ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน
ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายสร้างพระพุทธรูป |
ฝักขาม |
ใน พ.ศ. 2027 พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายได้มาสร้างพระพุทธรูปในไว้ถ้ำนี้ ทั้งยังได้ชักชวนให้บรรดาข้าราชการทั้งหลายให้อุทิศข้าพระ ที่ดิน และเงิน ไว้เป็นของบูชาแด่พระพุทธรูป |
จารึกเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงรายสร้างพระพุทธรูป, ลพ. 21, ลพ./21, พช. 16, 331, ลพ. 21, ลพ./21, พช. 16, 331, ศิลาจารึก ลพ./21 อักษรไทย ภาษาไทย, ศิลาจารึก ลพ./21 อักษรไทย ภาษาไทย, หลักที่ 66 ศิลาจารึกดอยถ้ำพระ จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 846 (พ.ศ. 2027), หลักที่ 66 ศิลาจารึกดอยถ้ำพระ จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 846 (พ.ศ. 2027), พ.ศ. 2027, พุทธศักราช 2027, พ.ศ. 2027, พุทธศักราช 2027, จ.ศ. 846, จุลศักราช 846, จ.ศ. 846, จุลศักราช 846, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ถ้ำพระ, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมูยเชียงราย, พ่อหญัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงราย, พ่ออยู่หัวเจ้าเมืองท้าวมูยเชียงราย, พ่ออยู่หัวเจ้าเมืองท้าวมุยเชียงราย, พระพุทธเจ้า, นักบุญ, เจ้าหมื่นขวาทอง, เจ้าหมื่นซ้าย, อ้ายพ่อหญัวเจ้า, อ้าพ่ออยู่หัวเจ้า, ข้าพระ, เจ้ายีทอง, นางอาม, ยีห่อ, ญาณสังกา, เชียงดาย, ท่านสา, ท่านกุน, ชาวเพ็ง, เจ้าขุน, พระเป็นเจ้า, เงิน, เบ้, เบี้ย, บ้านถ้ำ, นาเก่า, เกินหรืนปูน, พุทธศาสนา, อุทิศข้าพระ, ถวายข้าพระ, อุทิศที่นา, ถวายที่นา, อุทิศที่ดิน, ถวายที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระจันทร์, พระเกตุ, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีเมษ, พระศุกร์, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีตุล, พระราหู, ราศีมีน, ปีกาบสี, เดือนเจียง, เพ็ง, เม็ง, วันพุธ, วันกัดไส้, ฤกษ์, โรหิณี, เรือน, ครัว, มอญ, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม และคงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2027, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-พ่อหญัวเจ้าเมือง, บุคคล-ท้าวมุยเชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2027 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2000?lang=th |
2 |
จารึกอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกไม่สมบูรณ์ พอจับความได้ว่ากล่าวถึงการอุทิศข้าพระให้อยู่ดูแลรักษาพระพุทธรูป |
ชม. 69 จารึกอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ประมาณ พ.ศ. 2020-2120, ชม. 69 จารึกอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ประมาณ พ.ศ. 2020-3230, ชม. 69, ชม. 69, อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2020, อายุ-จารึก พ.ศ. 2120, อายุ-จารึก พ.ศ. 2010-2120, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2020-2120 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14643?lang=th |
3 |
จารึกหัวแสนญาณกัลยากินเมืองพยาว |
ฝักขาม |
กล่าวถึงพ่ออยู่หัวแสนญาณกัลยา กินเมืองพะเยา และทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา แล้วได้กล่าวถึงชื่อ ตำแหน่งข้าราชการในครั้งนั้น เช่น เจ้าพันสีนาค พันมงคล หมื่นนาหลัง เป็นต้น ความจารึกในตอนสุดท้าย กล่าวถึง ถ้าผู้ไทยใด ไม่ไว้คนในจารึก ตามอาชญาพระเป็นเจ้า และกลับทำลายเสีย ขอให้มีแต่ความหายนะ ตายไปขอให้ตกนรก เรื่องที่ได้จากจารึกหลักนี้ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเมืองพะเยา ที่มีเจ้าเมืองครอบครองอยู่ใน พ.ศ. 2045 มีชื่อว่า แสนญาณกัลยา ระยะเวลาดังกล่าวนี้ เป็นรัชสมัยพระเมืองแก้ว ดังนั้น “ตามอาชญาพระเป็นเจ้า” ก็หมายถึงพระเมืองแก้ว เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ อันเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาสมัยนั้น |
จารึกหัวแสนญาณกัลยากินเมืองพยาว, ลพ. 19, ลพ./19, พช. 32, 332, ลพ. 19, ลพ./19, พช. 32, 332, ศิลาจารึก ลพ./19 อักษรไทยฝักขาม, ภาษาไทย, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดบุญนาค, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหัวแสนญาณกัลยา, นายหลาลี, สามเกิง, ฉางเลา, ปากโสม, ญาแก้ว, ญาแก่น, ญาอาบ, คำเหลา, ทิดสิน, เงิน, อัวมัน, อ้ายพั้น, อรรถทัสสี, สามลอด, บูน, นางลูน, สามจันทร์, เจ้าหมื่นนาหลัง, ญาแทนคำ, เจ้าปากวัน, ปากแก้ว, ปากสินพินเมือง, เจ้าพันศรีทาด, พันมงคล, พวกมงคล, ปากอานนท์, ปากสวนพสิม, หนังสือแคว้น, เฒ่าเมืองเกต, เฒ่าเมืองสิน, เจ้าไท, เคล้า, เค้า, เจ้าพันศรัทธา, เจ้าพันตูบเจียนสุวรรณ, เจ้าพันญางญากุน, เจ้าหัวแสนพะเยา, พุทธศาสนา, กินเมือง, กินเมิง, ปกครองบ้านเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, ลัคนา, ราศีกันย์, ปีเต่าเส็ด, เม็ง, มอญ, วันจันทร์, ฤกษ์, อุตตรภัทรปท, อุตตรภัทรบท, ราศีตุล, ราศีพฤษภ, ราศีสิงห์, ราศีเมถุน, ราศีเมษ, ราศีมังกร, ปีระวายยี่, ปีระวายยี, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา-แสนญาณกัลยา, บุคคล-พ่ออยู่หัวแสนญาณกัลยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557) |
พุทธศักราช 2045 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1997?lang=th |
4 |
จารึกสร้างพระพุทธรูปวัดดอนยาง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2023 พระภิกษุมังคลเมธาวี อยู่เมืองฝาง สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ถวายแด่วัดดอนยาง |
ชร. 11 จารึกสร้างพระพุทธรูปวัดดอนยาง พ.ศ. 2023, ชร. 11 จารึกสร้างพระพุทธรูปวัดดอนยาง พ.ศ. 2023, 1.4.1.1 จารึกวัดดอนยาง พ.ศ. 2023 (Wat Don yang A.D. 1480), 1.4.1.1 จารึกวัดดอนยาง พ.ศ. 2023 (Wat Don yang A.D. 1480), พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, พ.ศ. 2023, พุทธศักราช 2023, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, พ.ศ. 2024, พุทธศักราช 2024, หินทรายสีเทา, รูปครึ่งวงกลม, วัดปงสนุก, ตำบลเวียง, อำเภอเทิง, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพุทธโคดมเจ้า, พระพุทธโคตมเจ้า, เจ้าภิกขุ, สุมังคละเมธาวี, มหาสามีสุมังคละเมธาวี, เจ้าอินประหยา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, นักปราชญ์, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อริยสัจ 4, อริยสัจ 4, นิพพาน, พระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2023, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกรูปครึ่งวงกลม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระภิกษุมังคลเมธาวี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2023 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1460?lang=th |
5 |
จารึกวัดเก้ายอด |
ฝักขาม |
ข้อความที่จารึกนี้กล่าวถึง คือ การอุทิศส่วนกุศลในการสร้างวัดเก้ายอด ถวายแด่เจ้าเหนือหัวผู้ครองเมืองเชียงใหม่ในสมัยนั้น คือ พระเจ้าสามฝั่งแกน กล่าวถึงเจ้าสี่หมื่นพยาว (เมืองพะเยา) ให้คนมาฝังจารึกในวัดเก้ายอด บ่งบอกอาณาเขตของวัด โดยเอาบ้านพระยาร่วงและบ้านหมอช้างเป็นแดน จากข้อความเหล่านี้ จึงแน่ใจได้ว่า จารึกหลักนี้เป็นของที่อยู่ประจำกับวัดเก้ายอด และวัดนี้จะต้องอยู่ในเขตจังหวัดพะเยาปัจจุบันนี้อีกด้วย เพราะการอ้างถึง บ้านพระยาร่วงนั้นคงจะเป็นบริเวณที่ตั้งของวัดพระยาร่วง ในจังหวัดพะเยา ที่แห่งนี้ ได้ค้นพบจารึกศิลาจารึกกล่าวถึงวัดพระยาร่วง ซึ่งปัจจุบันนี้เรียกกันว่า วัดบุญนาค |
จารึกวัดเก้ายอด, ลพ. 27, ลพ./27, พช. 11, 338, ลพ. 27, ลพ./27, พช. 11, 338, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ผ้าขาว, นักบุญ, เจ้าเหนือหัวเจ้าพระยาเติม, มหาเทวี, ลุงเจ้าโถด, พันยี่, มหาเถร, เจ้าวัด, ชาวเจ้า, ชีบามหาเถร, หมื่นแมนแสนเขาเฒ่าเมือง, ผู้เฒ่าผู้แก่, พันนาม่วง, เจ้าสี่หมื่นพะเยา, พระพุทธเจ้า, พันนาเชียงดี, สังฆเถรา, พระภิกษุ, หมาก, เบ้, เบี้ย, จังหัน, คือเวียง, คูเมือง, บ้านพญาร่วง, บ้านหมอช้าง, สุมกลาด, หมู่ตลาด, บ้านเก้ายอด, แดนขรางไม้, ถ้ำ, พุทธศาสนา, วิหาร, ชายคาวิหาร, สร้างวัด, ฝังจารึก, ฝังหิน, ปีระวายสี, ปีรวายสี, อนาบุญ, กุศล, วันตก, วันออก, แท่น, พายใต้, รางไม้, เทวดา, สัตว์ดิรัจฉาน, นรก, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1955, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาสามฝั่งแกน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 1955 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2011?lang=th |
6 |
จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก) |
ฝักขาม |
จารึกหลักนี้ได้กล่าวถึงเรื่อง |
จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก), ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดวิสุทธาราม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จมหาสวามีศรีวิมลโพธิญาณเจ้า, อธิบดี, มหาเถรชยบาลรัตนปัญญา, มหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระเป็นเจ้า, มหาสวามีเจ้า, พวกญารัดดาบเรือน, แสนญาณ, ญาติมหาเถรสินประหยาเจ้า, ญาติมหาเถรสินปัญญาเจ้า, เจ้าแสน, เจ้าพันต่างเมิงมงคล, เจ้าพันต่างเมืองมงคล, ปากสิงขุนหมื่นเมิง, พันหนังสือทา, เจ้าแสนหน้า, ชาวทิตน้อย, ชาวทิดน้อย, พวกญาดาบเรือน, มหาเถรเจ้า, ลูกศิษย์, มหาเถรชมหนาน, หมื่นนาหลังแทนคำ, ปากเทพ, ขบคราว, กลอง, พันเชิงสมณะ, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันหนังสือสาคอน, นางหลาเม้, นางแพง, สุวรรณ, สู, นางคำพัน, นางแก้ว, บุญมาสูแก้ว, ขุนครัว, นางเพิงเม้, เอื้อยบุญ, อีแม่, อีคำบุญ, สีกุน, สีลา, ญาอี, นางแพง, หมอ, น้อย, ยี, เอีย, บุนหนำ, หลอย, เกิง, เม้กอง, ปู่เสียง, นางผิง, เม้นางลัวะ, นางโหะ, หลานจูลา, สูโหะคำพา, ออน, นางเอียเม้, นางอีแม่, นางอุ่น, พี่อ่อน, อีน้อง, ญาพาน, ไอ้, อุ่น, ประหญา, ประหยา, สามพอม, นางพอม, นางอามเม้, นางบุญสม, นางคำสุก, อีหลา, แก้วมหา, ทิดญา, นางเพิง, บุญ, สินแพง, นางบุญมี, นางอุ่น, ทอง, นางช้อยเม้ขวัญ, อ้อย, ช้อย, นางกาน, นางนิรัตนะ, นางอ่ำ, นางม้อย, เม้เอื้อย, กอน, นางไอ, นางอัว, นางสิน, ญาเทพชา, นางพริ้ง, วอน, ญอด, ซอ, เอื้อยชาย, แก้วเตา, บาเกา, เถรสินประหญา, มหาเถรเจ้า, เงิน, ป่าแดงหลวง, พุทธศาสนา, วัดวิสุทธาราม, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, กินเมิง, กินเมือง, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ลัคนา, พระราหู, ราศีมังกร, ปีขาล, ปีรวายญี่, ปีระวายยี, เดินเจียง, เดือนเจียง, วันรวงเปล้า, วันรวงเป้า, เม็ง, วันอาทิตย์, ฤกษ์, สมณะพราหมณ์, ปิฎก, ครัว, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พุทธรักษา, มอญ, สมณฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2049, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระมหาสวามีศรีมงคลโพธิญาณเจ้า, บุคคล-มหาเถรชัยบาลรัตนปัญญา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2049 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2003?lang=th |
7 |
จารึกวัดมหาโพธิ |
ฝักขาม |
จารึกหลักนี้กล่าวถึงพระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว ให้ฝังจารึกไว้ ณ วัดมหาโพธิ ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงสิ่งของและข้าพระ พ.ศ. 2043 นี้ เป็นรัชกาลของพระเมืองแก้วแล้ว เพราะพระบิดาของพระองค์ คือ พระเจ้ายอดเชียงราย ทรงสละราชสมบัติให้โอรสครอง แต่ปี พ.ศ. 2039 ดังนั้น พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัวในที่นี้ ก็คือ พระราชมารดาของพระเมืองแก้วนั่นเอง แต่วัดมหาโพธินั้นมีปัญหาอยู่เหตุที่ศิลาจารึกนี้พบที่จังหวัดเชียงราย หากพบที่จังหวัดเชียงใหม่แล้ว วัดมหาโพธิ ก็น่าจะได้แก่วัดเจดีย์ 7 ยอด อันเป็นสถานที่ทำสังคาย ครั้งที่ 8 ในแผ่นดินพระเจ้าติโลกราชนั่นเอง เพราะเจ้าอาวาสผู้ครองวัดนี้ยังมีนามว่า พระโพธิรังษี ผู้แต่งจามเทวีวงศ์และสิหิงคนิทานเป็นภาษาบาลี |
จารึกวัดมหาโพธิ, ลพ. 26, ลพ./26, พช. 5, 334, ลพ. 26, ลพ./26, พช. 5, 334, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, ชาวนา, ชางญาง, ชยญาณโรจิ, ปัญญา, ขุน, หน่อแก้ว, เอื้อยบุญ, หมื่นน้อยคำ, ทิดยอด, อ้ายขุน, โคด, อั้ว, อ้ายพง, อ้ายน้อย, ไสลุน, ญา, รังสี, กำเพียน, อ้ายมูน, สร้อยคำ, สามแสง, นารอด, ไสหลา, ไสมุย, มหาบาน, ยี่สุ่น, อ้ายใจ, อ้ายมาย, ยีเทด, อินเกา, ทิดยศ, ญารังสี, พ่อกอน, ขีนษุด, อ้ายแก้ว, บาง, เม้ย, ทิดบุญ, เชียงงัว, ไอ้เม้นาหลัง, นางสา, สิก, กลพัด, อ้ายกิง, ไสเลง, ยีกง, ขุนข้อย, แก่เขา เจ้าหมื่นแก้วดาบเรือน, พวกญาณะคงคาต้องแต้ม, สวรสีต้องแต้ม, พระเจ้า, หมื่นน้อยคำ, พระเป็นเจ้า, มงคลดาบเรือน, เจ้าเมืองเชียงรายคำลาน, หมื่นขวาญาณะคงคาเชียงรุ้ง, หมื่นน้ำหัวสุก, หมื่นนาหลัง, จุลา, เฒ่าเมืองคำเรือง, เฒ่าเมิง, เถ้าเมือง, เผิ้ง, ผึ้ง, น้ำมัน, นารัง, พุทธศาสนา, ฝังจารึก, ปีกดสัน, ฤกษ์, จิตระ, วันเปลิกสง้า, เม็ง, วันศุกร์, ครัว, การเมือง, เง่า, เหง้า, ประธาน, หัวหน้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 18 ฉบับที่ 4 (พฤศจิกายน 2517) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2043 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2043?lang=th |
8 |
จารึกวัดพูขีง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2030 หมื่นบง ถวายนาและคนแด่วัดพูขีง และวัดป่าตาล ซึ่ง 2 วัดนี้เป็นวัดลูกของวัดบ้านราม ห้ามรบกวนคนของวัด |
ชร. 61 จารึกวัดพูขีง พ.ศ. 2030, ชร. 61 จารึกวัดพูขีง พ.ศ. 2030, 1.4.1.1 วัดภูขิง พ.ศ. 2031, 1.4.1.1 วัดภูขิง พ.ศ. 2031, (Wat Phu Khing A.D. 1488), ชร. 61, ชร. 61, 92/28, 92/28, 1.4.1.1 วัดภูขิง พ.ศ. 2031 (Wat Phu Khing A.D. 1488), พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, พ.ศ. 2030, พุทธศักราช 2030, จ.ศ. 849, พุทธศักราช 849, จ.ศ. 849, จุลศักราช 849, หิน, รูปใบเสมา, วัดพูขีง, วัดสันทราย, บ้านดงชัย, อำเภอเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าหมื่นญี่, หมื่นบง, หนานหริ, แม่ญี่ทุน, นากวกาว, วาย, นาพันหลวง, นากวาวมง, นาหนานหริน้อย, บ้านกง, นากัง, นาโพระ, นาหมาลาย, นากลาด, บ้านกลอง, ฝาง, นาซายบุญ, พุทธศาสนา, วัดพูขีง, วัดลูกพระเจ้า, วัดบ้านราม, วัดป่าตาล, ปีมะแม, เมิงเม็ด, เดินวิสาขะ, เดือนวิสาขะ, ออก, วันอังคาร, วันเมิงเม็ด, บุรพผลคุณ, นิพพาน, กินขง, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2030, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, บุคคล-หมื่นบง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2030 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1418?lang=th |
9 |
จารึกวัดพระคำ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2039 พระราชมาดาของพระมหากษัตริย์ (พญาแก้ว) มีพระราชโองการมาถึงเจ้าเมืองพะเยาชื่อ ญี ซึ่งเป็นพระอัยกา เพื่อยืนยันกัลปนา มีคนและนา ที่พญาสามฝั่งแกน (เสวยราชย์ พ.ศ. 1944-1984) และคนอื่น เคยถวายไว้แด่วัดพระคำ ต่อมา ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในเมืองพะเยา ประชุมตกลงกันให้เป็นไปตามพระราชเสาวณีย์ และตั้งศิลาจารึกหลักนี้ขึ้น สุดท้ายเป็นรายชื่อของข้าทาสที่เป็นหนี้เงินของวัด ห้ามผู้ใดเอาข้าวัดออกไปใช้งานอื่น |
จารึกวัดพระคำ, ลพ. 10, ลพ./10, พช. 10, 326, ลพ. 10, ลพ./10, พช. 10, 326, 326/18, 326/18, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรม, พระสังฆ, พระสงฆ์, ข้าวัด, สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีสรีรัตนจักรวรรดิ, พระราชมาตา, ปู่พระเจ้า, เจ้าเมืองญี่พยาว, หล้า, พระพยาว, ปู่หม่อน, พระพุทธเจ้า, เจ้าเมืองแม่ใน, น้ำ, หมื่นลำ, ลูกวัด, ปู่ทวด, เจ้าหมื่นอาดคราว, เพกประหญา, เพกปัญญา, เพ็ชรปัญญา, เพชรปัญญา, พระมหาเทวีเจ้า, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, หมื่นอุดมนาหลัง, พันนา, พันเถ้าเมิงสรีพัด, พันเถ้าเมืองสรีพัด, พันสุวันต้องแต้ม, พันหนังสือแคว้นฉาง, พันหนังสือพื้นเมิง, พันหนังสือพื้นเมือง, หมื่นเปล้าคำรองลูกขา, พันประหญาเชิงคดี, พันปัญญาเชิงคดี, หลวงนาย, พ่อน้อย, สรีมงคล, อุตมบัญฑิต, พระภูบาล, พระราชะราชา, เสนา, มนตรี, ไพร่ฝ้า, ไพร่ฟ้า, ราชกรงเสมา, เอกขษัตรา, มหาเถรพุทธสาครเจ้า, พันล่ามฉาง, พ่อแสง, ล่ามแดว, ทิดหมัว, ทิดเหม, เชียงลุน, สังคบาน, สังฆบาล, มุก, สีโคด, อุ่น, เกิง, กอน, เมิงพยาว, เมืองพะเยา, บาดาล, พรหมโลกา, เมิงสวรรค์, เมืองสวรรค์, คู, พุทธศาสนา, วัดพระคำ, ฝังเสมา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, อุทิศข้าพระ, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, สมภาร, เทวดา, ศีลปัญญา, วิมุติปัญญา, ปีมะโรง, ปีระวายสี, เม็ง, วันอาทิตย์, กาบเม็ด, ริก, ฤกษ์, อัศวณี, พระราชโองการ, ครัว, พระพุทธรูป, พระราชองการ, พระราชองกาน, พระราชเสาวนีย์, บุญ, อนันจักราพาน, จักรวรรติภูมี, สีลบาล, สีลบาน, อุปถาก, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พันเงิน, ลำนำ, ดิริฉาน, อเพจี, อเวจี, อุปัฏฐาก, เทวา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-การสร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาสามฝั่งแกน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1975?lang=th |
10 |
จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2159 พญาหลวงเมืองเชียงแสน และนางพญาหลวง พร้อมด้วยพระสงฆ์ 3 คณะ ร่วมกันสร้างวิหาร และสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ แล้วนิมนต์สมเด็จราชโมลีจิตตสารมังคละ มาเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. 2160 สร้างเจดีย์ บรรจุพระธาตุพระพุทธเจ้า จำนวน 358 องค์ และธาตุ และธาตุพระสาวกจำนวน 400,000 องค์ พร้อมทั้งถวายคน 52 คน และสวนหมากแด่วัดด้วย |
ชร. 7 จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) พ.ศ. 2158-2159, ชร. 7 จารึกวัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม) พ.ศ. 2158 2159, 1.4.1.1 วัดผ้าขาวป้าน พ.ศ. 2160 (Wat Pah Khao Pan A.D. 1617), 1.4.1.1 วัดผ้าขาวป้าน พ.ศ. 2160 (Wat Pah Khao Pan A.D. 1617)ศักราช: พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2158, พุทธศักราช 2158, พ.ศ. 2159, พุทธศักราช 2159, พ.ศ. 2159 พุทธศักราช 2159, จ.ศ. 977, จุลศักราช 977, พ.ศ. 977, พุทธศักราช 977วัตถุจารึก: หินชนวนสีดำลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: วัดผ้าขาวป้าน (วัดสุนทราราม), ตำบลเวียง, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงรายอาณาจักร: ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: นางพญาหลวงเจ้า, นางพระญาหลวงเจ้า, พระราชครู, พระสงฆ์, สมเด็จเจ้า, มหาสังฆราชาสวามีพราสังฆเจ้า, สมเด็จราชโมลีเจ้า, จิตสารมังคล, เจ้าอาวาส, อรหันตาเจ้า, ท้าวพระญาเจ้าสถานที่: เมืองเชียงแสนเจ้า, สวนหมาก, บ้านชุมแสงศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: พระวิหาร, พระหาร, อุดมโกศล, เจติยะ, เจดีย์, วัดจุนทาพิธีกรรม: ปกพระหาร, สร้างพระวิหาร, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, สร้างเจดีย์อื่นๆ: วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระอังคาร, พระพุธ, ลัคนา, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระเสาร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ปีดับเหม้า, เพ็ง, ไทยดับเร้า, ติดถี, ดิถี, นาที, ฤกษ์, พาดลั่น, ปราณ, พิชนาที, เพ็ชรนาที, อักษร, นวางค์, วรโคตมย, พระโคตมี, พระไตรรัตนแก้ว, ไทยเปิกสัน, กลองงาย, พระพุทธเจ้าองค์หลวง, พระพุทธรูป, ปีระวายสี, วันอาทิตย์, ไทยกดสี, ตูดเช้า, พระธาตุ, ครัว, เรือน, หมื่นไมตรีไหมคำ, หมื่นยางแก้วมาลุน, นางเสน่ห์, กินบ้านกินเมือง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158, อายุ-จารึก พ.ศ. 2159, อายุ-จารึก พ.ศ. 2158-2159, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-เจ้าเมืองน่าน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พญาหลวงเมืองเชียงแสน, บุคคล-นางพญาหลวง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, บุคคล-สมเด็จราชโมลีจิตตสารมังคละ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2158-2159 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1443?lang=th |
11 |
จารึกวัดปราสาท |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2039 เจ้าหมื่นเชียงแสนคำล้าน ถวายวัดปราสาทแด่พระเจ้าแผ่นดินและพระราชมารดา ทั้ง 2 พระองค์ทรงส่งตราหลาบคำ อุทิศนาและคนแก่วัด |
จารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 858 (พ.ศ. 2039), จารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 858 (พ.ศ. 2039), ชร. 3, ชร. 3, ชร./4, ชร./4, หลักที่ 69 ศิลาจารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย, 1.4.1.1 วัดปราสาท พ.ศ. 2039, 1.4.1.1 วัดปราสาท พ.ศ. 2039, ชร. 3 จารึกวัดปราสาท พ.ศ. 2039, ชร. 3 จารึกวัดปราสาท พ.ศ. 2039, Wat Prasat A.D. 1496, Wat Prasat A.D. 1496, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดปราสาท, อำเภอเชียงแสน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, อินทร์พรหมภิพรหม, สาธุสัปปุรุษ, พุทธสาวก, มนุษย์, พระสงฆ์, เจ้าหมื่นเชียงแสนคำล้าน, หมื่นเนหม, เจ้าหมื่นสามล้าน, เจ้าหมื่นครูเทพ, เจ้าพัน, สมเด็จบพิตรพระเป็นเจ้า, ยี่หลู้, ทิดจัน, จิดา, จุลา, สีลหรนี, แก้วหลวง, บุญรักษา, ผ้าขาวทอง, ทิดอัด, เจ้าขุน, มหาราชเจ้าแผ่นดิน, มหาสังฆราชาญาณวิลาส, มหาสามีโสมรังสี, เถ้าเมิงศรี, เถ้าเมิงจินดา, เถ้าเมืองศรี, เถ้าเมืองจินดา, พันหนังสือ, ญาณวัง, ปากสาคร, เจ้าไท, ทองคำ, เบ้, เบี้ย, เมิงศรีมงคล, เมืองศรีมงคล, เมิงม่วน, เมืองม่วน, พุทธศาสนา, วัดปราสาท, วัดพระหลวงกลางเวียง, วัดพระบวช, วัดพระยืน, วันจันทร์, วันดับไส้, ไตรสรณ์, ยักษ์, รากษส, ปิศาจ, กุมภัณฑ์, คนธรรพ์, ภุชงค์, สุราสุรินทร์, นิยาย, มงคล, หรคุณ, วันบ่สูญ, วันปลอด, ปีระวายสี, เดินสิบเอ็ด, เดือนสิบเอ็ด, ออก, วันไทยดับไส้, เม็ง, ปลงอาชญา, ครัว, กำเพียน, แผ่นดิน, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, นา, บุญ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-เจ้าหมื่นเชียงแสนคำล้าน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1427?lang=th |
12 |
จารึกวัดบ้านแลง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2011 พญาสุพรรณ สร้างวัดบ้านแลง อันเป็นวัดที่อยู่ในความอุปถัมภ์ของพระเจ้าแผ่นดิน และถวายบ้านแลงแด่วัด ต่อจากนั้นเป็นรายชื่อพยานและผู้มาฝังหลักศิลาจารึกนี้ |
ลป. 15 จารึกวัดบ้านแลง (พ.ศ. 2011), ลป. 15 จารึกวัดบ้านแลง (พ.ศ. 2011), จารึกวัดบ้านแลง, ลป. 15, ลป. 15, 1. 6. 1. 1 วัดบ้านแลง, 1. 6. 1. 1 วัดบ้านแลง, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, พ.ศ. 2011, พุทธศักราช 2011, แผ่นหินสีเทา, วัดบ้านแลง, ตำบลร่องเคาะ, อำเภอวังเหนือ, จังหวัดลำปาง, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าพ่อญาสุพรรณ, พญาสุพรรณ, พระเป็นเจ้า, เจ้าแคว้นพันขวัญยางน้อง, นายหนังสือแก้ว, นายเชียงยี, ลำพัน, แสนข้าว, ปากนาหมัว, พุทธศาสนา, สร้างวัดบ้านแลง, ฝังศิลาจารึก, ฝังจารึก, ปีเปิกไจ้, กาบสี, เม็ง, พฤหัสบดี, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2011, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-พญาสุวรรณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2011 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1968?lang=th |
13 |
จารึกวัดบ้านยางหมากม่วง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2022 เจ้าหมื่นน้อยใส ผู้ครองเมืองอ้อย ถวายนา และต้นหมาก แด่วัดบ้านยางหมากม่วง |
จารึกวัดบ้านยางหมากม่วง, ชร. 33, ชร. 33, ศิลาจารึกจากวัดบ้านยางหมากม่วง (พ.ศ. 2022), ศิลาจารึกจากวัดบ้านยางหมากม่วง (พ.ศ. 2022), 1.4.1.1 วัดบ้านยางหมากม่วง พ.ศ. 2022, 1.4.1.1 วัดบ้านยางหมากม่วง พ.ศ. 2022, Wat Ban Yang Mak Muang A.D. 1479, Wat Ban Yang Mak Muang A.D. 1479, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, พ.ศ. 2022, พุทธศักราช 2022, จ.ศ. 841, จุลศักราช 841, จ.ศ. 841, พุทธศักราช 841,หินทราย, รูปใบเสมา, วัดร้าง, ตำบลแม่เย็น, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ซาว, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าแผ่นดิน, เถ้าเมิง, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, เจ้าพันหลวง, ปากอิน, พันหนังสือ, ข้าว, บ้านอ้อย, เมิงอ้อย, เมืองอ้อย, พุทธศาสนา, อาราม, วัดบ้านยางหมากม่วง, การทำบุญ, กินเมือง, กินเมิง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, พระราหู, พระพฤหัสบดี, ราศีเมถุน, ลัคนา, พระศุกร์, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ปีกุน, ปีกัดไก๊, เดินเจียง, เดือนอ้าย, ออก, วันกดสัน, เม็ง, มอญ, บุรพาษาฒ, บูรพาษาฒ, เจ้าหมื่นน้อยไส, ลูกหมื่นฝางเถ้า, เถ้า, นา, จังหัน, บุญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2022, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-เจ้าหมื่นน้อยใส, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2022 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1409?lang=th |
14 |
จารึกวัดทงแลง (มหาเถรปราสาทเจ้า) |
ฝักขาม |
กล่าวถึงการไว้ข้าให้อุปฐากพระพุทธรูปและชาวเจ้าสงฆ์ แล้วถวายบุญนั้นแก่พระเป็นเจ้าสองแม่ลูก (พระเมืองแก้ว กับ พระราชมารดา) ตลอดถึงเทพยดาทั้งหลาย ห้ามมิให้ผู้ใดนำข้าพระไปทำการงานอย่างอื่น ถ้าผู้ใดบ่ฟังคำ ขอให้ผู้นั้นต้องทุกข์ ได้กล่าวถึงข้าพระวัดทงแลง และได้กล่าวถึงการเอาบุญในการสร้างวัดไปยังพระมหาเถรปราสาท และกล่าวถึงพระมหาเทวีเจ้ายินดีในบุญ ได้ไว้คน 18 ครัว |
จารึกวัดทงแลง (มหาเถรปราสาทเจ้า), ลพ. 30, ลพ./30, พช. 8, 329, ลพ. 30, ลพ./30, พช. 8, 329, ศิลา ประเภทหินทราย สีเทา, แผ่นยาว, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรหม, อินทร์, เทวดา, ท้าวจตุโลกบาล, ชาวเจ้า, สังฆ, สงฆ, พระเป็นเจ้าแม่ลูก, เจ้าไทย, พระมหาเทวีเจ้า, เฒ่าเมือง, พระภิกษุ, ข้าพระวัดทงแลง, อาจารย์มหินทร์, เจ้าพวกต้องแต้มคงคา, มหาเถรเจ้า, ชาวช่างทอง, น้อยใหม่, ไพร่, บ้านนายเมือง, พุทธศาสนา, อาราม, สร้างวัด, ลายสือ, เวียก, การเมือง, อุปัฏฐาก, พระพุทธรูป, พระเจ้า, สัตว์, ทุกข์, โพย, กรรมการ, พันหล้าหนังสือเมือง, พันสินหนังสือเมือง, พันนาหลัง, ตัวหนังสือ, บุญ, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2017?lang=th |
15 |
จารึกวัดกลางพยาว |
ฝักขาม |
ด้านที่ 1 บรรทัดแรก ได้กล่าวถึง เดชานุภาพในศิริมงคลจงมีแด่พระศาสนาแห่งพระศากยะบุตรโคตมต่อเท่า 5,000 ปี กล่าวถึงการไว้ข้าพระเพื่อรักษาพระวัดกลางพะเยา และกล่าวถึงพระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด จากเนื้อความที่จารึกนี้แสดงว่า เป็นเรื่องของวัดกลางเมืองพะเยา ในปี พ.ศ. 2042 ซึ่งจารึกได้บ่งบอกศักราชไไว้เป็นจุลศักราช 861 ตรงกับรัชกาลพระเมืองแก้วนั่นเอง สำหรับนามของพระมหาเถระที่จารึกบันทึกไว้ว่า “พระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด” สงสัยว่า “พระเกิด” นั้นควรจะเป็นชื่อวัดที่ท่านครองอยู่ในฐานะเจ้าอาวาสก็ได้ และวัดในจังหวัดเชียงรายก็มีอยู่วัดหนึ่งเรียกว่า “วัดศรีเกิด” หรือ “วัดเกิดศรี” หากไม่เช่นนั้น ก็น่าจะเป็นนามเดิมของท่าน |
จารึกวัดกลางพยาว, ลพ. 33, ลพ./33, พช. 14, 337, ลพ. 33, ลพ./33, พช. 14, 337, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, จ.ศ. 861, พุทธศักราช 861, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระศาสนาพระศากยมุนีโคตมเจ้า, สังฆมนีตะสัททาจาริย์นันทผระหญา, พ่อ, นัน, สินหล้า, สีร้อย, สีไอ, ลูกข้า, พระสงฆ์, มหาสามี, ธัมมเสนา, มหาสังฆราชาผระหญาวงวัดลี, ปากหนังสือเมิง, พันศรีพัด, เถ้าเมืองญี, เถ้าเมิงญี, เถ้าเมิงขวัญ, เถ้าเมืองขวัญ, ปากเทบพันขวัญ, พระพุทธเจ้า, สรีธรรมจักรวัติราชา, พระราชมาดา, เจ้าเมิงพยาวพ่อกลาง, เจ้าเมืองพะเยาพ่อกลาง, พุทธศาสนา, วัดพระเกิด, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, บุญ, ปีกัดเม็ด, เดินมาฆะ, เดือนมาฆะ, วันกัดเม้า, วันกัดเหม้า, เม็ง, มอญ, วันพุธ, พระพุทธรูป, เทวดา, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2042, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กรวดน้ำ,บุคคล-พระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด, บุคคล-มหาสังฆราชาผระหญาวงวัดลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2042 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2020?lang=th |
16 |
จารึกมหาเถรธรรมทิน |
ฝักขาม |
อ่านจับใจความได้เล็กน้อย เกี่ยวกับการอุทิศข้าพระแก่วัด แต่ในจารึกนี้ ปรากฏชื่อพระเถระองค์หนึ่งที่มีความสำคัญมากของล้านนาในสมัยพระเจ้าติโลกราช คือ พระมหาเถรเจ้าธรรมทิน แต่ในจารึกนี้เขียนตามตัวว่า “มหาเถนธำมะทิน” หากไม่มีพระเถระองค์อื่นที่ใช้นามนี้สืบต่อมาดุจ “สมณศักดิ์” หรือ “ฉายา” แล้ว พระมหาเถรเจ้าธรรมทินในศิลาจารึกนี้ ก็คงจะเป็นองค์เดียวกันกับ “ท่านพระธรรมทินนะ” ผู้เป็นองค์ประธานในการกระทำสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 8 ที่เรียกว่า “อัฏฐมสังคายนา” ในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช เมื่อปีพุทธศักราช 2020 ก็ได้ อนึ่งท่านพระมหาเถระผู้นี้ เป็นชาวเมืองเชียงราย จากหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ฉบับชำระใหม่ ของกรมศิลปากร ซึ่งท่านผู้ชำระ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับพระมหาเถระองค์นี้ไว้ว่า เมื่อพระศาสดาปรินิพพานได้ 1977 ปี ปลายปีฉลู จุลศักราช 705 พระเถระเหล่านั้นไปเมืองเชียงแสน แคว้นโยน (โยนก) ได้อุปสมบทกุลบุตรเป็นอันมากที่เกาะดอนแท่น ขอให้ทราบว่า พระมหาเถระอุปสมบทในคราวนั้น มีพระธรรมเสนาปติกุลวงศ์เป็นต้น ในปีจุลศักราชนั้นเอง พระมหาเถระทั้งหลาย ท่านได้สร้างมหาวิหารป่าแดงหลวง (วัดป่าแดง) ในวันเพ็ญ เดือน 3 ที่เชิงดอยจอมกิตติ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือนครเชียงแสน พระมหาเถรเหล่านั้น ภายหลังได้ทำการอุปสมบทกรรมในปีนั้นเอง ที่สุวรรณปาสาณกะ (แปลว่า แผ่นหินทองคำ เข้าใจว่า เป็นชื่อบ้านวังคำ ด้านตะวันออกเฉียงเหนือดอยตองเชียงรายในปัจจุบันนี้) ในเมืองเชียงราย ขอให้ทราบว่า พระมหาเถระที่ได้อุปสมบทในคราวนั้น คือ “พระธรรมทินนะ” เป็นต้น ท่านพระธรรมทินนะดังที่กล่าวมานี้ ท่านได้อุปสมบทในปี พ.ศ. 1977 ในรัชกาลของพระเจ้าสามฝั่งแกน พระราชบิดาของพระเจ้าติโลกราช |
จารึกมหาเถรธรรมทิน, ลพ. 11 จารึกสังฆราชาธรรมทิน พุทธศตวรรษที่ 21, ลพ. 11 จารึกสังฆราชาธรรมทิน พุทธศตวรรษที่ 21, ลพ. 11, ลพ./11, พช. 7, 339, ลพ. 11, ลพ./11, พช. 7, 339, จารึกพระมหาเถรเจ้าธรรมทิน, หินทรายสีเทา, แท่งสี่เหลี่ยมทรงสูง, ปลายแหลม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญีน้อย, สมพันน้อย, พันสรีทาด, พันนินร้อย, สังฆราชา, มหาเถรเจ้าธรรมทินเจ้า, ข้าพระ, นายไส, ขาเรน, สรีจูลา, จอม, นางบัว, คำต่อม, เถ้าสาม, เฒ่าสาม, ส้อยบุน, มงคน, ญากน, ออเงินพระ, ยาริ, คำปุด, โหะ, ล่ามน้อย, คำร้อย, คำกอง, แม่บัวขวัญ, เมิงสรีพัด, เมืองศรีพัด, พุทธศาสนา, รํ, ร่, ครัว, เริน, เรือน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-การอุทิศข้าพระ, บุคคล-พระธรรมทิน, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระธรรมทินนะ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1980?lang=th |
17 |
จารึกพุทธอุทานคาถา |
ธรรมล้านนา |
ตอนต้นระบุจุลศักราช 876 นอกนั้นเป็น “พุทธอุทานคาถา” ภาษาบาลี ซึ่งเป็นคาถาอยู่ในพระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาคที่ 1 มหาขันธกะ เรื่องโพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ |
ชร. 62 จารึกพุทธอุทานคาถา พ.ศ. 2057, ชร. 62 จารึกพุทธอุทานคาถา พ.ศ. 2057, จุลศักราช 876 (พ.ศ. 2057), สำริด, สัมฤทธิ์, ฐานรูปปราสาท, ล้านนา, พญาแก้ว, มังราย, วัดพูขีง (วัดสันทราย) บ้านดงชัย อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย, พุทธ, วินัยปิฎก, คาถา, พระพุทธเจ้า, พระไตรปิฎกมหาขันธกะ, เรื่องโพธิกถา, ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2057, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, จารึกสมัยอยุธยา, จารึกพระพุทธศาสนา, พุทธคาถา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2057, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศักราช 2057 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1662?lang=th |
18 |
จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว |
ฝักขาม |
ในด้านที่ 1 ขึ้นต้นจารึกเป็นคำนมัสการแด่พระพุทธเจ้าด้วยภาษาบาลี ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงศาสนาแห่งพระโคตมเจ้าล่วงพ้นไปแล้ว 2067 ปี ในด้านที่ 2 จารึกได้บ่งบอกถึงพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เรื่องที่ได้จากศิลาจารึกนี้ ที่น่าสังเกตก็คือ การใช้จุลศักราชและพุทธศักราชนั้นเป็นหลักฐานที่ตรงกับหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ดังที่ท่านผู้ชำระชี้แจงไว้ ส่วนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในจารึกนี้ควรจะได้แก่พระเจ้าตนหลวง ที่วัดศรีโคมคำ จังหวัดพะเยา นั่นเอง เพราะทางภาคเหนือแล้วก็มีพระพุทธรูปที่ใหญ่ที่สุดเพียงองค์เดียวเท่านั้น ประกอบกับหลักฐานที่พบศิลาจารึกหลักนี้ก็รับรองอยู่แล้วว่า พบที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยาก็เคยเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงรายมาก่อน หากความเข้าใจดังนี้ไม่ผิด จารึกหลักนี้แต่เดิมก็ควรจะปักอยู่ที่วัดศรีโคมคำ หรือวัดพระเจ้าตนหลวง ซึ่งเป็นประวัติการก่อสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพระเมืองแก้ว ปีพุทธศักราช 2067 |
จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, จารึกพระเจ้าตนหลวง (เมืองพยาว), พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, ศิลา, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระโคตม, พระโคดม, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ลัคนา, ราศีเมถุน, นิพพาน, หว่างคิ้ว, ศอก, ตา, วา, เค้าหน้า, หู, อก, คืบ, บ่า, คาง, หัวนม, แหล, สะดือ, แขน, เมาลีพระเจ้า, เมาลีพระพุทธรูป, หัวกลมหลวง, พระเศียรกลมใหญ่, ผม, เม็ดพระศก, เค้าพระพักตร์, วงพระพักตร์, พระขนง, พระเนตร, พระนาสิก, จมูก, พระโอษฐ์, ปาก, ดัง, พระกรรณ, พระอุระ, คอ, พระศอ, บ่า, พระอังสา, ดูกด่ำมีด, ดูกด้ามมีด, พระรากขวัญ, กระดูกไหปลาร้า, พระหนุ, เต้าพระถัน, พระกัจฉะ, รักแร้, สะดือ, พระนาภี, แขน, พระพาหา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2067 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2014?lang=th |
19 |
จารึกพระศรีมหาโพธิ |
ฝักขาม |
กล่าวถึงต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่านำมาจากทางทิศใต้ทุกต้น |
ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21 23, ชร. 12 จารึกพระศรีมหาโพธิ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 12, ชร.12, หินชนวนสีน้ำตาล, ลักษณะ, แผ่นรูปไข่, อำเภอพาน, จังหวัดเชียงราย, พุทธศาสนา, ทักขิณ, ทักษิณ, พระทันตธาตุ, ไทย, ล้านนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปวงรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-ต้นพระศรีมหาโพธิ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1464?lang=th |
20 |
จารึกพระมหาเถรนำพระพุทธศาสนาจากลังกามาหริภุญชัย |
ฝักขาม |
กล่าวถึงพระมหาเถรเจ้า 25 รูป ที่ได้นำเอาพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปมายังอาณาจักรหริภุญชัย |
จารึกพระมหาเถรนำพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีป, ชร. 4, ชร. 4, จารึกการสืบพุทธศาสนาในลังกาทวีป, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, พ.ศ. 2041, พุทธศักราช 2041, หินทรายสีน้ำตาล, หลักสี่เหลี่ยม, วัดร้าง, วัดรัตนวราราม, ตำบลท่าวังทอง, จังหวัดพะเยา, ตำบลดงเจน กิ่งอำเภอภูกามยาว, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระพระศรีสากยมุนีโคตมเจ้า, มหาเถรเจ้า, มหาสารมังคละ, มหาศรีสัทธรรมคุณวันรัตนลังการเถรเจ้า, ลังกาทวีป, ลังกาทิบ, ลังกาทีบ, เมิงหริภุญชัย, เมืองหริภุญชัย, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราหู, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกันย์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีเมถุน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พระมหาเถรเจ้า 25 รูป, เรื่อง-การนำพระพุทธศาสนามาจากลังกาทวีป, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2041, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2041 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1433?lang=th |
21 |
จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีน้อยคำ จับความได้ว่ากล่าวถึงการอุทิศคนและเงินให้แก่วัด |
จารึกบนแผ่นอิฐอุทิศคนและเงินให้วัด, ชร. 24, ชร. 24, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เบี้ย, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเงิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1407?lang=th |
22 |
จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีน้อยคำ ไม่ชัดเจนว่ากล่าวถึงเรื่องอะไร |
จารึกบนแผ่นอิฐรัตนทัญ, ชร. 20, ชร. 20, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, รัตนทัญ, ราญ, มวรรัตน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1403?lang=th |
23 |
จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น |
ธรรมล้านนา |
ข้อความจารึกระบุนามของผู้ปั้นอิฐคือ “ธุกขัตย” |
จารึกบนแผ่นอิฐธุกขัตยปั้น, ชร. 23, ชร. 23, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ปั้นอิฐ, ธุกขัตยะ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3931?lang=th |
24 |
จารึกบนแผ่นอิฐ |
ฝักขาม |
จารึกชำรุดมาก ปรากฏข้อความเพียงน้อยคำ ไม่สามารถจับใจความได้ |
จารึกบนแผ่นอิฐ, ชร. 16, ชร. 16, ดินเผา, แผ่นชำรุด, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, แอวี, โลกย์, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, จารึก-อายุพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1399?lang=th |
25 |
จารึกบนดินขอโรงเหนือ |
ธรรมล้านนา,พม่า |
บอกประวัติของดินขอแผ่นนี้ว่าถูกปั้นขึ้นเมื่ออยู่โรงเหนือ |
ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 23, ชร. 18 จารึกบนดินขอโรงเหนือ พุทธศตวรรษ 21 23, พุทธศตวรรษที่ 21 23, ดินเผา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เวียงห้าว ตำบล หัวงุ้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย, ล้านนา, โรงเหนือ, พุทธ, ดินขอ, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, จารึกบนดินเผา, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกพบที่เชียงราย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ความเป็นอยู่และประเพณี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1610?lang=th |
26 |
จารึกบนดินขอญาณปั้น |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกมีคำเดียว คือ “ญาณปั้น” |
จารึกบนดินขอญาณปั้น, ชร. 19, ชร. 19, ดินเผา, แผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ญาณปั้น, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ญาณปั้น, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1401?lang=th |
27 |
จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
พ.ศ. 2147 (สมเด็จ) บรมบพิตรพระเป็นเจ้าเมืองเชียงแสน พร้อมทั้งพระมหาสมเด็จราชครู วัดพระหลวง และพระสังฆโมลี ร่วมกันสร้างรูปพระฤาษีตนนี้ ต่อจากนั้นเป็นคำไหว้พระธาตุบนดอยตุง ตำนานพระธาตุดอยตุงโดยย่อ และคำอธิบายรูปที่ฐานรูปพระฤาษี |
ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, จารึกดอยตุง, ชร. 6, ชร. 6, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148, T. 62, ช.ส. 58, T. 62, ช.ส. 58, Dòy Tung A.D. 1605, Dòy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, Doy Tung A.D. 1605, ประติมากรรมฤาษีกัมมะโล, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, พ.ศ. 2147, พุทธศักราช 2147, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, จ.ศ. 966, จุลศักราช 966, สำริดสีเขียว, สัมฤทธิ์สีเขียว, ฐานพระฤาษีวัชมฤค, วัดน้อยดอยตุง, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้ารัสสี, พ่อนาง, แม่นาง, บรมบพิตร, พระเป็นเจ้า, พระสงฆ์เจ้า, พระมหาสมเด็จราชครูเจ้าวัดพระหลวง, พระพุทธเจ้า, พระสงฆมูฬีเจ้า, พระสงฆ์มูฬีเจ้า, ประธาน, อำมาตย์, ลูกชาวสากยะ, พระเจ้าไพลองอากาศ, อานนท์, พระยาอินทร์, เทวบุตร, พระยามังราย, พระยามังคราม, พระยาแสนพู, พระยาคำฟู, พระยาผายู, ท้าวพันตู, ชาวมิลักขุ, พระยาอุชุตตราช, กวาง, หม้อน้ำมัน, ภาชนะ, ไหน้ำ, ไม้คาน, ก้อนเส้า, ไม้เท้า, หินหมากนาวตัด, ข้าว, ทุง, ธง, เมิงเชียงแสน, เมืองเชียงแสน, ดอยปู่เจ้า, เมิงยวน, เมืองยวน, พุทธศาสนา, บูชาพระธาตุเจ้า, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีพฤษภ, พระอังคาร, ราศีมีน, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระเสาร์, ราศีธนู, พระราหู, ราศีตุล, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีกาบสี, ออก, เม็ง, มอญ, ไทยกาบสัน, กลองงาย, กรรมภาระ, นิทาน, พุทธทำนาย, บิณฑบาต, บิณฑบาต, นิพพาน, ผืน, หยาดน้ำ, อุปฐาก, ครัว, แช่ง, อายุ-จารึก พ.ศ. 2147, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างรูปเคารพ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พระธาตุดอยตุง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงแสน, บุคคล-พระมหาสมเด็จราชครู, บุคคล-พระสังฆโมลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2147 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1441?lang=th |
28 |
จารึกชื่อคัมภีร์ |
ธรรมล้านนา,ฝักขาม |
ศิลาจารึกชำรุดมาก เข้าใจว่าข้อความจารึกมีว่า มีการถวายคัมภีร์พระธรรม รวมทั้งอรรถกถา และฎีกาแด่วัดแห่งหนึ่ง มีรายชื่อหนังสือดังกล่าวจารึกไว้ แต่ชื่อหนังสือเหล่านั้นไม่สมบูรณ์แล้ว |
ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 21-23, ชร. 37 จารึกชื่อคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 22-23, ชร. 37, ชร. 37, 165/30, 165/30, จารึกเวียงชัย, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2141-60, Wiang Chai A.D. 1598-1617, Wiang Chai A.D. 1598-1617, หิน, ตำบลเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-23, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายคัมภีร์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศตวรรษ 21-23 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1416?lang=th |
29 |
จารึกชาวอ้ายดาบเรือน |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2067 (ใน ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1 ว่าเป็น พ.ศ. 2068) กษัตริย์เชียงใหม่มีพระราชโองการแต่งตั้งให้ เจ้าพวกดาบเรือน เป็นเจ้าพันธสังฆการีเชียงราย มีอำนาจผูกพัทธสีมาในวัด |
ชร. 36 จารึกชาวอ้ายดาบเรือน พ.ศ. 2067, ชร. 36 จารึกชาวอ้ายดาบเรือน พ.ศ. 2067, จารึกเวียงชัย, ชร. 36, ชร. 36, 156/30, 156/30, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2068, 1.4.1.1 เวียงชัย พ.ศ. 2068, Wiang Chai A.D. 1525, Wiang Chai A.D. 1525, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, จ.ศ. 866, พุทธศักราช 866, พ.ศ. 866, พุทธศักราช 866, หิน, อำเภอเวียงชัย, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, พวกดาบเรือน, พันสังฆการีเชียงราย, ชาวอ้ายดาบเรือน, จืงเมือง, สิงเมือง, เจ้าพัน, ปากรัด, โรงคำ, ปราสาททอง, ท้องพระโรง, ผูกพัทธสีมา, ปีกาบสัน, เดินห้า, เดือนห้า, ออก, วันกัดไก๊, เมง, มอญ, วันศุกร์, กลองงาย, พระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ผูกพัทธสีมา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-เจ้าพวกดาบเรือน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2067 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1411?lang=th |
30 |
จารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย |
ฝักขาม |
ข้อความจารึกขึ้นต้นด้วยการอภิวาทพระรัตนตรัย จากนั้นกล่าวลำดับราชวงศ์กษัตริย์ เริ่มต้นแต่พระยามังราย ดังนี้ มังราย, คราม, ท้าวแสนพู, คำฟู, ผายู, ท้าวกลินา (กือนา), เจ้าแสนเมืองมา จารึกได้บ่งถึง พระมหาเถรพุทธเสน ผู้เป็นประธานในการสร้างพระสุวรรณมหาวิหาร เจ้ามหาราชและมหาเทวีได้ถวายนา แก่พระสุวรรณมหาราช อีกทั้งยังกล่าวถึงหมู่บ้านและที่นา ที่เจ้าสี่หมื่นถวายไว้กับพระสุวรรณมหาวิหาร |
ศิลาจารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย, ลพ. 9, ลพ. 9, ลพ./9, ลพ./9, พช. 341, พช. 341, 18, 18, หลักที่ 301 จารึกวัดสุวรรณมหาวิหาร, หลักที่ 301 จารึกวัดสุวรรณมหาวิหาร, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, จ.ศ. 764, จุลศักราช 764, จ.ศ. 764 จุลศักราช 764, พ.ศ. 1945, พุทธศักราช 1945, พ.ศ. 1945, พุทธศักราช 1945, ศิลา, หินทรายเนื้อหยาบ, สีน้ำตาล, รูปหลักสี่เหลี่ยมด้านเท่า, ปลายแหลม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนาบุคคล: พระเจ้ามังราย, พระเจ้าคราม, ท้าวแสนภู, พระเจ้าแสนภู, แก้วผู้แก่นขสัตราธิราช, แก้วผู้แก่นกษัตราธิราช, พระเจ้าคำฟู, พระเจ้าผายู, ท้าวกลินา, ท้าวกือนา, พระเจ้ากลินา, พระเจ้ากือนา, พระเจ้าแสนเมิงมา, พระเจ้าแสนเมืองมา, นักบุญ, มหาเทวีผู้แม่, พญา, พ่อ, เจ้ามหาราช, เจ้าแม่ลูก, พระราชแม่ลูก, เจ้าสี่หมื่น, ภิกษุสงฆ์, ลูกวัด, พระเจ้า, พระพุทธเจ้าสิ่งของ: น้ำ, หมาก, หินเสมา, นครเชียงใหม่, เมิงพยาว, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, เมิงพะเยา, บ้าน, เรือน, จวา, ชวา, หลวงพระบาง, พุทธศาสนา, พระสุวรรณมหาวิหาร, ราชาภิเษกเอกจุฬา, ให้ทาน, สร้างวิหาร, สร้างมหาวิหาร, ผกาส, ประกาศ, แปลงเวียงเจ็ดริน, สร้างเวียงเจ็ดริน, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, ศีลสำมาธิ, ศีลสมาธิ, สุริยวงศ์พงศ์, ปีเต่าสง้า, ปีเต่าซง้า, ขอม, ปีมะเม, ปีมะเมีย, วันจันทร์, สมบัติ, สวรรค์, ไร่, พระพุทธรูป, ปีไทย, ปีรวงเหมา, ปีรวงเหมา, ปีรวงเม้า, กำไร, ตะวัน, วันจันทร์, จารึกอักษรฝักขาม, จารึก พ.ศ. 1954, จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, จารึกภาษาไทยเหนือ, จารึกราชวงศ์มังราย, จารึกล้านนา, จารึกบนหินทราย, จารึกรูปหลักสี่เหลี่ยม, ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยราชวงศ์มังราย, กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านนา, การสร้างวิหาร, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, จารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1954, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาสามฝั่งแกน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ล้านนา, เรื่อง-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านนา, บุคคล-พระมหาเถรพุทธเสน, บุคคล-เจ้ามหาราช, บุคคล-มหาเทวี, บุคคล-เจ้าสี่หมื่น, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7 (กรุงเทพฯ : คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทยฯ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, 2534) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 1954 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1970?lang=th |