ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกกลุ่มที่มีคำสาปแช่ง

ชุดข้อมูลจารึกกลุ่มที่มีคำสาปแช่ง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 29 มี.ค. 2565 16:18:04 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2565 16:28:48 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกเมืองเสมา

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระอุมา และพระสรัสวดี จากนั้นได้กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 หรือพระบาทบรมวีรโลกว่าทรงเป็นโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมัน และทรงสืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์ (โสมานฺวย) กล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ว่าได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจไว้อย่างไรบ้าง สุดท้ายก็ได้กล่าวถึงข้าราชการผู้ใหญ่ที่ได้สร้างเทวรูปและพระพุทธรูปไว้หลายองค์ พร้อมทั้งถวายทาสและสิ่งของต่างๆ แด่ศาสนสถานไว้อีกด้วย

จารึกเมืองเสมา, นม. 25, นม. 15, Stele de Sema (Korat) (K. 1141), พ.ศ. 1514, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, มหาศักราช 893, ศิลา, หินทรายสีขาว, หลักสี่เหลี่ยม, เมืองเสมา, ตำบลเสมา, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอุมา, พระรุทระ, พระวิษณุ, พระพรหม, เคารี, สรัสวตี, สรัสวดี, กามเทพ, ศิวลิงค์, ลิงค์, พระมเหศวร, ศิวลึงค์, ยัชญวราหะ, ศิขรสวามี, พระเทวี, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญภควดี, พระประติมากรรม, พระพุทธรูป, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, จันทรวงศ์, ศรีโรทรวรมัน, ศรีทฤฒภักดีสิงหวรมัน, ตระลาว, ตระลาวศรีโรทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญผู้ราชา, โฆ, ไต, พราหมณ์, พระสหาย, คนอนาถา, คนมีทุกข์, คนยากจน, บัณฑิต, คนยากไร้, คนตาบอด, คนป่วยไข้, คนแก่เฒ่า, คนชรา, มนตรี, ทาส, กำเพรา, ตฤป, จน, กำประวาด, ถะเอียก, กำวิด, กำพิด, กำปราก, กัญชน, อุย, นาราย, ประวาด, โขลญวิษัย, เสตงอัญพระครู, กำเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, สัตว์เดรัจฉาน, ช้างป่า, ไทยทาน, จัญจูล, อาสนะบัว, ทอง, ธนู, ประทีป, น้ำ, ดอกบัว, อาภรณ์โภคะ, ขันเงิน, ภาชนะ, ข้าวสาร, อากร, ทุรคาอิศวรบุรี, ทัมรง, สวรรค์, ปราสาท, สวน, พราหมณ์, ฮินดู, พระเวท, พระมนูศาสตร์, ไศวะนิกาย, บุณย์, บุญ, สมาธิ, คัมภีร์พระเวท, พระมนูศาสตร์, คุณธรรม, นิกายไศวะ, ทาน, พระธรรม, วรรณาศรม, อาศรม, พลีกรรม, การอภิเษก, การกัลปนา, พลีกรรม, การถวายทาส, พิธีเบิกพระเนตร, สาปแช่ง, การเฉลิมฉลอง, กลียุค, ฝนแก้วมุกดา, ไตรโลก, ไตรเพท, สรรพวิทยา, มนตร์, พระจันทร์, องค์สี่, จักรวาล, คำกลอน, ละคร, วิทยาการ, ราชสมบัติ, วันคราส, ทุ่งนา, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1514, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี , ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ,เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระสรัสวดี, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1514

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/353?lang=th

2

จารึกอุบมุง

ขอมโบราณ

จารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม และพระอุมา จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชดำรัสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (มหาศักราช 968-1001) ให้ถวายอาศรมและที่ดินแก่พระผู้เป็นเจ้า และให้ร่วมกันปฏิบัติดูแลพระผู้เป็นเจ้า (เทวรูป) และหากผู้ใดไม่ทำตามก็แช่งให้ตกนรก จากนั้นก็เป็นรายนามทาส และจำนวนสิ่งของที่ถวาย

จารึกอุบมุง, อบ. 10, ฐ.จ. 18, อบ. 10, ฐ.จ. 18, Inscription de Vat Pa Saen (Ubon), K. 1085, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านอุบมุง, อำเภอวารินชำราบ, จังหวัดอุบลราชธานี, ตำบลโคกสว่าง, อำเภอสำโรง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, พระพรหม, พระมเหศวร, พระอุมา, พระรุทระ, ศักติ, พระพิฆเนศ, พระเทวี, พระคงคา, พระอาทิตย์, พระกัมรเตงชคต, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วาบ, ไต, สิ, โลญ, ศักดิ์พยาปิ, เสตงอัญอาจารย์ภควัน, เสตงอัญกษิการ, เสตงอัญพระลำพาง, มรตาญขโลญศรีนฤเปนทรริมถะ, อาจารย์ภควันประสาน, พระกัมรเตงอัญประสาน, สัตยานตราจารย์, บพิตร, ปวิตร, พระเจ้าแผ่นดิน, ประธาน, พระผู้เป็นเจ้า, หร, อาศรม, ถะเง, ปโรง, พรุณ, กันเดง, ขชะ, เขมา, กำประหวาด, ดันเทบ, อาย, กำพระ, ปราณ, ตันเชส, จำเลา, ตีรถะ, กำบิด, ปันทน, ปันทัน, ดันทวาจ, กันตฤป, กำเพรา, กันธะ, ขะทะวาด, กำพระ, กำบร, ขะนล, กำ ไพ, ไว, ภัทระ, สำอบ, สนุม, กำไว, ปันลส, ปันลัส, กันโส, อคด, อคัด, กำพิ, กำวิ, ถะเอียก, กำดอ, กันอส, กันอัส, กำบญ, กำบัญ, กันธีบ, กันเชส, บิณฑะ, ถะเง, กำบู, สวัสดี, ถะลก, ปันสม, ปันเตม, บำนบ, บันนับ, บันทน, บันทัน, กำนจ, กำนัจ, ปะนวส, คันธะ, กันรวน, กันสอ, เถลิม, กันสรัจ, ธรรม, กันเทส, สุริยะ, กันเหียง, อัจยุต, ผะเอม, ปันโส, ปิ่น, ดอกบัว, สังข์, ดอกไม้, ถั่วจตุรมาส, ถั่วเดือนสี่, ถาด, ขันทองแดง, เครื่องกระยา, น้ำสรง, มะพร้าว, จรุ, สะเอกระ, ทรัพย์, พลเพียลเชิงพลุก, ถาดมีขา, เชิงตริบาท, น้ำมัน, ธูป, เทียน, กระทะ, ขันทองแดง, จาปะทองแดง, ขันเงิน, แหวนประดับพลอยสีขาบ, ถ้วย, หม้อทองแดง, เสลี่ยง, ดอกบัว, สังข์, ผลไม้, ต้นขวัส, ต้นขวส, ต้นตะกุ, ต้นตะกู, หญ้า, ทีปธารณ์, ถบลรญโคศาลมวาย, รัญโคศาลมวาย, ตรางทวาร, เชงพระยัชญะ, สันธานิบุรี, สดุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทาร, โชร, หินขยวาย, ทำนบ, พะนวน, สันธานิบุรี, สตุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทร, เชิงกรานทองแดง, ข้าวสุก, ทำนบหิน, หนองกก, ประเทศ, สวรรค์, พราหมณ์, ฮินดู, กุติสรวจ, กุติสรวาจ, ลิงคปุระ, กันโลง, กุติสระวาจ, อาศรม, กัลปนา, ทักษิณาทาน, การบูชาพระเพลิง, การถวายข้าทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, สังสารวัฏ, สงกรานต์, พระเพลิง, ทะนาน, ถะโงย, จำโบง, ปรัสถะ, งานมหรสพ, พระบรมราชโองการ, พระเนตร, จอมอสูร, โลก, สะดือบัว, สรีระ, เทวดา, มณเฑียร, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, คำสาปแช่ง, ตกนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1536, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายอาศรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1536

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/388?lang=th

3

จารึกหินขอน 1

หลังปัลลวะ

ศ. ยอร์ช เซเดส์ อธิบายไว้ว่า จารึกภาษาสันสกฤตด้านที่ 1 และ 2 นั้น เป็นของนักพรต ซึ่งมีตำแหน่งเป็นราชภิกษุ ท่านได้สร้างใบเสมาศิลาขึ้น 4 แผ่น ซึ่งคงรวมเสาหินที่มีจารึกและภาพสลักเหล่านี้ไว้ด้วย และยังได้สร้างวิหาร ซึ่งท่านได้บริจาคสิ่งของเป็นอันมาก เราจะเห็นได้ว่า ท่านราชภิกษุ ผู้นี้คือ เจ้าชายซึ่งได้ออกผนวช จารึกบทอื่นๆ คงมีแต่การสาปแช่ง ส่วนข้อความภาษาเขมรนั้น ชำรุดไปมาก ท่านราชภิกษุผู้นี้ มีสมญาว่า “อุปธยายะ” และสถานที่ตั้งศาสนสถานของท่านซึ่งคงเป็นหินขอนนี้เอง ก็มีนามว่า “เสฺราพฺรา” หรือ “สฺโรพฺรา” ซึ่งในอีกจารึกหนึ่ง เรียกว่า “สฺโรพฺราอะ” จารึกด้านที่ 2 จบลงด้วยการเริ่มต้นบัญชีสิ่งที่บริจาค ซึ่งมีต่อไปในด้านที่ 3 ส่วนจารึกด้านที่ 4 นั้นแจ้งให้เราทราบว่า ท่านราชภิกษุนี้เป็นเจ้า (หรือพระเจ้า) นฤเปนทราธิปติวรมัน โอรสของผู้สูงศักดิ์อีกองค์หนึ่ง ซึ่งมีพระนามคล้ายคลึงกัน ทั้งสององค์คงเป็นเจ้านายในราชวงศ์พื้นเมือง ต่อจากนั้น จารึกก็กล่าวถึง กำหนดเขตของพื้นที่ ซึ่งอาจมีชื่อว่า “สฺตุกสฺวาย” และการบริจาคที่ดินแห่งนี้ ก็คงจะจารึกอยู่ในบทก่อนหน้านั้น

จารึกหินขอน 1, จารึกหินขอน 1, นม. 28, นม. 28, Piliers de Hin Khon, K. 388, หลักที่ 121 จารึก 2 หลักบนเสาที่หินขอน อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา, หลักที่ 121 จารึก 2 หลักบนเสาที่หินขอน อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา, ศิลา, ท่านศรีราชภิกษุ, คณะสงฆ์, พระสุคต, ทาส, วรรณะทั้งสี่, คนเลว, คนชั่ว, ท่านอุปาธยายะศรีราชภิกษุ, พระกยากศรีวฤทเธศวร, อินทรวรมะจักรวรรติ, อินทรวรมะจักรพรรติ, อินทรวรมันจักรวรรติ, อินทรวรมันจักรพรรติ, พระเจ้าอินทรวรมัน, ตำรางเสตง, พระกำมรเตงอัญศรีจักรวรรติอินทรวรมัน, พระกำมรเตงอัญศรีจักรพรรติอินทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีจักรวรรติอินทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีจักรพรรติอินทรวรมัน, กำมรเตงอัญวิกรมรุทระ, กัมมรเตงอัญวิกรมรุทระ, พระผู้เป็นเจ้า, ทาสพระ, ข้าพระ, กำมรเตงอัญศรีราชภิกษุ, กัมรเตงอัญศรีราชภิกษุ, ศรีนฤเปนทราธิปติวรมัน, กันไต, โวธิคนะ, โวธิปริยะ, คิ, หฤทัยรักษะ, ศีลคนะ, กทัต, กไชย, ทวาร, มนุธรรม, วิทยาคุปตะ, กันเยง, โวธิศีล, ภัทร, โวธิคุปตะ, โวธีคุปตะ, โวธิปาล, โวธิสัมโภต, กัลปพฤกษ์, ต้นหมาก, โค, วัว, ช้าง. เสมาศิลา, สีมาศิลา, จีวร, กฐิน, เครื่องนุ่งห่ม, อาหาร, เครื่องขบเคี้ยว, เครื่องดื่ม, หมาก, ผลไม้, ดอกไม้, ต้นไม้, เชิงเทียนเหล็ก, รังคะ, เหล็กแท่ง, วรรธมานะ, ขวด, สังข์, ทองแดง, จรา, กำยาน, คธา, คทา, จันโหยทอง, จันโหยเงิน, ทุ่งนา, สวรรค์, สวน, นรก, นรกสามเหลี่ยม, นรกสี่เหลี่ยม, นรกห้าเหลี่ยม, นรกหกเหลี่ยม, นรกเจ็ดเหลี่ยม, นรกแปดเหลี่ยม, เสราพรา, ถนน, สตุกสวาย, พุทธศาสนา, ทาน, วัด, เจดีย์, วิหาร, การบริจาคทาน, ตรงใจ หุตางกูร, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านหินขอน นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-พระเจ้านฤเปนทราธิปติวรมัน, บุคคล-อุปาธยายะศรีราชภิกษุ

บ้านหินขอน (ไม่ทราบว่าหมายถึงที่ไหนในปัจจุบัน) อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ไม่ปรากฏหลักฐาน (วันที่ 11 มีนาคม 2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/900?lang=th

4

จารึกวิหารจันทรอาราม

ฝักขาม

ข้อความในจารึกกล่าวถึงบุคคลชื่อ เจ้าหมื่นทาว ซึ่งมีความปรารถนาในโพธิสมภาร ได้สร้างวิหารจันทรอารามขึ้น และบริจาคที่ดินจำนวนมากแก่วัด ตอนท้ายของจารึกมีการสาปแช่งผู้ที่มาเบียดบังที่ดินและสมบัติของวัดให้ตายและอย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย

ชร. 1 จารึกวิหารจันทรอาราม พ.ศ. 2011, ชร. 1 จารึกวิหารจันทรอาราม พ.ศ. 2011, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, จ.ศ. 830, จุลศักราช 830, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, จ.ศ. 830, จุลศักราช 830, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีสุทธาวาส, อำเภอเวียงป่าเป้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นทาว, หมื่นพลางเงินญาง, พระพุทธเจ้า, เจ้าเชียงราย, ขุน, เจ้าตน, วังเหนือ, พุทธศาสนา, จันทรอาราม, วัดเชียงรอ, วัดลูกพระ, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, พุทธรักษ, ธรรมรักษ, สังฆรักษ, อินทรรักษ, พรหมรักษ, วันริก, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุทธ, พระจันทร์, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีกรกฏ, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีกุมภ์, โพธิสมภาร, ปีเปิกไจ้, เพ็ง, วันเต่าไจ้, เม็ง,อาทิตย์, ครัว, นา, พระรัตนตรัย, นักทืน, พระว่านทอง, อินทขีล, อินทขิล, ผืน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2011, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง , มีภาพจำลองอักษร, ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-18, ไฟล์; ChR_0100_p), ภาพสำเนาจารึกจาก : จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 2 (กรุงเทพฯ : มูลนิธิเจมส์ เอช ดับเบิ้ลยู ทอมป์สัน, 2534)

ไม่ปรากฏ (จากการสำรวจเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557 สอบถามข้อมูลจากพระครูคัมภีร์ธรรโมภาส (บรรพต) เจ้าอาวาสวัดศรีสุทธาวาส ท่านกล่าวว่า อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ เมื่อสำรวจครั้งต่อมาวันที่ 29 สิงหาคม 2561 เจ้าหน้าที่แจ้งว่าไม่พบจารึกดังกล่าว คาดว่าอาจส่งคืนไปแล้ว)

พุทธศักราช 2011

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1394?lang=th

5

จารึกวัดไชยเชษฐา

ไทยน้อย

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงพระราชทานที่ดินในการสร้างวัดและวิหาร ตอนท้ายมีใจความสาปแช่งผู้ที่มายึดครองที่ดินเหล่านั้น

นค. 14, นค. 14, จารึกวัดไชยเชฏฐา, ศิลาจารึกวัดไชยเชษฐา (วัดทุ่ง), พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดไชยเชษฐา, บ้านกวนวันใหญ่, ตำบลกวนวัน, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เทวทัต, มหาสังฆราชา, เจ้ามโนรมย์, ธัมมาพรรณ, พระยาธรรมาภินันท์, ประธาน, สมเด็จไชยเชฏฐา, พุทธศาสนา, วิหาร, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพุธ, ราศีมีน, มาสเกณฑ์, หรคุณ, ปีกาบยี่, เดือนยี่, ออก, ดินบ่อน, ภายใน, ภายนอก, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดไชยเชษฐา หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ในพระวิหารวัดไชยเชษฐา บ้านกวนวันใหญ่ ตำบลกวนวัน อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2097

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2396?lang=th

6

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2

ไทยอยุธยา

พ.ศ. 2298 ท้าวพรมกันดาลถวายผู้คนเป็นข้าพระดูแลวัด ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะนำคนเหล่านั้นไปเป็นบ่าวไพร่ โดยขอให้ตกนรกและไม่ได้พบพระพุทธเจ้า

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2, จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2, อย. 4, อย. 4, จารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทยสมัยอยุธยา (พระเจ้าบรมโกศ), พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, จ.ศ. 1117, จุลศักราช 1117, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, จ.ศ. 1117, จุลศักราช 1117, อิฐถือปูน, ฝาผนัง, พระอุโบสถวัดพรหมกัลยาราม, ตำบลคลองสระบัว, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ท้าวพรหมกันดาล, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, นายนาก, นายมา, อ้ายบุญใหญ่, อ้ายบุญน้อย, อ้ายชีย์, อ้ายเกิด, อ้ายสน, อ้ายสี, อ้ายบุญมาก, อีฉิม, อีทองมาก, อีกุ, อีเขียว, พระพุทธเจ้า, ข้าพระ, บ่าวไพร่, พุทธศาสนา, อาราม, นรก, มหาวิจิ, อเวจี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, ลักษณะ-จารึกบนผนัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพรหมกัลยาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-ท้าวพรหมกันดาล, ไม่มีรูป, วัดศรีโพธิ์, วัดใหม่ศรีโพธิ์, วัดพรหมกัลยาราม

พระอุโบสถวัดวัดศรีโพธิ์ (วัดใหม่ศรีโพธิ์) ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2298

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/664?lang=th

7

จารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

ไทยน้อย

เป็นพระบรมราชโองการของสมเด็จพระโพธิสาลราชแห่งล้านช้าง ได้ประกาศให้ท้าวพระยาทั้งปวงช่วยกันฟื้นฟูพุทธศาสนาในวัด อารามต่างๆ ในเมืองจันทบุรี (เวียงจันทน์) และสอดส่องสมณชีพราหมณ์ให้เคร่งครัดในพระวินัย พร้อมทั้งให้ดูแลวิสุงคามสีมา เรือกสวนไร่นา ข้าโอกาสของวัดวาอาราม ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่ทำลายกุศลเจตนาของผู้อุทิศอีกด้วย

นค. 2, นค. 2, ศิลาจารึก ซึ่งได้มาจากวัดแดนเมือง อ. โพนพิสัย จ. หนองคาย อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, หลักที่ 88 ศิลาจารึกวัดแดนเมือง, หลักที่ 88 ศิลาจารึกวัดแดนเมือง, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 2, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 2, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดปัจจันตบุรี, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พระยาแสนสุรินทราชัยไกรเสนาธิบดีศรีสรราชสงคราม, พระยากลางกรุงราชธานี, ประธาน, ข้าทหมื่นใต้เหนือ, ราชบัณฑิต, นันทกุมาร, มหาสามีสารสิทธิมังคละ, ชาวเจ้าสมณพราหมณ์พระอาจารย์, พระภิกษุ, โจรสงฆ์, สมเด็จพระโพธิสาลราช, ลุงพระยา, คนเมือง, คนสังฆการี, ท้าวปะญา, ท้าวพระยา, หมาก, พลู, มะพร้าว, ตาล, ข่อยชื่อ, จันทบุรี, เมืองเวียงจันทน์, ราชธานี, ไร่นาบ้านเมือง, พุทธศาสนา, พระพิหาร, พระวิหาร, สิกขากาม, การสึก, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ปีมะแม, ภัทรมาส, วันอังคาร, ฤกษ์, บุษย, สมเด็จบพิตรพระโพธิสาละราช, อาจุละ, พระอาตานาติย, พระราชอาชญา, นรก,

วัดปัจจันตบุรี ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2078

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2245?lang=th

8

จารึกวัดเทพจันทร์

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระวิหารวัดเทพจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2277 โดยกรมหลวงราชานุรัตน์และมหาเพชญผู้เป็นเจ้าอาวาส ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะทำอันตรายแก่พระพุทธรูปและวิหาร โดยขอให้ตกนรกอเวจี อย่าทันพบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และกล่าวถึงผู้บูรณะมณฑปพระพุทธบาทคือ พระสงฆ์ นามว่า เหมือน และสมภารวัดเทพจันทร์ การปฏิสังขรณ์ดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2279

ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, อย. 3, อย. 3, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระราชวังจันทรเกษม, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, จันปัญญาอธิการ, มัคนายก, เจ้าพระองค์กรมหลวงราชานุรัตน์, มหาเพชญ, เจ้าอธิการวัดเทพจันทร์, ท่านทายก, เหมือน (พระสงฆ์),), สงฆ์, สมภาร, เงิน, ทองปิดพระประธาน, วัดเทพจันทร์, วัดจงกรม, พุทธศาสนา, ท้องพระวิหาร, เสาพระวิหาร, วัด, มณฑป, วัดจงกรม, มุข, ช่อฟ้า, หางหงส์, ดาวเพดาน, บูรณะมณฑป, ปฏิสังขรณ์พระวิหาร, ปิดทองพระประธาน, ปีขาล, ฉศก, วันอังคาร, พระพุทธรูป, รูปพระปฏิมากร, พระประธาน, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, นรก, อเวจี, อพิจี, อบายทุกข์, ชั่ง, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ปัจจัย, เดือนยี่, ปีมะโรง, อัฐศก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2277

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/650?lang=th

9

จารึกวัดสมุหนิมิต

ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ด้านที่ 1 : พ.ศ. 2319 อาจารย์วัดจำปา ภิกษุ สามเณร และสีกาบุญรอด ซึ่งเป็นผู้อุปการะ ไปนำหินจากเขาโพมาสร้างพระพุทธรูปปางสมาธิ 21 องค์ พระอรหันต์ 9 องค์ มีการบอกรายนามผู้สร้างและปิดทอง จากนั้นกล่าวถึงการอัญเชิญพระพุทธรูปปางสมาธิ 9 องค์ และพระอรหันต์ 8 องค์ ไปประดิษฐาน ณ ถ้ำศิลาเตียบ ต่อมาเจ้าพระยาไชยาและทายกทั้งปวงแห่พระพุทธรูปไปประดิษฐาน ณ ถ้ำวิหารพระโค 23 องค์ ตอนท้ายกล่าวว่าหากผู้ใดนมัสการให้ทำการกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลแก่สัตว์ทั้งหลายด้วย ด้านที่ 2 : (ข้อความต่อเนื่องจากด้านที่ 1) เนื้อหาส่วนใหญ่กล่าวถึงการถวายที่นาให้แก่วัด โดยระบุชื่อและจำนวนที่ถวาย มีการสาปแช่งผู้ที่จะเบียดบังที่นาและจังหันของพระสงฆ์ให้พบกับอันตราย 16 ประการ ตอนท้ายระบุศักราชตรงกับ พ.ศ. 2319 โดยเทียบไว้ทั้งพุทธศักราช, จุลศักราชและมหาศักราช

ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษาไทย สมัยกรุงธนบุรี, สฎ. 16, สฎ. 16, พุทธศักราช 2319, พุทธศักราช 2320, มหาศักราช 1698, มหาศักราช 1699, จุลศักราช 1139, จุลศักราช 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, มหาศักราช 1698, มหาศักราช 1699, จุลศักราช 1139, จุลศักราช 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, ม.ศ. 1698, ม.ศ. 1699, จ.ศ. 1139, จ.ศ. 1138, พ.ศ. 2319, พ.ศ. 2320, ม.ศ. 1698, ม.ศ. 1699, จ.ศ.1139, จ.ศ.1138, สีกาบุญรอด, อาจารย์วัดจำปา, อาจารย์รัตนะ, มหาพราหมณ์วัดเวียง, เจ้าพระยาไชยา, ท่านยกกระบัตร, ท่านปลัด, ไทย, สยาม, พระเจ้าตากสิน, พระเจ้ากรุงธนบุรี, ธนบุรี, วัดจำปา, ถ้ำวัดพระโค, ถ้ำศิลาเตียบ, เขาโพ, บ้านเวียง, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พระอรหันต์, อุปคุต, สารีบุตร, โมคคัลลานะ, โกญฑัญญะ, อานนท์, ราหุล, อุบาลี, ควัมปติ, กรวดน้ำ, ทายก, อุบาสิกา, สงฆ์, สามเณร, นาจังหัน, จังหัน, ที่นา, สาปแช่ง, อันตราย 16 ประการ, จตุอุบาย, นิพพาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2319, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสมุหนิมิต สุราษฏร์ธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าพระยาไชยา

วัดสมุหนิมิต ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

พุทธศักราช 2319

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1217?lang=th

10

จารึกวัดศรีมงคล

ไทยน้อย

ข้อความจารึกกล่าวถึงการกัลปนาเขตวัดศรีมงคล (เมืองห้วยหลวง) และถวายนาจังหันและได้อ้างถึงนาที่พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชถวายไว้กับวัดศรีมงคล ตอนท้ายมีการสาปแช่งผู้ที่ทำลายหรือยึดถือเอาทานวัตถุเหล่านั้นมาเป็นของตน

นค. 5, นค. 5, จารึกวัดศรีมงคล, จารึกวัดคงกระพันชาตรี 1, จารึกวัดคงกระพันชาตรี 1, พ.ศ. 2180, พุทธศักราช 2180, พ.ศ. 2180, พุทธศักราช 2180, จ.ศ. 999, จุลศักราช 999, จ.ศ. 999, จุลศักราช 999, ศิลา, ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีมงคล, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชธิราชเจ้า, สมเด็จพระเป็นเจ้ามหาพรหมเทโวโพธิสัตว์รัตนพุทธจักราสุราสุรสิงห มณฑปมณีพระสีมาเทพาบรมนาถบรมบพิตร, สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชเจ้า, สัพพัญญูเจ้า, ท้าวมาลุนขุนมาใหม่, ต้นโพธิ, ต้นโพธิ์, ต้นขาม, ต้นมะขาม, หมากพลูพร้าวตาลหวานส้ม, หมากพลูมะพร้าวตาลหวานส้ม, เขตนาก้ำเหนือ, ห้วยหมอทด, ห้วยบก, ห้วยขี้เสือ, ทางเกวียนบุราณ, ทางเกวียนโบราณ, นาโอกาส, นาหมอตาเบี้ย, นาแควง, นาก้านเหลือง, พุทธศาสนา, วัดศรีมงคลห้วยหลวงรัตนเขต, ถวายนา, อุทิศนา, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, ถวายที่ดิน, อุทิศที่ดิน, พระราชอาชญาลายจุ้ม, วัสสา, วสา, เขตแดนไร่นา, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4ล อบายทั้ง 4, อบายทั้งสี่, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2180, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-เจ้าต่อนคำ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดศรีมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช

วัดศรีมงคล ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2180

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2373?lang=th

11

จารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย)

ไทยน้อย

พระวรวงศาธรรมิกราช ได้อุทิศข้าโอกาสแก่วัดศรีบุญเรือง และได้ทรงย้ำถึงเขตแดนไร่นาที่บุรพกษัตริย์แห่งล้านช้างได้อุทิศแก่วัดศรีบุญเรืองด้วย พร้อมทั้งสาปแช่งท้าวพระยาที่โลภะและมาลบล้างพระราชโองการนี้

นค. 6, นค. 6, ศิลาจารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย), พ.ศ. 2151, พุทธศักราช 2151, พ.ศ. 2151, พุทธศักราช 2151, จ.ศ. 970, จุลศักราช 970, จ.ศ. 970, จุลศักราช 970, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดศรีบุญเรือง, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้าสมเด็จพระเป็นเจ้า, ข้าโอกาส, บอนหลาน, เหมือนลูก, พระพุทธเจ้า, ท้าวพระยาแสนหมื่นเจ้าบ้านเจ้าเมือง, โพธิ, พืชหมากพลูพร้าวตาลหวานส้ม, พุทธศาสนา, วัดศรีบุญเรือง, อาราม, พระประสิทธิจุ้ม, พระราชอาชญาลายจุ้ม, เขตแดนไร่นา, ค่าร่องอก, ค่าแขน, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย : การศึกษาในด้านอักษรวิทยา, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2522, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2151, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีบุญเรือง หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, บุคคล-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช

วัดศรีบุญเรือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2151

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2376?lang=th

12

จารึกวัดศรีคุณเมือง (วัดผ้าขาว)

ธรรมอีสาน

พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้มาอุทิศที่นาจังหันให้แก่วัด ตอนท้ายมีการสาปแช่งผู้ถือเอาศาสนาสมบัติเหล่านั้นอีกด้วย

ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: นค. 8, นค. 8, จารึกวัดศรีคุณเมือง จังหวัดหนองคาย (นค. 8), จารึกวัดศรีคุณเมือง จังหวัดหนองคาย (นค. 8), ศิลาจารึกวัดศรีคูณเมือง, จารึกวัดศรีคูณเมือง (ศิลาจารึกวัดปะขาว) ศักราช: พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, จ.ศ. 922, จุลศักราช 922, จ.ศ. 922, จุลศักราช 922วัตถุจารึก: หินทรายลักษณะวัตถุ: ทรงสามเหลี่ยมสถานที่พบ: วัดศรีคุณเมือง, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคายอาณาจักร: ไทย, ล้านช้างบุคคล: สมเด็จบรมบพิตร, สมเด็จพระไชยเชฏฐาธิราช, มหาสงฆสามี, เจ้าสีสุวลปราการ, เจ้าศรีสุวรรณปราการ, อุปฐาก, ชาวเจ้า, ข้าไพร่, เจ้าบ้านเจ้าเมืองท้าว, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ราชการบพิตรเจ้า, สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช, พระสงฆ์ต้นไม้: ช่อหมากพลูอ้อยตาลหวานส้ม, พืชหมากพลูอ้อยตาลหวานส้มสิ่งของ: เบี้ย, แก้วทั้งสามศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: อาราม, เสาเพนียด, ตีนต้าย, กำแพงแก้วพิธีกรรม: สร้างศิลาจารึก, สร้างครัวทานอื่นๆ: พระราชอาชญาลายจุ้ม, ภายนอก, ภายใน, ปีกดสัน, เพ็ง, วันเพ็ญ, วิสาขะมาส, วิสาขมาส, โลภะตัณหา, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4

วัดศรีคุณเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

พุทธศักราช 2103

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2481?lang=th

13

จารึกวัดวิชัยอาราม

ไทยน้อย,ธรรมอีสาน

เป็นพระบรมราชานุญาตให้ขุนนางสร้างวัด กัลปนาที่ดิน แก่วัดวิชัยอาราม เมื่อ พ.ศ. 2171 ภายหลังต่อมา พระสังฆราชาจตุปาริสุทธิศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนาลี ได้อุทิศข้าโอกาสแก่วัด 5 ครัว เมื่อ พ.ศ. 2172 พร้อมกับสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทานวัตถุเหล่านั้น

ขก. 8, ขก. 9, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, จารึกวัดวิชัยอาราม, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, ศิลา ประเภทหินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้า, สมเด็จพระมหาอัครวรราชครูวินัยธรวรชิโนรส, ท้าวมาลุน, สมเด็จสังฆราชาจตุปาริสุทธศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนวาสีเจ้า, ศาสนูปถัมภก, พ่อแม่ญาติ, ตระกูลอุปฐาก, ข้าโอกาส, อารามิกทาส, ข้าพระ, ลูก, หลานเหลน, หมื่นจำเริญ, หมื่นนอง, ขุนหลวง, ขุนทอง, พันรักษา, ขุนคาน, มหาธรรมิกราชาธิราช, พระพุทธเจ้า, แก้ว, เม็ดหินเม็ดทรายชื่อ, นาหมอขาป, พุทธศาสนา, วัดวิชัยอาราม, อาราม, ถวายทาส, อุทิศข้าทาส, อุทิศข้าโอกาส, อุทิศข้าพระ, วงดวงชาตา, เพ็ง, เพ็ญ, ปีกาบไจ้, แถ, เที่ยงวัน, ปีกัดไส้, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระศุกร์, ราศีมีน, พระเกตุ, ราศีเมษ, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, ราศีมีน, ราศีตุล, ราศีเมถุน, ราศีกรกฎ, พระราชอาชญาลายจุ้ม, โลภตัณหา, พระราชอาชญา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, ฤกษ์, บาปกรรม, ทานวัตถุ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2172

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2164?lang=th

14

จารึกวัดพระธาตุพนม 1

ไทยน้อย

พระยานครพิชิตธานี พร้อมด้วยท้าวพระยาในท้องถิ่นได้บูรณะพระธาตุพนม และสร้างกำแพงแก้วล้อมรอบพระธาตุ รวมทั้งสร้างถาวรวัตถุอื่นๆ อีกด้วย ตอนท้ายได้สาปแช่งผู้ถือสิทธิ์ครอบครอง ทำลายทานวัตถุ อันได้แก่ ทาสโอกาส ที่ดิน ไร่นาของวัด ในครั้งนี้ได้บูรณะเรือนธาตุชั้นที่ 1 และกล่าวถึงการตกแต่งด้วย ซึ่งน่าจะหมายถึงลวดลายจำหลักอิฐรอบเรือนธาตุ

นพ. 1, จารึกวัดพระธาตุพนม 1, ศิลาจารึกของเจ้าพระยานคร, พ.ศ. 2157, พุทธศักราช 2157, พ.ศ. 2157, พุทธศักราช 2157, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, หินทราย, รูปใบเสมา, ห้องเก็บของภายในวิหารคด, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร , อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านนา, ข้าโอกาส, พระยาสามินทรราช, พระพนม, พระเป็นเจ้าพระยานครหลวงพิชิตราชธานีศรีโคตรบองเจ้า, ประธาน, ท้าวพระยาเสนามนตรี, ปลา, ชะทาย, ปูนสอ, ปูนขาวชื่อ, น้ำหนอง, บ้านเมือง, ดินดอนไร่นา, กำแพง, ประตูขง, ประตูกำแพง, ประตูเขต, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุพนม, หอข้าวพระ, แท่นบูชา, ตึบสงฆ์, ตึกดิน, ตึกสงฆ์, ตีนพระมหาธาตุเจ้า, สร้างวัด, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ตกแต่งพระธาตุ, อปายคมนียะ, โลภะตัณหา, เทวดา, นิพพานปัจจโย, พระสารีริกธาตุ, ปีกาบยี่, อบายภูมิ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกวัดพระธาตุพนม 2, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา), อุรังคนิทาน : ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร), สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2157, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพงแก้ว, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระยานครพิชิตธานี

ห้องเก็บของภายในวิหารคด วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

พุทธศักราช 2157

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2169?lang=th

15

จารึกวัดธาตุอุปสมาราม (บ้านโก่ม)

ไทยน้อย

ได้กล่าวถึงนาม ศรีภูมิเมืองเวียงจันทน์ (ศรีพุมเวียงจันทน์) คล้ายกับว่าจะเป็นผู้ถวายข้าโอกาส ตอนท้ายมีคำสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทรัพย์สินที่บริจาค พร้อมกับบอกเขตเนื้อที่ด้วย (คงหมายถึงที่วัด)

อด. 5, อด. 5, จารึกวัดธาตุอุปสมาราม (บ้านโก่ม), จารึกวัดธาตุอุปสมาราม (วัดบ้านโก่ม), จารึกศรีพุมเวียงจันทน์, พ.ศ. 2134, พุทธศักราช 2134, พ.ศ. 2134, พุทธศักราช 2134, จ.ศ. 953, จุลศักราช 953, จ.ศ. 953, จุลศักราช 953, หินทราย สีเทา, รูปใบเสมา, ในพระอุโบสถวัดบ้านโก่ม, ตำบลเมืองพาน, อำเภอบ้านผือ, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, โอกาส, ข้าโอกาส, ศรีพุมเวียงจันทน์, ศรีภูมิเวียงจันทน์, ศรีพุมเมืองเวียงจันทน์, พุทธศาสนา, ถวายทาส, ถวายข้าโอกาส, ฤกษ์, อาชญา, สงสาร, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, ศิลปากร, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2134, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดธาตุอุปสมาราม อุดรธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-ศรีภูมิเมืองเวียงจันทน์, บุคคล-ศรีพุม

ในอุโบสถ วัดธาตุอุปสมาราม หมู่ที่ 3 บ้านโก่ม ตำบลเมืองพาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

พุทธศักราช 2134

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2236?lang=th

16

จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2

ธรรมอีสาน

กล่าวถึงนามของพระยาสุรเทพเจ้า ว่าได้สร้างไว้เมื่อปี จ.ศ. 988 และได้กล่าวถึงการอุทิศเลกวัด ถึง 5 ครัว ในจำนวนนี้มีขุนนางผู้ใหญ่ถึง 2 ครัว คือ แสนนันทสงคราม และ เทพอาสา ในตอนท้ายได้กล่าวคำสาปแช่งไว้ด้วย

อด. 2, อด. 2, จารึกวัดสุวรรณคูหา หลักที่ 2, จารึกวัดสุวรรณคูหา หลักที่ 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 3, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 3, พ.ศ. 2169, พุทธศักราช 2169, พ.ศ. 2169, พุทธศักราช 2169, จ.ศ. 988, จุลศักราช 988, จ.ศ. 988, จุลศักราช 988, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดถ้ำสุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ตำบลนาสี อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดอุดรธานี, พระยาสุรเทพเจ้า, แสนศรี, เมีย, ลูก, แสนนันทสมคราม, นางกว้าน, เทพอาสา, อีบัว, น้อง, หลาน, พระศรีมหาโพธิ์, นางหมิ่น, ลูกคำบาง, อีข่า, โอกาส, ประธาน, โสตเทวทัต, พระยาสุรเทพเจ้า, สงคราม, เทพอาสา, พระศรีมหาโพธิเจ้า, คำปาน, อีขา, แสนสี, ราม, เลกวัด, ข้าพระ, ข้าโอกาส, บ้านถ้ำ, นากวานกัว, นาเหมือง, พุทธศาสนา, ดวงลักขณาฤกษ์ยาม, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ยามเที่ยงวัน, ภูมิบาล, ภูมมิบาล, พระมหาธาตุเจ้า, ครัว, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4

วัดถ้ำสุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ตำบลนาสี อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำภู (แยกตัวมาจากจังหวัดอุดรธานี)

พุทธศักราช 2169

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2463?lang=th

17

จารึกพลับพลาจตุรมุข

ไทยอยุธยา

สาปแช่งผู้ที่จะคดโกงเอาของสงฆ์และข้าพระไป โดยขอให้ยักษ์ทั้งหลายมาเอาชีวิต อย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย และตกนรกอเวจี ตอนท้ายบอกวันเดือนปีและศักราชซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2301

จารึกพลับพลาจตุรมุข, อย. 8, อย. 8, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, จ.ศ. 1120, จุลศักราช 1120, พ.ศ. 1120, พุทธศักราช 1120, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติวังจันทรเกษม, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, กรุงศรีอยุธยา, สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, เจ้าฟ้าดอกมะเดื่อ, ข้าพระ, มหาเถรเทวทัต, พระพุทธเจ้า, พระสงฆเจ้า, พุทธศาสนา, กัลปนา, พฤกษเทวดา, อารักษเทวดา, อากาศเทวดา, นรก, มหาเวจี, มหาอเวจี, กัลป, กัลป์, อนันตชาติ, บาป, กำม, กรรม, อเวจี, อนันตริยกรรม 5, อนันตริยกรรม 5, ปิตุฆาต, มาตุฆาตุ, โลหิตบาท, โลหิตุปปบาท, สังฆเภท, เทวดา, ท้าวเวสสุวรรณ, ยักษ์, สาตาคีรีย, เหมันตายักษ์, อาภัควยักษ์, จิตเสทธยักษ์, มากคบาทยักษ์, เวพัทธยักษ์, กามเสพปิทยักษ์, คินนุบาทยักษ์, กินนุบาท, ขันทยักษ์, บริวารยักษ์, ขันบาทยักษ์, พระรัตนตรัย, พระธรรมเจ้า, วันจันทร์, ปีขาล, สัมฤทธิศก, ฉ้อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2301, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2301

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/670?lang=th

18

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด

ไทยสุโขทัย

ข้อความด้านที่ 1 ได้กล่าวถึงการทำสัตย์สาบานระหว่างผู้เป็นใหญ่ในกรุงสุโขทัย ด้านที่ 2 ได้กล่าวถึงสวรรค์ชั้นต่างๆ ด้านที่ 3 เป็นคำสาปแช่งผู้กระทำผิดคิดคด

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด, สท. 15, สท. 15, หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ (พ.ศ. 2515), หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ (พ.ศ. 2515), หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935, ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935, พ.ศ. 1935, พุทธศักราช 1935, พ.ศ. 1935, พุทธศักราช 1935, จ.ศ. 754, จุลศักราช 754, จ.ศ. 754, จุลศักราช 754, ม.ศ. 1314, มหาศักราช 1314, ม.ศ. 1314, มหาศักราช 1314, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปใบเสมา, ริมเสาเบื้องขวาหน้าวิหารหลวง, ด้านหลังวิหารสูง, วัดมหาธาตุ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ศรี, อุมา, เทวากามเทพ, ยมบาล, มฤตยู, จตุโลกบาล, พรหมรูป, พระยาผู้ปู่, ปู่พระยา, ปู่พระยาคำฟู, พระยาผากอง, ปู่พระยาบาน, ปู่พระยารามราช, ปู่ไสสงคราม, ปู่พระยาเลอไทย, ปู่พระยางัวนำถม, ปู่พระยางั่วนำถม, ปู่พระยามหาธรรมราชา, พ่องำเมือง, พ่อเลอไทย, ปู่เริง, ปู่มุง, ปู่พอง, ปู่ฟ้าฟื้น, ปู่ขุนจิด, ขุนจอด, ปู่พระยาศรีอินทราทิตย์, ปู่ชระมื่น, ปู่เจ้าพระขพง, ปู่เจ้าพระขพุง, พระศรี, สมเด็จพระมหาเถรสังฆราชรัตนวงศาจารย์, พระมหาเถรธรรมเสนาบดี, เจ้าพระยาผู้หลาน, พระอรหันต์, พระปรัตเยกพุทธ, พระปัจจเจกพุทธ, มเหสูร, พระสทาศีล พระภีม, พระอรชุน, พระยุธิษถีร, ทีรฆนาม, รามปรสุ, รามลักษ์, พระศักดิ์, พระทีจนนทีสีนรบัณฑิตย์, พระพิรุณ, กุเวร, ขุนมนตรี, เสนาบดี, อมาตย์, นางเมือง, เทวทัต, ช้าง, ม้า, วัว, โค, กระบือ, ควาย, ถ้ำ, เขาพูคา, เขาผาดาน, หมื่นห้วยแสนดง, เขายรรยง, ลังกา, ชมพูท วีป, อมรโคยานี, อุตรกุรู, ภูไศล, คันธมาทน์, ไกรลาส, วิบุลบรรพต, วงกต ศาสนา: พุทธศาสนา, พระสถูป, กระประดิษฐานจารึก, ผีปู่ผาคำ, ผีชาวเลือง, เสื้อใหญ่, ผีบางพระศักดิ์, อารักษ์, อเวจีนรก, อากาสานัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ, กามาพจรหก, ดาวดึงส์, ดุสิตา, วอก, เต่าสัน, พฤหัสบดี, เต่าเม็ด, ปู่หลานสบถ, แม่พระศักดิ์พระสอ, เสื้อทานยอางพานสถาน, ผีบางพระศักดิ์, อบายเวทนา, มหาวิบาก, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, บาป, ปรโลก, โมกษ, นีรพาน, นิพพาน, ขอมปีวอก, ไทยปีเต่าสัน, ขอมวันพฤหัสบดี, ไทยวันเต่าเม็ด, ฤกษ์อุตรผลคุณ, พระเพลิง, อรรเธนทสูร, เทพดานพเคราะห์, ตารก, ภุชค, กินนร, กินรี, สรรพสิทธิ, รษีสิทธิ, พิทยาธร, ทศโลก, จตุรถเบญจมธยานสถาน, อากาสานัญจายตนะ, วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ, เนวสัญญานาสัญญายตนัง, กามาพจรหก, จาตุมหาราชิกา, ตาวติงสา, ยามา, ตุสสิตา, ดุสิดา, นิมมานรดี, ปรนิมมิตวสวดี, สวรรคมรรค, บาดาล, โลกธาตุ, จตุรภพ, สบบูรพวิเทหะ, พรหมรักษ์, ยักษ์กุมาร, หิมพานต์, สัปตคงคา, ปักษาปักษี, อิสันธร, สาบาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, จอายุ-จารึก พ.ศ. 1935, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน|, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กระทำสัตย์สาบาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564)

พุทธศักราช 1935

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/107?lang=th

19

จารึกปราสาทตาเมือนธม 5

ขอมโบราณ

ข้อความจารึกด้านที่ 1 กล่าวถึง พระบรมบพิตรกัมเสตงศรีชยสิงสวรมัน มีพระอาลักษณ์ไปถึงกัมเสตงสภาบดี ซึ่งเป็นข้าราชการชั้นตรี ให้ติดตามรับใช้พระสภากับพระหรปาล ไปปักหลักเขตที่ดินเมืองสิทธิปุระ ซึ่งพระราชทานเป็นของกำนัลแก่เตงตวนปิตถะเว ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง กัมรเตงอัญชั้นตรี และให้คณะที่ไปด้วยกันสาธยายอธิบายพระธรรมศาสตร์ แก่โขลญสวายทั้งปวงฟังด้วย ข้อความจารึกด้านที่ 2 เป็นข้อความของผู้เขียนจารึก ใช้นามว่า ข้าพเจ้าผู้ชื่อ เตง ปิตถะเว ได้มอบให้กัมรเตงชคัตศิวบาท ให้อยู่ในการดูแลของ ตวน หวร นอกจากนั้น เตง ปิตถะเว ยังมอบข้าทาสและวัตถุสิ่งของให้ด้วย แต่ไม่ให้แก่ข้าทาสที่อยู่อาศัยมาก่อน ทั้งยังสาปแช่งให้พวกเขาตกนรก เพราะพวกเขายุยงข้าทาสด้วยกันให้กระด้างกระเดื่องต่อลูกหลานของ เตง ปิตถะเว บรรทัดที่ 14-19 กล่าวถึงพระเจ้าศรีสุริยวรมันได้ประทานเงินทอง บรรจุไว้ที่ฐานอันมั่นคงของพระศิวะ ทั้งยังได้สาปแช่งผู้ทำลายฐานนี้ให้ตกนรก สิ้นกาลมหาโกฏิ ข้อความจารึกด้านที่ 3 ค่อนข้างชำรุด จับความได้ว่า บุตรของนางพร้อมด้วยภรรยาของเขา พึงหมั่นรักษาฐาน (ของพระศิวะ) นั้นให้มั่นคงต่อไปอีก

สร. 16, สร. 16, จารึกปราสาทตาเมือนธม 5, จารึกปราสาทตาเมือนธม 5, มหาศักราช 942, มหาศักราช 942, ม.ศ. 942, ม.ศ. 942, พุทธศักราช 1563, พุทธศักราช 1563, พ.ศ. 1563, พ.ศ. 1563, หินทราย, รูปใบเสมา ส่วนล่างมีรอยแตก, บริเวณมุขกระสันปราสาทประธาน, ปราสาทตาเมือนธม, ตำบลตาเมียง, บ้านหนองคันนา, อำเภอกาบเชิง, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, พระจันทร์, พระอาทิตย์, พระศรี, พระกรุณาบรมบพิตร, กัมเสตง ศรีชยสิงสวรมัน, พระกัมรเตงอัญ กัมเสตง สภาบดี ชั้นตรี, พระสภา, พระหรปาล, เตงตวน, ปิตเถฺว, ปิตถะเว, พระกัมรเตงอัญ ชั้นตรี, พระกัมรเตงอัญสภาบดี ชั้นเอก, พระกัมรเตงอัญสภาบดี ชั้นโท, โขลญสวาย, พระปรติหระ, กัมเสตง ศรีราเชนทราทิตย, โขลญผู้ตรวจราชการ, ใตกัมปูร, ใตอาท, ใตสาป, ใตกัมใวย, ใตจัป, ใตกัมเสตง, ศรีชยสิงหวรมัน, กัมเสตง ศรีราเชนทราทิตยะ, ใตกัมใวโสต, ใตกัมเทง, ใตพีช, ใตวยัก, สิสปี, สิมรักตะ, สิเขนต, สิสวัป, สอตนา, กัมรเตงชคัตศิวบาท, เตงตวนหวร, เตงปิตเถฺว, เตงปิตถะเว, ตวนผู้เป็นหลาน, ญาติ, ข้าทาส, คนงาน, บุตรหลาน, ศรีสูรยวรมัน, ภรรยา, แพะ, ถั่วจตุรมาส, ข้าวสาร, เครื่องบูชา, ถาส, ถาด, ทอง, เงิน, ข้าวเปลือก, วระเตงฏัป, สลัก, สิทธิปุระ, พุทธศาสนานิกายมหายาน, พุทธศาสนามหายาน, พุทธมหายาน, พราหมณ์, ฮินดู, เทวสถาน, ฐานพระศิวะ, ปักหลักเขตที่ดิน, ถวายทรัพย์, วันพุธ, พระอาลักษณ์, ของกำนัล, พระธรรมศาสตร์, พระอาลักษณ์, โรคผิวหนัง, นรก, ดวงตา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, Saveros POU, Dictionnaire Vieux Khmer-Français-Anglais, อายุ-จารึก พ.ศ. 1563, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่สำนักงานชั่วคราวของหน่วยศิลปากรที่ 6 สุรินทร์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาพระศิวลึงค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-เตง ปิตถะเว, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ ตำบลเฉนียง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ข้อมูลวันที่ 18/1/2563)

พุทธศักราช 1563

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3019?lang=th

20

จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 2

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

คำเตือนไม่ให้ขุดทำลายเพื่อหาของมีค่าในบริเวณวัดพระเมรุราช มีการสาปแช่งต่างๆ เช่น ขอให้ตายตกนรกอเวจีแสนกัลป์ และไม่ทันยุคพระศรีอารย์ เป็นต้น หากผู้ใดมีศรัทธาขอแผ่กุศลให้สำเร็จมรรคผลและเข้าสู่นิพพาน ตอนท้ายฝากให้เจ้าอาวาส พระสงฆ์ และผู้มีศรัทธา ช่วยกันดูแลซ่อมแซมวัด

จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 2, อย. 44, หลักที่ 160 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, จารึกที่อุโบสถวัดหน้าพระเมรุ 2, อย. 44, หลักที่ 160 จารึกที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ, จารึกพระประธาน, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, สยาม, ไทย, พระยาไชยวิชิต, พญาไชยวิชิตสิทธิสาตรา, วัดหน้าพระเมรุ, วัดเมรุราช, วัดเมรุราชิการาม, อยุธยา, พุทธศาสนา, สาปแช่ง, ขุมทรัพย์, พระศรีอาริยเจ้า, พระศรีอารย์, อนาคตพุทธเจ้า, ภัทรกัลป์, เมตไตรย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 1, สาโรจน์ มีวงษ์สม, ประวัติวัดสำคัญในอยุธยา, ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, มานพ ถนอมศรี, อยุธยา เมืองประวัติศาสตร์ มรดกโลก, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การสร้างพระอุโบสถ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง

ภายในพระอุโบสถวัดหน้าพระเมรุราชิการาม ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2378

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1108?lang=th

21

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3

ธรรมอีสาน

กล่าวถึงผู้สร้างคือ อัครวรราชครู เจ้าสายสุวรรณ หลวงเมืองคุก ว่าได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ รวมทั้งได้ถวายข้าโอกาสกับพระพุทธรูปองค์นี้ 4 ครัว เพื่อรักษาและบูชาพระพุทธรูปและได้สาปแช่งผู้ที่มาเอาทาสโอกาสของพระพุทธรูปไป ในตอนสุดท้ายได้บอกว่า สังฆครูเจ้า เป็นผู้เขียนจารึกและได้บอก วัน เดือน ปี ไว้ในตอนสุดท้าย

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดโพธิสมภรณ์ 3, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, ทองสำริด, ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิชัย, กุฏิรองเจ้าอาวาส, วัดโพธิสมภรณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดอุดรธานี, ไทย, ล้านช้าง, อัครวรราชครู, เจ้าสายสุวรรณ, หลวงเมืองคุก, นางแสนสุรี, นางแสนไชยเสน, นางแสนสุทธิ, แม่อบ, ข้อย, ลูก, หลาน, บ่าว, พระขนานศรีกัญญา, เจ้าด้าน, สังฆครูเจ้า, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, พระทองเจ้า, พระเจ้า, เม็ดหินเม็ดทราย, เพ็ง, เพ็ญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2209 อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-สังฆครูเจ้า

กุฏิรองเจ้าอาวาส วัดโพธิสมภรณ์ ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

พุทธศักราช 2209

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2489?lang=th

22

จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น

ธรรมอีสาน

เป็นพระบรมราชโองการพระมหากษัตริย์ล้านช้าง ได้ถวายข้าโอกาส เพื่อรักษาบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ และสาปแช่งผู้ที่มายึดเอาข้าโอกาสของพระพุทธรูป

จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น, จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดพิพิธภัณฑสถานขอนแก่น, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ถ้ำ, ตำบลคำอาฮวน, จังหวัดมุกดาหาร, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, ข้อย, ข้าทาส, ข้าพระ, แผ่นโลหะ, พุทธศาสนา, วิหาร, การอุทิศข้าทาส, การอุทิศข้าพระ, พระราชอาญา, พระเจ้า, พระพุทธรูปทอง, วัสสา, โลภ, ตัณหา, อบาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกสมัยพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้านันทเสน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราช, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2336

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1958?lang=th

23

จารึกคำสาปแช่ง

ฝักขาม

จารึกชำรุด ข้อความที่เหลือกล่าวสาปแช่งบุคคลผู้กระทำความผิด ให้ตกนรกอวจี อย่าได้ผุดได้เกิด

จารึกคำสาปแช่ง, พย. 19, พย. 19, หินทรายขัดสีดำ, แผ่นสี่เหลี่ยม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, ขุนชื่อ, เมิงคน, เมืองคน, เมืองมนุษย์, หม้ออเพจี, หม้อเพจี, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, บ้าน, พุทธศาสนา, เม็ง, ออก, พระพุทธรูป, เนียนพาน, เนียรพาน, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พุทธศตวรรษ 21-22

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1657?lang=th