ตัวอย่าง | ปรากฏใน | ด/บ | จังหวัด | ผู้ให้ความหมาย |
---|---|---|---|---|
โดง โนะ เทบ สฺดจ ลีลา จฺวล เสฺวย พฺระราช … ทย ไอศฺวรฺยฺยาธิปไตย ด สฺรุก สุโขทย เนะ โสฺนง พฺระชนก พระชี วิง รฺวด…กฺษตฺร โผง มาน ด จตุราทิศ สฺยง มาน …นำ..มกุต..ขนชยศฺรีย เสฺวตฉตฺร…อภิเษก โอย นาม พฺระบาท กมฺรเดงอญ ศฺรีศฺรฺยฺย พงฺศราม มหาธรฺมฺมราชาธิราช เสฺวย…
(บัดนั้น จึงเสด็จพระราชดำเนินเข้าเสวยราชย์…ไอสูรยาธิปัตย์ ในเมืองสุโขทัยนี้แทนพระบิดา พระอัยกา…กษัตริย์ทั้งหลาย ซึ่งมีในทิศทั้ง 4... นำ..มกุฏ..พระขรรค์ชัยศรี และเศวตฉัตร อภิเษกแล้วถวายพระนามว่า พระบาทกัมรเดงอัญ ศรีสุริยพงศรามมหาธรรมราชาธิราช เสวย…) |
จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร) | 1/9 | สุโขทัย | ศานติ ภักดีคำ |
โผงฺ อฺ(น)กฺ เนะ สฺยงฺ สงฺเว(ยฺ วฺระ กมฺรเต)งฺ ชคตฺ ลิงฺ(คปุร) (บุคคลเหล่านี้ ล้วนอยู่ในที่สังเวยของพระกัมรเตงชคตแห่งลิงคปุระ) |
จารึกอุบมุง | 1/35 | อุบลราชธานี | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
เนา เค ต ทงฺ เม ต ทงฺ อเย กลุงฺง เนะ ตฺรวางฺ คิต ศิว - - - (ซึ่งพวกเขาทั้งแม่ทั้งพ่อเหล่านี้ ได้สร้างสระไว้ เพื่อบูชาพระศิวลึงค์) |
จารึกศรีชยสิงหวรมัน | 1/6 | กรุงเทพมหานคร | บุญเลิศ เสนานนท์ |
กฺวนฺนฺ เนะ... (ลูกนี้...) |
จารึกปราสาทหินพิมาย 6 | 4/7 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
ผฺสํ โคลฺ ศิลา ปฺรำวฺยลฺ ติ ฉฺลากฺ วฺระ วฺยรฺ เสฺม o สํขฺยา ภูมิ เนะ ชุํ .. o ฉฺนญฺ มฺวายฺ สฺลิกฺ วฺยรฺ ศต มฺวายฺ ภยฺ วฺยรฺ (รวมหลักศิลา 7 หลัก ที่สลักพระ... 2 เท่ากัน ฯ ปริมาณที่ดินนี้โดยรอบ...1 ฉนัญ, 2 สฺลิกฺ, 100, 2 ภัย) |
จารึกปราสาทหินพิมาย 3 | 1/12 | นครราชสีมา | อำไพ คำโท |
o 958 ศก มสาญฺ นกฺษตฺร ศุกฺรวาร นุ ทุญฺ ไตกํวิตฺ มาสฺ ปาท วฺยรฺ จนฺลฺยากฺอฺรุงฺ ภยฺ มฺวายฺ โทปฺ ม...ปฺ วฺยรฺ เนะ ติ ชฺวนฺ ต กํมฺรเตงฺ ชคตฺ... (o 958 ศก มะเส็งนักษัตร ศุกรวาร ซื้อไตกำวิด ทอง 2 บาท จนฺลฺยากฺอฺรุ 1 ภัย ... 2 นี้ ถวายแด่กมรเตงชคต...) |
จารึกปราสาทหินพิมาย 2 | 1/5 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
วฺระ โค เนะ โผง ติ อญฺ ชฺวน ต กมฺรเตง ... (พระโคนี้ด้วยซึ่งข้าให้แก่กมรเตง) |
จารึกเนินสระบัว | 1/17 | ปราจีนบุรี | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
ริ อาจารฺยฺย วฺระ ธนุ ต ศิษฺย คิ ต สฺถาปนา วฺระ เนะ อายฺ ต อษฺฏ อษฺฏนา ต คิ ราชฺย วฺระ ปาท กํมฺรเตงงฺ กํตฺวนฺ อญฺ ศฺรีอุทฺยาทิตฺยวรฺมฺมเทว เจฺรนฺ ศฺรี สฺถิร ศกฺติ ตราปฺ ใผฺท กโรํ (ส่วนพระธนู ผู้เป็นศิษย์ ได้ปรึกษากันแล้วสถาปนาพระองค์นี้ (ขึ้น) ใหม่ ในศักราช 988 ซึ่งเป็นรัชสมัยของพระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีอุทยาทิตยวรมเทวะ ขอจงเจริญยิ่งด้วยศิริยศศักดิ์มั่นคงชั่วฟ้าดินสลาย) |
จารึกบ้านซับบาก | 1/35 | บุรีรัมย์ | ชะเอม คล้ายแก้ว และบุญเลิศ เสนานนท์ |
เนะ คิ โระหฺ ศาข สนฺตาน โนะ . สนฺตาน อนินฺทิตปุร เตมฺ สฺรุกฺ ศตคฺราม . กุรุงฺ ภวปุระ โอยฺ ปฺรสาท ภูมิ อายฺ วิษย อินฺทฺรปุระ . สนฺตาน จตฺ สฺรุกฺ ชฺมะ ภทฺรโยคิ . องฺคฺวยฺ ต คิ สฺถาปนา วฺระศิวลิงฺค ต คิ. (ต่อไปนี้ คือประวัติของสายสกุลดังกล่าว ครั้งแรกสกุลนี้ได้อาศัยอยู่ในเมืองศตคราม นครอนินทิตปุระ พระราชาแห่งกรุงภวปุระได้พระราชทานที่ดินในตำบลหนึ่งของอินทรปุระให้แก่เขา ดังนั้น สกุลนี้จึงได้ตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยในหมู่บ้านภัทรโยคี แล้วสร้างพระศิวลึงค์ไว้ประจำหมู่บ้านนั้น) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 | 3/59 | สระแก้ว | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
นิเวทน เนะ วฺระ ปุณฺย มฺรเตญฺ มทฺวฺยมศิว มนฺ สฺถาปนา สนฺเมนิ นุ วาปฺ ปรํ วฺรหฺม นุ เม ปสฺ ต อฺรฺยาม ปิ ผฺสํ คน นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ต ปรเมศฺวร ปิ จำ จํนำ ตนฺทุล ถฺลฺวงฺ 3 ปรฺยฺยงฺ มาสฺ 3 มิมฺวายฺ ศก (บอกอย่างนี้ว่า ขอให้พระบุณย์มรเตญมัทวยมศิวะ ที่ได้รับแต่งตั้งพร้อมกับวาบบรม พรหม และแม่บสผู้เป็นพี่ ให้ร่วมกันดูแลพระกัมรเตงอัญปรเมศวร กับถวายข้าวสาร 3 ถะลวง น้ำมัน 3 มาส เป็นเวลาหนึ่งปี) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 1 | 1/5 | สระแก้ว | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
...วฺนุรฺ ทฺนงฺ ... ...งฺ ปริปาลนจํ... ...(ปฺร) ติษฺฐา ... อฺนกฺ ...สฺวรฺคฺ คาปฺ วรฺคฺคฺค o ริตจิห... ...(สฺต) มฺภ เนะ อฺนกฺ โนะ เทา... ...ต นรก ตราปฺ วฺระจนฺทฺรา ทิตฺย มานฺ เลยฺ (...พะนุรทะนง... ...รักษาไว้... ...ประดิษฐานไว้... ...ได้ขึ้นสวรรค์ และหลุดพ้น ...(ผู้ใดทำลาย) หลักศิลานี้ ผู้นั้นจงไป ...ตกนรก ตราปเท่าที่พระจันทร์ พระอาทิตย์ยังมีอยู่) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 3/5 | ศรีสะเกษ | อำไพ คำโท |
...ศาสน โอยฺ... วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ มานฺ วฺระ ศาสน ปนฺทฺวลฺ เปฺร สฺถาปนา ปฺรศสฺต เนะ ภควตฺ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ ศฺรีทิวากรปณฺฑิต สฺรุกฺ วฺนุรฺ ทฺนงฺ วิษย สทฺยา ต (กรฺมฺมา) นฺตรตฺรีณิ อุทิ โตทิตว (มีพระบรมราชโองการรับสั่งให้จัดทำคำประกาศทางราชการบนศิลาจารึกนี้ ภควัตบาทกัมรเตงอัญดคุรุศรีทิวากรบัณฑิตแห่งเมืองพะนุรทะนง (เนินประดู่) วิษัยสัทยา ผู้มีตำแหน่งชั้นตรี และเป็นผู้เชี่ยวชาญทางระเบียบประเพณี) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 1/7 | ศรีสะเกษ | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
วระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ขฺทุร อุปกลฺป ตปสฺวิ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ศิขเรสฺวต วฺระธรฺมฺมศาสฺตฺร นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ตฺรฺวจฺ วฺระ ราชการฺยฺย ปฺรติปกฺษ ปิ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ศิวทาส เชา ภูมิ เนะ นา ปฺรสปฺ ตฺรวางฺ วฺราหฺมณ (พระกัมรเตง อัญ ขทุรอุปกัลปดาบส พระกัมรเตงอัญ ศิขเรสวัต พระธรรมศาสตร์ และพระกัมรเตงอัญผู้ตรวจราชการ แต่ละปักษ์ และพระกัมรเตงอัญ ศิวทาส ซื้อที่ดินนี้ซึ่งอยู่ติดกับตระพังพราหมณ์) |
จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ | 1/6 | ศรีสะเกษ | อุไรศรี วรศะริน |
เนะ คิ รุ ปุณฺย อุปธฺยาย ศฺรีราชภิกฺษุ เตลฺ สฺถาปก อายฺ เสฺรา พฺรา มนฺ สนฺเม นิ-ตลฺ พฺร กฺยากฺ ศฺรีวฺฤทฺเธศฺวร อินฺทฺรวรฺมฺม จ กฺกฺราวรฺตฺติ (นี่คือการบำเพ็ญกุศลของท่านอุปาธยายะศรีราชภิกษุ ผู้สร้าง (วัด) ณ เสราพรา อุทิศถวายเป็นจำนวนเท่ากันแด่พระกยากศรีวฤทเธศวร อินทรวรรมะจักรวรรติ) |
จารึกหินขอน 1 | 2/9 | นครราชสีมา | พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับพระยาอนุมานราชธน |
สํวะ โขฺลญฺ วล กมฺร(เตงฺ) - - - นุ โขฺลญฺ นิ ต คิ เนะ วิษย - - - ปฺรทฺวนฺ เทา นุ โฉฺลญฺ ตมฺรฺวจฺ วิษ(ย) (คำนับ โขฺลญพล กัมฺรเตงฺ - - - แล โขฺลญ (ที่จะประจำ) วิษัย (คือจังหวัด) นี้ต่อไป แล โฉฺลญตำรวจวิษัย) |
จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี | 1/3 | ลพบุรี | อุไรศรี วรศะริน |
...วฺวํ เถฺว โตฺย โรหฺ วฺระ ศาสน เนา อนกฺ ต มานฺ ภกฺติยฺ โผงฺ จาปฺปฺ เนะ นากฺ ต...ณคร (...ไม่ทำตามพระดำรัสใน อ... ผู้ซึ่งมีความภักดีทั้งผอง จับบุคคลผู้นี้ แก่ณคร ลำดับนั้น) |
จารึกสุรินทร์ 1 | 1/4 | สุรินทร์ | อุไรศรี วรศะริน |
. . . ต ภูมิ เนะ โอยฺ ปิ วฺระ สภา สงฺโคลฺ . . . (. ที่ดินนี้ ให้พระสภา ปักหลักเขต . . .) |
จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 | 1/13 | สุรินทร์ | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
เนะ ขฺญุํ ต อํปลฺ เ นฺ อญฺ (ข้าพเจ้า มีความกังวลใจ - - - - ) |
จารึกปราสาทเมืองแขก 3 | 1/14 | นครราชสีมา | ศานติ ภักดีคำ |
มหาเสนาปติ ตลา ไน ต จำ สฺรุกฺ คฺรหิ อาราธนา ต มฺรเตง ศฺรีญาโน เถฺว ปฺรติมา เนะ ทํงนฺ มานฺ สํริตฺ ภาร มฺวยฺ ตุล พิรฺต ชา พฺยายฺ มาสฺ ตปฺ ตนฺลิงฺ (ให้มหาเสนาบดีตลาไน ผู้รักษาเมืองครหิอาราธนา มรเตง ศรีญาโน ให้ทำ (พระพุทธรูป) ปฏิมากรนี้ สำริด มีน้ำหนัก 1 ภาระ 2 ตุละ ทองคำ (ที่ปิด) มีราคา 10 ตำลึง) |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง | 1/3 | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน | |
. . ตต โวทิ วฺรหฺมรุธิร กลศ จรา ธูป . . โปนฺ สํรุกฺกฺ ญงฺ โมกฺกฺ กงฺสตาล ปิยฺ สมฺฤ (ตฺ) ศงฺข ปิยฺ อุเทนฺ เนะ อมฺปลฺลฺ ปริโภค (วฺ) ร(ะ) กํมฺรเตงฺ อญฺ . (. โวทิ พรหมรุธิระ ขวด จราใส่เครื่องหอม . . . ฆ้องสัมฤทธิ์ 3 ใบ สังข์ 3 ใบ ทั้งหมดนี้ถวายแด่พระกมรเตงอัญ) |
จารึกหินขอน 2 | 2/16 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
เนะ โศฺลก เนะ คิ มนฺ สฺรสิรฺ นุ กมฺวุชากฺษร (พระโศลกนี้เขียนด้วยอักษรอันมีนามว่า อักษรแห่งชาวกัมพุช (นี้)) |
จารึกเพนียด 1 | 1/8 | จันทบุรี | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
วฺระ ศาสน เปฺร โอยฺ ภูมิ เนะ...โนะหฺ o วฺวํ อาจฺ ติ สุตนฺตฺร ต โขฺลญฺ วิษฆ (พระราชโองการเกี่ยวกับการถวายที่ดินแห่งนี้...ไม่ให้อยู่ในความคุ้มครองของโขลญวิษ...) |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2 | 1/12 | บุรีรัมย์ | อำไพ คำโท |
988 ศก ต คิ ทศมี โรจฺ เชฺยษฺฐ จนฺทฺรวาร คิ นุ สุปฺรติษฺฐ วฺระ เนะ นุ วฺระ เนะ นุ คํนฺวรฺ (ศักราช 988 ตรงกับแรม 10 ค่ำ เดือน7 วันจันทร์นั้น ได้ประดิษฐานพระนี้ ด้วยความเคารพยิ่ง) |
จารึกวัดถ้ำพระ | 1/3 | สกลนคร | ชะเอม คล้ายแก้ว |
คิ นุ ต นำ สมาจาร เนะ โมกฺ วฺระ --- เสฺรถี (ผู้นำ “สมาจาร”นี้ คือ “พระ...เศรษฐี”) |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1) | 1/16 | ลพบุรี | อุไรศรี วรศะริน |