมันที่ 2 ที่มีกระแสรับสั่งไปยังขุนนางผู้ใหญ่ไจรก และกัมรเตงอัญผู้ปกครองมณฑล อนุญาตให้ มะอางบัณฑิต จัดฉลองศาลประจำเมืองที่ เตงตวน พระเสตงอัญถวายแก่พระกัมรเตงชคัต |
บร. 6 จารึกปราสาทเขาดุม, บร. 6 จารึกปราสาทเขาดุม, พ.ศ. 1599, ม.ศ. 978, พ.ศ. 1599, ม.ศ. 978, พุทธศักราช 1599, มหาศักราช 978, พุทธศักราช 1599, มหาศักราช 978, หินทราย, กรอบประตู, ปราสาทเขาดุม, ตำบลถาวร, อำเภอละหานทราย, จังหวัดบุรีรัมย์, ปราสาทเขาดุม บ้านถาวร ตำบลถาวร อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, กระกัมรเตงชคต, ขุนนางผู้ใหญ่ไจรก, บัณฑิต, กัมเสตงมะอาง, พระเจ้าศรีอุทยาทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีอุทยาทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, ปรชาชน, ไต, สิ, กัมรเตงอัญผู้ปกครองมณฑล, เตงตวน, กัมเสตงอัญ, โขลญพล, ผู้รักษาการณ์ในกัมรเตง, ปันทาง, คาย, สิงโห, บัณฑิตา, กุน, ไพรกันโลง, พราหมณ์, ฮินดู, พิธีฉลองศาลาประจำเมือง, วันอังคาร, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1599, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าศรีสูรยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-กัมเสตง, บุคคล-พระกมรเตงอัญ, บุคคล-พระเจ้าศรีอุทยาทิตยวรมันที่ 2, บุคคล-ไจรก |
สำนักสงฆ์วัดเขาหลุบ บ้านถาวร ตำบลถาวร อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ (สำรวจข้อมูลวันที่ 17/1/2563) |
พุทธศักราช 1599 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1157?lang=th |
28 |
จารึกปราสาทหินพิมาย 2 |
ขอมโบราณ |
เนื้อความด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระเจ้าผู้มีพระพักตร์ 4 ทิศ จากนั้นก็กล่าวถึงการซื้อทาส แลสิ่งของเพื่อถวายแด่เทวรูปในเทวสถาน ในวันบรรพวิวัสนะ และวันสงกรานต์ เนื้อความด้านที่ 2 กล่าวสรรเสริญพระเจ้าสุริยวรมันผู้มีทรัพย์มากและมีธรรมอันแน่นหนา |
จารึกปราสาทหินพิมาย 2, จารึกปราสาทหินพิมาย 2, นม. 29, นม. 29, หลักที่ 59 ศิลาจารึกปราสาทหินพิมาย, หลักที่ 59 ศิลาจารึกปราสาทหินพิมาย, พ.ศ. 1589, ม.ศ. 968, พ.ศ. 1589, ม.ศ. 968, พุทธศักราช 1589, มหาศักราช 968, พุทธศักราช 1589, มหาศักราช 968, ศิลา, ใบเสมา, ปราสาทหินพิมาย, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคต, กัมรเตงชคต, พระพรหม, พระวิษณุ, มาร, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระพุทธเจ้า, ศรีสูรยวรมะ, ศรีสูรยวรมัน, ไต, ทอง, ข้าวสาร, จันลยากอรุง, ผ้า, บัลลังก์, น้ำมัน, ดอกบัว, พระบาท, ภาวะรายชื่อ, กำวิด, พราหมณ์, ฮินดู, การถวายสิ่งของและข้าทาส, การกัลปนา, มะเส็ง, บรรพทิวัสนะ, วันสงกรานต์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1579, อายุ-จารึก พ.ศ. 1589, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่องการบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระพุทธเจ้า |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1589 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/395?lang=th |
29 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 7 |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 จารึกเป็นภาษาสันสกฤต ได้กล่าวว่า พระอาทิตย์บนท้องฟ้าแห่งนี้ เป็นต้นวงศ์ของศรีกัมพุช ด้านที่ 2 จารึกเป็นภาษาเขมร ได้บอกพระนามของพระเจ้าราเชนทรวรมันหรือพระบาทศิวโลก |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 7, จารึกปราสาทหินพนมวัน 7, นม. 6, นม. 6, ศิลา, ใบเสมา, ปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า, ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระราชวงศ์, ศรีกัมพุช, พระอาทิตย์, วันศุกร์, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน,ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-ประวัติศาสตร์กัมพูชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/409?lang=th |
30 |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 2 |
ขอมโบราณ |
เริ่มต้นด้วยการกล่าวสรรเสริญพระศิวะ และพระวิษณุ จากนั้นได้กล่าวสรรเสริญพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 แล้วกล่าวถึงเรื่องที่พระองค์ได้แต่งตั้ง วีรวรมัน ให้เป็นผู้ตรวจการกองทัพ พระองค์ได้พระราชทานที่ดิน และทรัพย์สมบัติเป็นจำนวนมากแก่เขา ทั้งยังได้พระราชทานนามแก่เขา (วีรวรมัน) ว่า “กฤตัชญวัลลภ” จากนั้นจารึกได้กล่าวถึงการถวายทาสและสิ่งของแก่เทวรูป ทั้งยังได้กล่าวถึงการกำหนดเขตแดนของเทวสถานอีกด้วย |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 2, จารึกปราสาทหินพนมวัน 2, นม. 33, นม. 33, Piedroits de Nom Van, K. 393, พ.ศ. 1598, ม.ศ. 977, พ.ศ. 1598, ม.ศ. 977, พุทธศักราช 1598, มหาศักราช 977, พุทธศักราช 1598, มหาศักราช 977, ศิลา, เสาซุ้มประตูรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เสาหลืบประตูปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พราหมณ์, พระวิษณุ, พระอิศวร, พระพรหม, ศรีสูรยวรมัน, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วีรวรมัน, ศรีอุทยาทิตยวรมัน, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระบาทพรหมโลก, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระเจ้าพรหมโลก, ศรรพสกุล, ศรวสกุล, กฤตัชญวัลลภ, ทาส, นักประพันธุ์, บิดา, บุตร, ผู้ตรวจการกองทัพ, ข้าราชบริพาร สิ่งของ: ดอกบัว, สาระ, ทวาร, โภคะ, เสลี่ยงยูงทอง, งา, เพชร, พลอย, สัข์, แก้ว, ประพาฬ, มรกต, มุกดา, ทอง, เงิน, ของกำนัล สถานที่: สุขาลัย, อาศรม, สตุกกทัมพกะ, พนมพระ, อังเวง, ณทาหกะ, สวาทเยา, เทวาลัย, สมรภูมิ, เมืองสุขาลัย, นรก, สตุกกทัมพกะ, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, เขื่อน, สังสารวัฏ, ไตรโลก, พราหมณ์, ฮินดู, พรหมโลก, ธรรม, กุศล, กลางวัน, กลางคืน, บุญ, ธรรม, เทวาลัย, อาศรม, การเฉลิมฉลอง, พระบาทบงกช, คู่, ยุค, กฤติกา, หมู่บ้าน, กองทัพ, ความยุติธรรม, ที่ดิน, เทวรูป, กระบวนแห่, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1597, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-วีรวรมัน |
ประตูตะวันออกปราสาทประธานปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563) |
พุทธศักราช 1598 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/398?lang=th |
31 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 6 |
ขอมโบราณ |
ข้อความไม่สมบูรณ์ทั้ง 4 ชิ้น ชิ้นที่ 1 กล่าวห้ามไม่ให้ผู้ใดล่วงล้ำเข้าไปในอาณาเขตของอาศรม จากนั้นก็กล่าวถึงอาณาเขตของอาศรม ชิ้นที่ 2 มีคำจารึกอยู่ 2 คำ จับใจความไม่ได้ ชิ้นที่ 3 กล่าวถึงการถวายสิ่งของและทาสแด่เทวสถาน ชิ้นที่ 4 เป็นคำสาปแช่งผู้ที่ล่วงละเมิด |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 6, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 6, บร. 13, บร. 13, Stele de Phnom Rung, K. 1072, K. 1091, K. 1071, ศิลา, หินทราย, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงอัญ, วาบ, ไต, โฆ, มน, มัน, นขะ, นัข, มูล, กัญจน, กัญจัน, กันสา, น้ำมัน, งา, ถั่ว, พราหมณ์, ฮินดู, ธรรม, ราเชนทราศรม, การถวายสิ่งของ, การถวายทาส, กัลปนา, สงกรานต์, พระจันทร์, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/404?lang=th |
32 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5 |
ขอมโบราณ |
ข้อความทั้งหมดเป็นรายชื่อของทาส |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5, บร. 12, บร. 12, Stele de Phnom Rung, K. 1066, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, ไต, ใต, โฆ, กำวระ, กำพระ, สราจ, ปันโส, กันจน, กันจัน, กันลาง, กันสอ, ปันทาน, กำบิด, นรายณ์, กันละ, กันลอ, กันสยาง, กันเสียง, ภัทระ, ถบล, ตรุ, กันทราม, กำเบน, บวิตร, ปวิตร, บพิตร, เขมาจามป์, กันเทง, จริยา, กันเส, ปรากรม, สำราจ, สังวาร, กรันโส, กำปรวด, เผนส, ปโรง, ปันทน, ปันทัน, กันทวาด, ธรรม, กะ, กอ, ถะเกน, กรันเส, ถอยก, เถอียก, กำเวรา, กันรุก, ละเงง, กำไว, กำไพ, เสน่ห์, กำภะ, กำภอ, กันเทส, สุรภิ, ธรรม, กัญชน, กัญชัน, สงวน, กัญโชส, เถลม, กันชน, กันชัน, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/369?lang=th |
33 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 4 |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 กล่าวถึงข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่ได้ซื้อที่ดิน ทาส และสิ่งของเพื่อถวายแด่พระกัมรเตงชคตพนมรุ้ง (เทวสถาน) ด้านที่ 2 เป็นรายการสิ่งของที่ถวาย และรายชื่อทาสที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในเทวสถาน |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 4, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 4, บร. 9, บร. 9, Stele de Phnom Rung, K. 1068, ศิลา, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงชคตพนมรุ้ง, โยคี, ไต, โฆยศ, พระลำเบง, พระจังวาด, พระจังหวัด, พระอาลักษณ์, พระลำเบง, พระชนานจัพละ, ครู, เข, กำวระ, กำพระ, กำโวะ, กำโพะ, ชิสตวน, ชิสตวัน, ขทิด, ช้าง, ม้า, แพะ, หมูสิ่งของ: ข้าวสาร, เหล้าสถานที่: เมืองลำเบง, พนมรุ้ง, เมืองโยคี, พราหมณ์, ฮินดู, อาศรม, การสร้างเมือง, การสร้างอาศรม, การถวายทาส, การสร้างหล่ออักษร, บัญชี, พระราชบัญญัติ, ราชยธรรม, สงกรานต์, ที่ดิน, พระอาทิตย์, พระจันทร์, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/366?lang=th |
34 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3 |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 กล่าวถึงพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 ที่ทรงเสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติในประเทศกัมพูชาเมื่อปี พ.ศ. 1487 พระองค์ทรงถวายเพดาน ทรงสร้างสระน้ำ ทรงทำกองอิฐ และทรงถวายอาศรมพร้อมทาสและสิ่งของต่างๆ แด่เทวสถาน ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ตามด้วยรายการสิ่งของและรายชื่อทาสที่พระองค์ทรงถวายแด่เทวสถาน ด้านที่ 3 กล่าวถึงพวกโขลญที่ได้ซื้อที่ดินให้แก่ผู้เป็นประภูวิษัยต่างๆ นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึงการถวายทาสและสิ่งของแด่เทวสถานไว้ด้วย |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3, บร. 18, บร. 18, พ.ศ. 1487, พุทธศักราช 1487, พ.ศ. 1487, พุทธศักราช 1487, ม.ศ. 866, มหาศักราช 866, ม.ศ. 866, มหาศักราช 866, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, กัมรเตงชคต, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ราชาบดี, กัมรเตงอัญศรีชัยวรมันเทวะ, กัมรเตงอัญศรีชัยวรรมเทวะ, กัมรเตงอัญศรีชัยวรมเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, สิ, ไต, วาบ, บัณฑิต, พระราชา, ข้าศึก, ราชาธิบดี, นักรบ, ทาส, กันลาง, กันโส, บังคม, กัญชาน, กำพราม, ปันโส, พรหม, สนุม, ไต, ชะเนา, กำบิด, กำ, จำโบก, กำบิน, เถนม, จามป์, ภัทระ, กัญชา, กำไพ, กำไว, สำอบ, ชาส, กัญชุ, ประยงค์, กันลาง, ทร, เพรา, ศรีครรภะ, นน, นัน, บรยศ, ประภูวิษัย, โขลญพล, โขลญวิผะ, โขลญวิษัย, ราชสีห์, พระยาราชสีห์, ม้า, น้ำนม, ทรัพย์, วัตถุ, เครื่องประดับ, ทองคำ, เพดานแดง, กองอิฐ, ภาชนะ, เครื่องดนตรี, ขันเงิน, กัมพูชา, พนมรุ้ง, พนมรุง, วิชัยบุรี, สนามรบ, สระน้ำ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, กุติ, เทวสถาน, อาศรม, การถวายเพดาน, การถวายสิ่งของ, การถวายข้าทาส, การบูชา, กัลปนา, รัฐประสาสนศาสตร์, มรดก, ราชอาณาจักร, คุณธรรม, เมฆ, ฝน, ทิศ, ยุติธรรม, ความรัก, ไฟ, ดวงจันทร์, พระบาท, สมาคม, อากาศ, พระวรกาย, สงคราม, วสันตฤดู, การรบ, แสงอาทิตย์, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, บุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/400?lang=th |
35 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2 |
ขอมโบราณ |
ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ทราบเพียงว่า ในมหาศักราช 911 มีการซื้อที่ดิน และถวายที่ดินแด่พระกัมรเตงชคตแห่งพนมรุ้ง โดยที่ดินที่ถวายนี้จะต้องไม่อยู่ในความคุ้มครองของโขลญวิษัย จากนั้นก็กล่าวถึงเขตแดนของที่ดินดังกล่าว |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2, บร. 11, บร. 11, Stele de Phnom Rung, K. 1067, พ.ศ. 1532, พุทธศักราช 1532, พ.ศ. 1532, พุทธศักราช 1532, ม.ศ. 911, มหาศักราช 911, ม.ศ. 911, มหาศักราช 911, ศิลา, หินชนวน, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงชคต, วีเรนทรวรมัน, มรตาญโขลญศรีภุวนาทิตย์, วาบ, ทศารถะยศ, โขลญวิษัย, อยก, เอียก, อบ, พิษ, เหม, กระบือ, ขรุม, กระยาว, ทรัพย์, เครื่องนุ่งห่ม, ถบลกันทวา, ตาขลง, ขลุง, พนมรุง, พนมรุ้ง, ปรยนประลุง, เปรียนประลุง, การถวายที่ดิน, ที่ดิน, อมฤต, พระราชโองการ, หลักเขต, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 : อักษรขอม พุทธศตวรรษที่ 15-16, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ. 1532, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศักราช 1532 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/363?lang=th |
36 |
จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกด้านที่ 1 กล่าวถึง พระบรมบพิตรกัมเสตงศรีชยสิงสวรมัน มีพระอาลักษณ์ไปถึงกัมเสตงสภาบดี ซึ่งเป็นข้าราชการชั้นตรี ให้ติดตามรับใช้พระสภากับพระหรปาล ไปปักหลักเขตที่ดินเมืองสิทธิปุระ ซึ่งพระราชทานเป็นของกำนัลแก่เตงตวนปิตถะเว ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง กัมรเตงอัญชั้นตรี และให้คณะที่ไปด้วยกันสาธยายอธิบายพระธรรมศาสตร์ แก่โขลญสวายทั้งปวงฟังด้วย ข้อความจารึกด้านที่ 2 เป็นข้อความของผู้เขียนจารึก ใช้นามว่า ข้าพเจ้าผู้ชื่อ เตง ปิตถะเว ได้มอบให้กัมรเตงชคัตศิวบาท ให้อยู่ในการดูแลของ ตวน หวร นอกจากนั้น เตง ปิตถะเว ยังมอบข้าทาสและวัตถุสิ่งของให้ด้วย แต่ไม่ให้แก่ข้าทาสที่อยู่อาศัยมาก่อน ทั้งยังสาปแช่งให้พวกเขาตกนรก เพราะพวกเขายุยงข้าทาสด้วยกันให้กระด้างกระเดื่องต่อลูกหลานของ เตง ปิตถะเว บรรทัดที่ 14-19 กล่าวถึงพระเจ้าศรีสุริยวรมันได้ประทานเงินทอง บรรจุไว้ที่ฐานอันมั่นคงของพระศิวะ ทั้งยังได้สาปแช่งผู้ทำลายฐานนี้ให้ตกนรก สิ้นกาลมหาโกฏิ ข้อความจารึกด้านที่ 3 ค่อนข้างชำรุด จับความได้ว่า บุตรของนางพร้อมด้วยภรรยาของเขา พึงหมั่นรักษาฐาน (ของพระศิวะ) นั้นให้มั่นคงต่อไปอีก |
สร. 16, สร. 16, จารึกปราสาทตาเมือนธม 5, จารึกปราสาทตาเมือนธม 5, มหาศักราช 942, มหาศักราช 942, ม.ศ. 942, ม.ศ. 942, พุทธศักราช 1563, พุทธศักราช 1563, พ.ศ. 1563, พ.ศ. 1563, หินทราย, รูปใบเสมา ส่วนล่างมีรอยแตก, บริเวณมุขกระสันปราสาทประธาน, ปราสาทตาเมือนธม, ตำบลตาเมียง, บ้านหนองคันนา, อำเภอกาบเชิง, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, พระจันทร์, พระอาทิตย์, พระศรี, พระกรุณาบรมบพิตร, กัมเสตง ศรีชยสิงสวรมัน, พระกัมรเตงอัญ กัมเสตง สภาบดี ชั้นตรี, พระสภา, พระหรปาล, เตงตวน, ปิตเถฺว, ปิตถะเว, พระกัมรเตงอัญ ชั้นตรี, พระกัมรเตงอัญสภาบดี ชั้นเอก, พระกัมรเตงอัญสภาบดี ชั้นโท, โขลญสวาย, พระปรติหระ, กัมเสตง ศรีราเชนทราทิตย, โขลญผู้ตรวจราชการ, ใตกัมปูร, ใตอาท, ใตสาป, ใตกัมใวย, ใตจัป, ใตกัมเสตง, ศรีชยสิงหวรมัน, กัมเสตง ศรีราเชนทราทิตยะ, ใตกัมใวโสต, ใตกัมเทง, ใตพีช, ใตวยัก, สิสปี, สิมรักตะ, สิเขนต, สิสวัป, สอตนา, กัมรเตงชคัตศิวบาท, เตงตวนหวร, เตงปิตเถฺว, เตงปิตถะเว, ตวนผู้เป็นหลาน, ญาติ, ข้าทาส, คนงาน, บุตรหลาน, ศรีสูรยวรมัน, ภรรยา, แพะ, ถั่วจตุรมาส, ข้าวสาร, เครื่องบูชา, ถาส, ถาด, ทอง, เงิน, ข้าวเปลือก, วระเตงฏัป, สลัก, สิทธิปุระ, พุทธศาสนานิกายมหายาน, พุทธศาสนามหายาน, พุทธมหายาน, พราหมณ์, ฮินดู, เทวสถาน, ฐานพระศิวะ, ปักหลักเขตที่ดิน, ถวายทรัพย์, วันพุธ, พระอาลักษณ์, ของกำนัล, พระธรรมศาสตร์, พระอาลักษณ์, โรคผิวหนัง, นรก, ดวงตา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, Saveros POU, Dictionnaire Vieux Khmer-Français-Anglais, อายุ-จารึก พ.ศ. 1563, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่สำนักงานชั่วคราวของหน่วยศิลปากรที่ 6 สุรินทร์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาพระศิวลึงค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-เตง ปิตถะเว, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ ตำบลเฉนียง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ข้อมูลวันที่ 18/1/2563) |
พุทธศักราช 1563 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3019?lang=th |
37 |
จารึกบ้านเมย |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระกัมรเตงอัญอนันตศรีย...ซึ่งเป็นหลานของภควัตปาท กัมรเตงอัญ จุงคะนัง ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้า (คงหมายถึงผู้สร้างจารึกบ้านเมยหลักนี้ บรรทัดที่ 10 บอกว่า ข้าพเจ้าคือ วะมา เพียง 1 คน รับผิดชอบเครื่องบูชาทุกวันๆ ละ 5 ลิ) ทำพลีกรรมบูชาพระกัมรเตงชคัด กันมยังศีลคุณ ในอาศรม ส่วนนาข้าวให้ข้าทาสอีกจำนวนหนึ่งเป็นผู้ดูแลและข้าพเจ้าคือวะมาเพียงผู้เดียว ดูแลจัดการเครื่องบูชาประจำวัน วันละ 5 ลิ ข้อความจารึกห้ามไม่ให้หน่วยงานใดๆ เรียกข้าทาสเหล่านี้ไปใช้งานอื่น นอกจากงานรับใช้พระกัมรเตงชคัตในอาศรมเท่านั้น นอกจากนั้น ข้อความจารึกได้จัดความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุและบุคคลสำคัญไว้อย่างเป็นระเบียบด้วย |
จารึกบ้านเมย, ศิลา, หินทราย, กรอบประตูพระปรางค์, พ.ศ. 1596, พุทธศักราช 1596, ม.ศ. 975, มหาศักราช 975, พ.ศ. 1596, พุทธศักราช 1596, ม.ศ. 975, มหาศักราช 975, จารึกหินทราย, ชิ้นส่วนกรอบประตูพระปรางค์แบบลพบุรี, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, บ้านเมย ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น, วัดบ้านเมย, พระกัมรเตงอัญอนันตศรีย, ภควัตปาท, กัมรเตงอัญ, จุงคะนัง, วะมา, เครื่องบูชา, พลีกรรม, พระกัมรเตงชคัด, กันมยังศีลคุณ, อาศรม, นาข้าว, ข้าทาส, พระกัมรเตง อัญ อนันตสรีย, เจ้าบาทกัมรเตง อัญ จุง คะนัง, ข้าวเปลือก, อาศรม, สิเตง, อวิละ, สังเตง, อัมวิละ, ใตพรหม ใตสิบท, แม่สังสัตยัง, สิขะโท, สิจงโธย, ไตกัณโฐง, กันฆาง, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1596, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบ้านเมย ขอนแก่น, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 1596 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19153?lang=th |
38 |
จารึกทวลระลมทิม |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงการตัดสินคดีความว่าด้วยเรื่องทาส คือ เจ้าของทาสยกทาสให้ผู้อื่น แล้วปรากฏว่าทาสนั้นหนีไป แทนที่เจ้าของทาสจะแจ้งแก่ทางราชการ กลับปิดบังไว้ แล้วส่งคนอื่นไปรับใช้แทนทาสที่หนีไปนั้น และเมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้ที่เป็นเจ้าของทาสนั้นจะต้องถูกลงโทษ |
จารึกทวลระลมทิม, ปจ. 6, ปจ. 6, Tuol Rolom Tim, K. 233, ศิลา, หินทรายเนื้อละเอียด, แท่งสี่เหลี่ยมชำรุด, ตำบลโคกสูง, อำเภอตาพระยา, จังหวัดสระแก้ว, กิ่งอำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, พระลำพาง, วาบ, ไต, พระกัมรเตงอัญศิวปัตตนะ, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระบาทพรหมโลก, พระกัมรเตงอัญ, โขลญสรูเชิงพนม, เรา, ทศาธิกฤต, โนส, กันเหียง, อเบ, กำบิด, กำปิด, วากเศม, ควาย, กระบือ, ศิลาจารึก, วิชัยปัตตนะ, วิชัยปัตตะ, พนมเจรง, พรหมโลก, เสตญพนมเจรง, เมืองบานทาคาร, สภาจาเรวยะ, ธุลีพระบาท, ธุลีเชิง, พระราชการ, คำประกาศทางราชการ, คดี, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-พิจารณาและตัดสินคดี, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 16 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/371?lang=th |
39 |
จารึกดวงตราประทับจากปราสาทเขาน้อย |
ขอมโบราณ |
เป็นจารึกบนดวงตราประทับ มีจารึกคำเดียวคือ “เกฺษะ” ซึ่งแปลความหมายได้หลายอย่าง แต่ความหมายที่เหมาะสมและกลมกลืนที่สุดคือ พึงอนุญาต, ควรอนุญาต สันนิษฐานว่าดวงตราประทับนี้น่าจะใช้เป็นคำสั่งของผู้มีอำนาจ เพื่ออนุญาตให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งทำกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นต้น |
จารึกดวงตราประทับจากปราสาทเขาน้อย, ปจ. 28, ปจ. 28, เหล็กหุ้มสำริด, เหล็กหุ้มสัมฤทธิ์, ดวงตราประทับ สถานที่พบ: ปราสาทเขาน้อย วัดเขาน้อยสีชมพู บ้านเขาน้อย ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ (ข้อมูลเดิมว่า จังหวัดปราจีนบุรี) จังหวัดสระแก้ว, เขอมสมัยพระนคร, เกษะ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนเหล็กหุ้มสำริด, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1166?lang=th |