ศัพทานุกรมจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ศัพทานุกรมจารึก

ผลลัพท์การค้นหา

"โผง"

จำนวน 24 รายการ

ตัวอย่าง ปรากฏใน ด/บ จังหวัด ผู้ให้ความหมาย
1269 ศก กุร พฺระบาทกมฺรเดงอญ ฤไทยราช ด ชา พฺระเจา ด พฺระบาทกมฺรเดงอญ ศฺรีรามราช นำ เสนาพลพฺยูห โผง อํ วิ ศฺรีสชนาไลย โมก ปฺรด ผคฺดผฺคง (หวูง) พล จร ด เกฺรา นา พฺระวิไสย เนา ปญฺจมี เกด เชษฐ ศุกฺรพาร
(1269 ศก (ปี) กุนพระบาทกมรเดงอัญฦาไทยราช ผู้เป็นพระราชนัดดาของพระบาทกมรเดงอัญศรีรามราช เสด็จนำพลพยุหเสนาทั้งหลายออกมาจากเมืองศรีสัชนาลัยมา รีบตบแต่งพลโยธา เดินอยู่นอกพระวิสัย ณ วันศุกร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 7)
จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร) 1/3 สุโขทัย ศานติ ภักดีคำ
โผงฺ อฺ(น)กฺ เนะ สฺยงฺ สงฺเว(ยฺ วฺระ กมฺรเต)งฺ ชคตฺ ลิงฺ(คปุร)
(บุคคลเหล่านี้ ล้วนอยู่ในที่สังเวยของพระกัมรเตงชคตแห่งลิงคปุระ)
จารึกอุบมุง 1/35 อุบลราชธานี ศานติ ภักดีคำ
ปฺรติทิน มาสฺ จนฺจฺยานฺ ... มฺวายฺ ทํนุกฺ ... ชา ภาร โผงฺงฺ
(เป็นประจำ ทอง แหวน ... หนึ่งเอาไว้ ... เป็นภาระทั้งปวง)
จารึกปราสาทหินพิมาย 6 1/12 นครราชสีมา พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
1031 ศก ปญฺจมี เกตฺ ปุษฺยวุธวาร คิ นุ จตฺ สฺรุกฺ ต ภูมิมฺ ต เน  .เนาะ...ศฺรีวีเรนฺทฺราศฺรม เลกฺ วลย นุ ภูมิ เนาะหฺ . ยต ขฺญุํ.. ปญฺชิย เนาะ โผงฺ o เปฺร ปมฺเร ปฺรติปกฺษ ต กํมฺรเตงฺ อญฺ  เสนาปติ ไตฺรโลกฺยวิชย...ศฺรีวีเรนฺทฺราศฺรม เนาะ เถฺว จํนำ กลฺปนา ต เราะหฺ เนะ
(1031 ศกขึ้น 5 ค่ำ เดือนยี่ วันพุธ ได้สร้างเมือง ณ ที่ดินอันว่างเปล่า...ศรีวีเรนทราศรม, และได้กั้นรั้วล้อมรอบที่ดินนั้น...ข้าพระบัญชีนี้ด้วยฯ แล้วได้มอบให้คนใช้ของกมรเตงอัญเสนาบดีไตรโลกยวิชัย แบ่งกันเป็นรายปักษ์...ศรีวีเรนทราศรมนั้นให้ดูแลมูลนิธินี้ฯ)
จารึกปราสาทหินพิมาย 3 1/17 นครราชสีมา พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
วฺระ โค เนะ โผง ติ อญฺ ชฺวน ต กมฺรเตง ...
(พระโคนี้ด้วยซึ่งข้าให้แก่กมรเตง)
จารึกเนินสระบัว 1/17 ปราจีนบุรี พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
มนฺ วฺระ ปาท ปรมศิวโลก (เปฺร) วฺระ กมฺรเตงฺ วามศิว ต ชฺมะ กมฺรเตงฺ ศิวาศฺรม ชา วฺระ คุรุ ปริยาลย อุปาย โผงฺ นุ วฺระ ต ติ สนฺตาน สฺถาปนา อํวิ อินฺทฺรปุร นุ สฺรุกฺ ภวาลย ญฺยงฺ (อมฺเร) นฺทฺร (ปุร) สฺรุกฺ ภทฺรคิริ เชงฺ วฺนํ .
(ท่านวามศิวะ ได้เป็นราชครูปกครองเทวสถานทั้งหมด ที่สกุลของท่านได้สถาปนาไว้ ตั้งแต่อินทรปุระจนถึงภวาลัย ซึ่งใกล้ชิดกับอมเรนทรปุระทางเมืองกุฏิและภัทรคีรี)
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 4/10 สระแก้ว พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
เสฺตงฺ อญฺ ศิวไกวลฺย นุ กุเล โผงฺ สิงฺ รุ ต ตาปฺร อฺเนา . เสฺตงฺ อญฺ ศิวไกวลฺย สฺลาปฺ ต คิ ราชฺย โนะ .
(ศิวไกวัลยะและญาติได้ทำหน้าที่ปฏิบัติพระเทวราชเหมือนเดิม ท่านได้ถึงแก่กรรมในรัชกาลนี้เอง)
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 3/79 สระแก้ว ศานติ ภักดีคำ
ลฺวะ ต ราชฺย วฺระ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ศฺรีชยวรฺมฺมเทว เสฺวยฺ วฺระ ธรฺมฺมราชฺย ปิ ตฺราสฺ ปิ...อฺนกฺ สรฺวฺวโยคฺย ต ชา วฺระ คุรุ ต นุ เถฺว ราชาภิเษก โหม ต วฺระ ยชฺญ โผง
(ในรัชกาลของพระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมันเทวะ เมื่อจะเสวยพระธรรมราชย์ จึงตรัสให้หาผู้เหมาะสมที่จะเป็นพระครูทำราชาภิเษก และทำการบวงสรวงในการประกอบพิธีกรรมทั้งปวง)
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 1/14 ศรีสะเกษ ศานติ ภักดีคำ
นา มนฺ ชา เคจฉ ต คิ กรฺมฺมทุรฺคฺคม โผงฺ นา กมฺรเตงฺ ชคตฺ ศฺรีศิขรีศฺวร
(ขณะที่ทำรั้วในกัมรเตง ชคต ศรีพฤทเธศวร)
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 1 1/3 ศรีสะเกษ ศานติ ภักดีคำ
โขฺลญฺ วล ชฺรเลงฺ ชฺวนฺ ขฺญุํ 4 ต วฺระ ถฺมุรฺ ปิยฺ ทนฺยีมฺ สฺรุ นุ เสฺร จำมลกฺรานฺต นุ ชา ปี ทุกฺ นา องฺคุยฺ โขฺลญฺวล คิ นา อายตฺโผง
(โขลญพลแห่งชระเลง ถวายทาส 4 คน แด่เทวรูป วัว 6 ตัว ข้าวเปลือก และนาแด่สงกรานต์ และไว้ประจำแก่โขลญพล เพื่อให้ดูแลในสิ่งทั้งปวง)
จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม 1/12 สกลนคร ศานติ ภักดีคำ
คิ กํมฺรเตงฺ อญฺ วฺระ คุรุ ปนฺทฺวลฺ ต เสฺตงฺ อญฺ ต ปฺรตฺยฺย เสฺตงฺ อญฺ อายฺ สมฺฤทฺธิปุร คิ เปฺร โมกฺ ทุกฺ ปฺรสตฺต อายฺ กจฺ โตงฺ ต ปฺรสํคณ นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ชคตฺ ลิงฺคปุร วฺวํ สุต นฺตฺร ต กวิษย วฺวํ อาจฺ ติ อายตฺว ต โขฺลญฺ ชา วิษย นุ ตฺรลาว นุ ปฺรภู โผง
(ตามที่ กัมรเตงอัญ คุรุ กราบทูลต่อเสตงอัญผู้เป็นใหญ่ที่สัมฤทธิปุระ เพื่อให้มาทำจารึกไว้ที่กัจโตงให้รวมพระกัมรเตงอัญชคัตลิงคปุระไว้ด้วย ไม่ต้องขึ้นต่อ กวิษยะ  ไม่ต้องขึ้นต่อโขลญชาววิษยะ, ตระลาว และเจ้านายทั้งปวง)
จารึกปราสาทเมืองแขก 1 1/20 นครราชสีมา ศานติ ภักดีคำ
...วฺวํ เถฺว โตฺย โรหฺ วฺระ ศาสน เนา อนกฺ ต มานฺ ภกฺติยฺ โผงฺ จาปฺปฺ เนะ นากฺ ต...ณคร
(...ไม่ทำตามพระดำรัสใน อ... ผู้ซึ่งมีความภักดีทั้งผอง จับบุคคลผู้นี้ แก่ณคร ลำดับนั้น)
จารึกสุรินทร์ 1 1/4 สุรินทร์ ศานติ ภักดีคำ
นุ จํนำ ทฺรวฺย ต อํปาลฺ เนะ ต มนฺ อญฺ ชฺวนฺ ต กํมฺรเตงฺ ชคตฺ ศิวปาท ปศฺจิมฺ อายตฺว ต เตงฺ ตฺวนฺ หฺวรฺ ต สํววนฺธิ อญฺ ต ชฺมะ เตงฺ ปิตฺ เถฺว นุ ตฺวนฺ เจา ต เตงฺ  ต เตงฺ ปิตฺ เถฺว คิ นา อญฺ สมาเป คิ ต อาจฺ ปริปาล ปฺรทฺวนฺ เทา นา กุเล อญฺ โผงฺ สฺยงฺ
(ถวายทรัพย์รวมกับสิ่งเหล่านี้ ที่ข้าพเจ้า ถวายแก่กัมรเตงชคัตศิวบาทในทิศตะวันตกซึ่งขึ้นต่อเตงตวนหวร  ร่วมกับข้าพเจ้าผู้ชื่อว่า เตงปิตเถฺว และตวน  ผู้เป็นหลานแห่งเตงของเตงปิตเถฺว  ซึ่งข้าพเจ้าปรารถนาให้ไปดูแลญาติข้าพเจ้าทั้งปวงที่ยังอยู่ ตั้งแต่บัดนี้ไป)
จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 2/7 สุรินทร์ ศานติ ภักดีคำ
อาชฺญา  วฺระ  กมฺรตางฺ  อญฺ  นิ  คิ  อํสรฺ  มฺรตาญฺ  อนงฺค โผงฺ  คิ  ก  เตลฺ  มฺรตาญฺ  โอยฺ  โผงฺ  ติ . . . . .
(คำสั่งพระกัมรตางอัญนี้ ที่มีมรตาญอนงค์ทั้งปวง สิ่งของเบื้องต้นที่มรตาญให้ทั้งปวง คือ . . . . . . )
จารึกจันทบูร ชิ้นที่ 2/1 จันทบุรี ศานติ ภักดีคำ
(ไต) กํเวฺรา นุ กฺวนฺ เจา โผง
((ไต) กำเพราและลูกหลานด้วย)
จารึกปราสาททัพเสียม 1 1/1 สระแก้ว ศานติ ภักดีคำ
ติ ษฺถาปนา ชา ปฺรติมา มหาชน โผงฺ ต มานฺ สรฺทฺธา อนุโมทนา ปูชา นมสฺการ นุ เนะ เลงฺ ส _ _ ปานฺ สรฺวฺวชฺ?ตา
(สถาปนา (พระพุทธรูปนี้) ให้มหาชนทั้งปวงผู้มีศรัทธา อนุโมทนาแลบูชานมัสการอยู่ที่นี่ เพื่อจะได้ถึงสรรเพ็ชญาณ)
จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง 1/4 พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
วาปฺทนฺรงฺวางฺ นา ตฺรนิ เทา ลฺวหฺ ต คิ สฺรุกฺสฺรโมเอํม สงฺโคลฺ โอยฺ วฺระกรุณา ปฺรสาท ต วาปฺ สรฺวฺวศิว ต มูล นูวฺ กุเล วาปฺสรฺวฺวศิว โผง
(วาบทันรังวางแห่งตระนิไปบ้านสระโมเอมเพื่อปักหลักเขตให้พระกรุณาประสาทแก่วาบสรรพศิวะผู้เป็นหัวหน้าพร้อมทั้งหมู่ญาติของวาบสรรพศิวะทั้งหมด)
จารึกวัดตาพระยา 1/22 สระแก้ว ศานติ ภักดีคำ
คิ  วา  กฺโทกฺ   สรฺวฺวปิณฺฑ  สวาลวฺฤ ทฺธ  กญุํ  โผงฺ  ทฺโรงฺ   จฺมํ  ทํริงฺงฺ  20 - 10 - 2
(รวมจำนวนทาสทั้งวัยฉกรรจ์และเด็ก   และผู้รักษาสวน  32  คน)
จารึกเขารัง 1/17 สระแก้ว ศานติ ภักดีคำ
944 ศก จตุรฺทฺศี เกตฺ ภทฺรปท อาทิตฺยวาร นุ วฺระ ปาท กํมฺรเตงฺ กํตฺวนฺ อญฺ ศฺรี สูรฺยฺยวรฺมฺมเทว ปนฺทฺวลฺ วฺระ นิยม รุ สมาจาร ต ตปฺร ปิ ภูวน โผงฺ ทฺวลฺ ปิ เถฺว โตยฺ
((มหา) ศักราช 944 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 10 วันอาทิตย์  พระบาทกัมรเตงกำตวน อัญศรีสุริยวรรมเทวะ มีพระบัณฑูรตรัส “พระนิยม” นี้ให้บุคคลทั้งหลายถือเป็น “สมาจาร” คือกฎที่ต้องประพฤติตามต่อไป)
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1) 1/4 ลพบุรี ศานติ ภักดีคำ
ติ ภูมิ นา สงฺ กุติ ติ โขฺลญฺ วล ทุญฺ (ต วา)ปฺ ปรฺ ปฺรภูวิษย วิชยปุระ o ... ต จํนำ วฺระ ยชฺญ โผงฺ...
(และที่ดินสำหรับสร้างกุตินั้นโขลญพลได้ซื้อให้แก่วาบบร ผู้เป็นประภูวิษัยแห่งวิชัยบุรี ... ทำหน้าที่ประจำเทวสถาน การบูชาทั้งปวง)
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3 3/20 บุรีรัมย์ ศานติ ภักดีคำ
ธรฺมฺม เนะ เ..... โผงฺงฺ ตราปฺ จนฺทฺราทิตฺย
(ธรรมนี้..... ตราบเท่าที่พระจันทร์และพระอาทิตย์...)
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5 4/4 บุรีรัมย์ บุญเลิศ เสนานนท์
วฺระ อวธีย เค เสฺวยฺ สฺวรฺค โผงฺ มรฺยฺยาทฺ เตฺว นุ วมรฺยฺยาทฺ  ลิงฺคปุร เตฺว
(สำหรับผู้ปฏิบัติตามพระราชโองการ จะต้องได้รับความดีความชอบหลายอย่างตามที่สร้างตะกรุดไว้ในลิงคบุรี)
จารึกปราสาทหินพนมวัน 1 1/5 นครราชสีมา ศานติ ภักดีคำ
กํเสฺตงฺมอางฺ ปาณฺฑิห . . . . .โฉฺลงฺ ศาล กุรุงฺ วิษย นุ คิ เตงฺ ตฺวนฺ วฺระ เสฺตงฺ อญฺ ชฺวนฺ ต กํเสฺตงฺ ชคตฺ วฺระ โผงฺ ติ เปฺร เถฺว จํนำ เล สิงฺ นุ คิ เค สฺวํ วิงฺ วฺระ สมย ต. . . . . อฺนกฺ โผงฺ ปายิทฺร
(มะอางผู้เป็นบัณฑิต จัดฉลองศาลาประจำเมืองที่เตงตวน พระเสตงอัญ ถวายแก่พระกัมรเตงชคัต พระทั้งปวงให้ประกอบพิธีกรรมตามหลักของศาสนาพวกเขาที่ได้รับอนุญาต . . . และประชาชนทั้งปวง ต่างมีความยินดี)
จารึกปราสาทเขาดุม 1/6 บุรีรัมย์ ศานติ ภักดีคำ
o ใต เขฺมา นุ กฺวนฺ เจา 0 ใต ถฺมาสฺ นุ กฺวนฺ เจา o ใตกนฺเส นุ กฺวนฺ เจา โผงฺ 0
( o ไตเขฺมากับลูกหลาน 0 ไตถฺมาสกับลูกหลาน o ไตกันเสกับลูกหลานทั้งปวง o)
จารึกวังสวนผักกาด 1/17 กรุงเทพมหานคร ศานติ ภักดีคำ