ชุดข้อมูลจารึกที่มีวงดวงชาตา พบที่ภาคอีสาน
การแบ่งตามภูมิภาคใช้หลักเกณฑ์การแบ่งภาคของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 19 จังหวัด ดังนี้ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกวัดไชยเชษฐา |
ไทยน้อย |
สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงพระราชทานที่ดินในการสร้างวัดและวิหาร ตอนท้ายมีใจความสาปแช่งผู้ที่มายึดครองที่ดินเหล่านั้น |
นค. 14, นค. 14, จารึกวัดไชยเชฏฐา, ศิลาจารึกวัดไชยเชษฐา (วัดทุ่ง), พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, พ.ศ. 2097, พุทธศักราช 2097, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, จ.ศ. 916, จุลศักราช 916, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดไชยเชษฐา, บ้านกวนวันใหญ่, ตำบลกวนวัน, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เทวทัต, มหาสังฆราชา, เจ้ามโนรมย์, ธัมมาพรรณ, พระยาธรรมาภินันท์, ประธาน, สมเด็จไชยเชฏฐา, พุทธศาสนา, วิหาร, สร้างวิหาร, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพุธ, ราศีมีน, มาสเกณฑ์, หรคุณ, ปีกาบยี่, เดือนยี่, ออก, ดินบ่อน, ภายใน, ภายนอก, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่วัดไชยเชษฐา หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช |
ในพระวิหารวัดไชยเชษฐา บ้านกวนวันใหญ่ ตำบลกวนวัน อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2097 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2396?lang=th |
2 |
จารึกวัดใต้เทิง 2 |
ธรรมอีสาน |
มหาราชครูปุสสีตธรรมวงศา มีศรัทธาสร้างตู้พระไตรปิฎกและเจดีย์ธาตุขึ้นไว้กับศาสนา |
ศิลาจารึกอักษรไทยเหนือ และภาษาไทย, จารึกวัดใต้เทิง 2, จารึกวัดใต้เทิง 2, พ.ศ. 2377, พุทธศักราช 2377, พ.ศ. 2377, พุทธศักราช 2377, จ.ศ. 1196, จุลศักราช 1196, จ.ศ. 1196, จุลศักราช 1196, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดใต้เทิง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, มีมหาราชครูปุสสีตธรรมวงศา, สมเด็จอรรควรราชครูเจ้า, เป็นเค้า, ช่าง, มหาอรรควรราชครูเจ้า, อันเตวาสิก, นางธรณี, พระแก่นไท, เจ้าสิทธารถราชกุมาร, ท่านหัวเจ้าครูแก้ว, เณรพุทธา, พระสิทธัตถะ, วัตถุทาน, แท่นแก้ว, น้ำทักขิณโนเลศชื่อ, ชั้นฟ้าปรนิมมิตตวัสสวตี, พุทธศาสนา, สำนักพระอริยเมตไตรยเจ้าโพธิสัตว์, พุสสอรอาราม, สร้างตู้ลายรดน้ำ, สร้างพระธาตุเจดีย์, ปีกาบสง้า, มื้อระวายไจ้, มื้อรวายไจ้, นักขัตตฤกษ์, อเสล ลุกสิงห์, อเสล ลูกสิงห์, กุศล, อรหันตผลญาณ, หน่วย, ลายเครือเกี้ยวกอด, ลายคำสาชาวกาสิกราช, มัญสา, ปิตตกา, บุญราศี, คน, เทพยดา, รูปนิทานทสชาดก, เตมิยชาดก, มนุษยมารพรหม, จตุราบาย, พระยามาร, สัพพัญญู, บาป, โลก, ครู, สัตว์, โอฆสงสาร, ทิพพจักขุญาณ, ธรณี, เกศเกษี, โพธิสมภารสังสการ, อสงไขย, มหากัปป์, ลัทธพยากรณ์, พระแม่ธรณีบีบมวยผม, นิรพาน, อรหัตตมัคคญาณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 2377 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2499?lang=th |
3 |
จารึกวัดใต้เทิง 1 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงอัครวรราชครูปุสสีตธรรมวงศา พร้อมด้วยลูกศิษย์และญาติโยม, พระพรหมวรราชวงศาภูมินทร์ เจ้าเมืองอุบลฯ และบรรดาเสนาอมาตย์ มีศรัทธาสร้างวิหารและพระพุทธรูปไว้กับศาสนา |
อบ. 13, อบ. 13, จารึกบนไม้สัก อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย, จารึกวัดใต้เทิง 1, จารึกวัดใต้เทิง 1, พ.ศ. 2373, พุทธศักราช 2373, พ.ศ. 2373, พุทธศักราช 2373, จ.ศ. 1192, จุลศักราช 1192, จ.ศ. 1192, จุลศักราช 1192, ไม้ ประเภทสักทอง, รูปใบเสมา, วัดใต้เทิง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ, อำเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, สมเด็จเจ้าพระพรหมวรราชวงศาภูมินทร์, เจ้าแผ่นดินในเมืองอุบลราชธานี, เจ้าเมืองอุบลราชธานี, อุปราช, ราชวงศ์, ราชบุตร, เสนาเดชอำมาตย์ธิบดี, ทมคารา, ช่างไม้, อรรควรราชครูเจ้า, กับทั้งอุบาสกอุบาสีกา, อรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, อันเตวาสิกสัทธิงวิหาริก, ชาวนคร, พวกแก้วออยบุญ, ภริยา, ปุตตา, ธิดา, สมเด็จอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, สมเด็จอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาราชชมชื่น, พระยาพรหมพระยาอินทร์อิศวร, พระยาจักรพรรดิราช, ตระกูลทสราชธรรม 10 ประการ, ตระกูลทสราชธรรม 10 ประการ, ตระกูลถวายคำ, เศรษฐีปุโรหิตมาจารย์, เงินตา,เงินตรา, เครื่องอุปกรณ์, คำปิด, น้ำเกียนน้ำหางหยาบทาพอก, ทองตีตาง, การก, แก้วกาจก, โภคา, ชะกวาน, ทองคำ, ชาดน้ำกอย, ชาดแต้มหางคำปิดบางวางพอก, น้ำครั่ง, บาตรไตรคำ, บัลลังก์บุปผา, ดอกไม้, ปรางค์เงิน, ธูปเทียนเริง, บ้านแปงส้อย, บุรีประจันตเทศ, ห้องดุสิตา, เมืองแก้ว, ราชธานี, เมืองฟ้า, สวรรค์ฟากฟ้า, แหล่งหล้าโลกา, จาตุมหาราชิกา, ตาวตึงสา, ทวีปทั้ง 4, ทวีปทั้ง 4, พุทธศาสนา, เขตวิหารพัทธสีมา, สำนักพระพุทธเจ้าอริยเมตตรัยโยเจ้าฟ้า, สร้างวิหารพัทธสีมา, สร้างพัทธสีมา, หล่อพุทธรูป, หล่อพระพุทธรูป, ปีกดยี่, มนาภิรมย์, ระวายสัน, ปีรวายสัน, พระจันทร์, นักขัตฤกษ์ สรวัน, ลูกสิงห์, มังกร ณ ราศี, อุบาสกอุบาสิกา, ท้าวพระยาเจ้า, มหาอรรควรราชครูปุสสีตธรรมวงศาเจ้า, เป็นเค้า, ประธาน, พุทธปฏิมาเมืองม่าน, เมตตรัย สัทโธ, กุศลปรารถนา, อรหันตผลญาณ, นิพพาน, คันถธุระ, วิปัสสนาธุระ, ปริยัติศาสนา, ปฏิบัตติศาสนา, ปฏิเวทศาสนา, สัพพัญญุตาญาณ, ปัจเจกโพธิญาณ, สาวกบารมีญาณ, ศาสตรศิลป, โทษ, อกตัญญู, มิจฉาทิฏฐิ, หินชาติ, วัฏฏสงสาร, มาสเกณฑ์, หรคุณ, อวมาณ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 2353 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2497?lang=th |
4 |
จารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี) |
ไทยน้อย |
พระยาปากเจ้า (เจ้าเมืองปากห้วยหลวง) ได้สร้างวัดและอุทิศที่ดินให้แก่วัดแดนเมือง |
นค. 1, นค. 1, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี), ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 1, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 1, พ.ศ. 2073, พุทธศักราช 2073, พ.ศ. 2073, พุทธศักราช 2073, จ.ศ. 892, จุลศักราช 892, จ.ศ. 892, จุลศักราช 892, ศิลา ประเภทหินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, วัดปัจจันตบุรี, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, เจ้าปาก, เจ้าเมืองปากห้วยหลวง, มหาราช, จ่าวัดแดนเมือง, พยานคอน, พระยานคร, พญานคร, เจ้าปากบ้านเมือง, กวานหลวงเหนือ, กว้านหลวงเหนือ, ล่ามอากาศ, แสนข้าว, แสนเข้า, เถ้าเมือง, คนเมือง, อุบาสก, แดนบ้านสับควาย, ห้วยแดนเมือง, บ้านสับคราย, พุทธศาสนา, วัดแดนเมือง, อุทิศที่ดิน, ถวายที่ดิน, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพฤหัสบดี, พระศุกร์, ราศีมีน, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, ราศีพิจิก, พระพุธ, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีตุล, ลัคนา, ราศีเมษ, ปีกดยี่, ปีกดยี, เดือนห้า, ออก, วันอังคาร, สายยา, ฉายา, มื้อรับบด, มื้อรับมด, ดับเม็ด, อาชญา, คชา, คชญา, วันศุกร์, อายุ-จารึก พ.ศ. 2073, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าโพธิศาละราช, ยุควัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดปัจจันตบุรี หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองปากห้วยหลวง, บุคคล-พระยาปากเจ้า |
วัดปัจจันตบุรี ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2073 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2242?lang=th |
5 |
จารึกวัดแก้วบัวบาน |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระมหาเถรเจ้าขำยศสร้างวัด (คงจะเป็นวัดบ้านมะเฟือง) กำหนดเขตแดนที่อุทิศ พร้อมทั้งกล่าวคำสาปแช่งผู้ที่เบียดบังทรัพย์สินของสงฆ์ |
จารึกวัดแก้วบัวบาน, พ.ศ. 2264, พุทธศักราช 2264, พ.ศ. 2264, พุทธศักราช 2264, จ.ศ. 1083, จุลศักราช 1083, จ.ศ. 1083, จุลศักราช 1083, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดแก้วบัวบาน, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, มหาเถรเจ้าขำยศ, เจ้าพระยาจัน, พระพุทธเจ้า, หลักเสมา, หลักสีมา, พุทธศาสนา, อาราม, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีกรกฎ, พระศุกร์, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีเมษ, โลภตัณหา, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2264, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (พระไชยองค์เว้), ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแก้วบัวบาน หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระมหาเถรเจ้าขำยศ |
วัดแก้วบัวบาน ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2264 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2403?lang=th |
6 |
จารึกวัดแก่งศิลา |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกบอกวัน เดือน ปี ที่สร้างวัด |
จารึกวัดแก่งศิลา, พ.ศ. 2230, พุทธศักราช 2230, พ.ศ. 2230, พุทธศักราช 2230, จ.ศ. 1049, จุลศักราช 1049, จ.ศ. 1049, จุลศักราช 1049, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดแก่งศิลา, ตำบลแก้งไก่, อำเภอสังคม, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, พุทธศาสนา, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีมังกร, พระราหู, พระจันทร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีเมษ, ศักราช 49, ศักราช 49, มื้อรับเม้า, มื้อรับเหม้า, มื้อดับเม้า, มื้อดับเหม้า, ปีเมิงเม้า, ปีเมิงเหม้า, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2230, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดแก่งศิลา หนองคาย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน |
วัดแก่งศิลา ตำบลแก้งไก่ อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2230 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2405?lang=th |
7 |
จารึกวัดหอพระแก้ว |
ไทยน้อย |
เป็นพระราชโองการของ พระมหาธรรมิกสีหตบูรฯ ให้สร้างวัดหอพระแก้ว และได้อุทิศที่ดินรวมทั้งทาสโอกาสไว้กับวัด และยังได้แจ้งถึงรายละเอียดสิ่งของต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างวัดหอพระแก้ว ในด้านที่สองได้กล่าวถึงการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง การฉลองวัดหอพระแก้วและรายละเอียดของปัจจัยไทยทานต่างๆ ที่ถวายพระ และสิ่งของที่บริจาคเป็นทานในศาลาโรงทาน |
นค. 13, นค. 13, จารึกวัดหอพระแก้ว, พ.ศ. 2355, พุทธศักราช 2355, พ.ศ. 2355, พุทธศักราช 2355, จ.ศ. 1174, จุลศักราช 1174, จ.ศ. 1174, จุลศักราช 1174, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, พ.ศ. 2353, พุทธศักราช 2353, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, จ.ศ. 1172, จุลศักราช 1172, ศิลาทราย, รูปใบเสมา, วัดหอพระแก้ว, ตำบลพานพร้าว, อำเภอศรีเชียงใหม่, จังหวัดหนองคาย, ไทย, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกสีหตบูรราชาธิราชมหาจักรพรรดิภูมินทราธิปไตยสากลไตรภูวนาถชาติยภโตวิสุทธมภูตะสกลพิบุลอดุลยโพธิสัตว์ขัตติยพุทธังกูโรสตลนครมหาโสฬศาสันโตคชรัฐราชาบุริศีลธรรมาธิราชบรมนาถบรมบพิตรตน, พระบรมสัพพัญญูเจ้า, พระพุทธรูปเจ้า, สมเด็จพระเป็นเจ้า, เสนาอำมาตย์ราชเสวก, ประชาราษฎร, ยาจก, คนทุกข์, สมณชีพราหมณ์, พระสังฆเจ้า, สมณชีพราหมณ์เจ้า, โพธิ์, คำปิว, ทองคำเปลว, เงินปิว, เงินเปลว, เงินตรา, น้ำลัก, ทะนาน, แก้วประดับ, เหล็ก, ปูน, ถัง, ปูนจีน, น้ำมันปลาตราจีน, น้ำอ้อย, น้ำมันยาง, ชัน, ขี้ซี่, ชาด, เสน, รง, หมึก, ปูนขาว, ฝุ่นเขียวขี้ทอง, ครามเทศหนัก, กาวหนัก, เบี้ยจ่าย, เบี้ยจ้าง, แหวน, กระเบื้อง, ผละพืช, ปัจจัยชาติทั้ง 4, ปัจจัยชาติทั้ง 4, ปัจจัยชาติทั้งสี่, จีวรปัจจัย, ปัจจัยทาน, ผ้าไตรแฮ, แพร, ผ้าไตรเทศ, ผ้าไตรลาว, แพญวน, ผ้าคลุมลาว, ผ้าสบง, สลกบาตร, เสี้ยนเถา, ถ้วย, จาน, ถาด, ถ้วยน้ำปลา, ถ้วยน้ำชา, ถาดซอน, กาน้ำถมปัด, เงี่ยงทอง, กระโถน, ถมปัดใหญ่ใบ, กาน้ำทอง, กาน้ำดิน, เงี่ยงดิน, เกิบหัวแก้ว, รองเท้าหัวแก้ว, เครื่องเหล็กร้อยสำรับ, สาด, หมอนร้อยสำรับ, มีดแถ, ตาด, ร่ม, คันยู, กระบวย, ถองน้ำ, พลู, สลา, หมาก, ผ้ากัลปพฤกษ์, ซิ่นกัลปพฤกษ์, กัลปพฤกษ์, เงินรางกัลปพฤกษ์, เบี้ยกัลปพฤกษ์, รางวัลเงินตรา, คิลานปัจจัย, เภสัชปัจจัย, ปัตรจีวรปัจจัย, เภสัชบริขารปัจจัย, รัตนเขต, พุทธศาสนา, วัดหอพระแก้ว, ฝาผนังพระระเบียงจงกลม, ปฏิสังขรณ์ฝาผนังอาราม, เขียนพระพุทธรูปพันพระองค์, สร้างพระพุทธรูป, สละข้าอุปฐาก, อุทิศข้าพระ, ธาสมโภชเบิกฉลองทำบุญ, มหาทาน, สร้างศาลาทาน, สร้างสพานข้ามแม่น้ำของ, สร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง, ถวายจังหันบิณฑิบาต, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, ราศีมีน, พระจันทร์, พระอังคาร, พระราหู, ราศีตุล, พระพุธ, ราศีพฤษภ, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระเสาร์, ราศีพิจิก, จุลศักราช 172, จุลศักราช 172, ปีสง้า, ยามตุดมื้อเช้า, ดิถีนอก, ดิถีใน, หรคุณ, พระราชอาชญาลายจุ้ม, ทศพิธราชธรรมศาสนูปถัมภกะ, พระพรลายจุ้ม, ปีสะง้า, เดือนยี่, พระทาน, พระพิมพ์, สัปบุรุษมนุษย์, กุมภัณฑ์, คนธรรพ์, นาค, ครุฑ, เทวา, คณายาว, พระวัสสา, ปัจจัยชาติราชสมบัติ, กีบ, ชั่ง, ตำลึง, สลึงเฟื้อง, บาท, คาม, ศอก, นิ้ว, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้งสาม, พระบรมราชโองการ, พระราชโองการ, จุลศักราชพันร้อย 74, จุลศักราชพันร้อย 74, ปีเต่าสัน, เพ็ง, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2355, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (พระเจ้าอนุวงศ์), ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหอพระแก้ว หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสะพาน, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมิกสีหตบูรราชาธิราช |
วัดหอพระแก้ว ตำบลพานพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2355 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2393?lang=th |
8 |
จารึกวัดศรีคูณเมือง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงพระเถระ และขุนนางในเมืองเชียงคาน ที่ได้ร่วมกันสร้างวัดและศาสนสถานที่วัดศรีคูณเมือง และได้บอกถึงจำนวนเงินที่สร้างวัดในครั้งนี้ด้วย |
จารึกวัดศรีคูณเมือง, พ.ศ. 2380, พุทธศักราช 2380, พ.ศ. 2380, พุทธศักราช 2380, จ.ศ. 1199, จุลศักราช 1199, จ.ศ. 1199, จุลศักราช 1199, หินอ่อนสีดำ, รูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถวัดศรีคูณเมือง, อำเภอเชียงคาน, จังหวัดเลย, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, พระราชครูบุดี, อันเตวาสิก, พระอนุพีนางนาถ, ภริยา, บุตร, ธิดา, นัดดาพันธุ์วงศา, ท้าวพระยาแสนขุนหมื่น, พระพุทธเจ้า, เงิน, พุทธศาสนา, วัดศรีคูณเมือง, สร้างพัทธสีมา, สร้างวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, อวมาณ, อวมาน, มงคลรูปโสม, มาสเกณฑ์, หรคุณ, ปีกัดเลา, เพ็ง, เพ็ญ, มื้อเต่าไจ้, วันพุธ, ภายใน, ภายนอก, ตำลึง, บาท, สลึงเฟื้อง, นิพพาน |
หน้าพระอุโบสถวัดศรีคูณเมือง ตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (สำรวจเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2556) |
พุทธศักราช 2380 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2440?lang=th |
9 |
จารึกวัดศรีคุณเมือง (วัดผ้าขาว) |
ธรรมอีสาน |
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้มาอุทิศที่นาจังหันให้แก่วัด ตอนท้ายมีการสาปแช่งผู้ถือเอาศาสนาสมบัติเหล่านั้นอีกด้วย |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: นค. 8, นค. 8, จารึกวัดศรีคุณเมือง จังหวัดหนองคาย (นค. 8), จารึกวัดศรีคุณเมือง จังหวัดหนองคาย (นค. 8), ศิลาจารึกวัดศรีคูณเมือง, จารึกวัดศรีคูณเมือง (ศิลาจารึกวัดปะขาว) ศักราช: พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, พ.ศ. 2103, พุทธศักราช 2103, จ.ศ. 922, จุลศักราช 922, จ.ศ. 922, จุลศักราช 922วัตถุจารึก: หินทรายลักษณะวัตถุ: ทรงสามเหลี่ยมสถานที่พบ: วัดศรีคุณเมือง, ตำบลในเมือง, อำเภอเมือง, จังหวัดหนองคายอาณาจักร: ไทย, ล้านช้างบุคคล: สมเด็จบรมบพิตร, สมเด็จพระไชยเชฏฐาธิราช, มหาสงฆสามี, เจ้าสีสุวลปราการ, เจ้าศรีสุวรรณปราการ, อุปฐาก, ชาวเจ้า, ข้าไพร่, เจ้าบ้านเจ้าเมืองท้าว, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ราชการบพิตรเจ้า, สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช, พระสงฆ์ต้นไม้: ช่อหมากพลูอ้อยตาลหวานส้ม, พืชหมากพลูอ้อยตาลหวานส้มสิ่งของ: เบี้ย, แก้วทั้งสามศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: อาราม, เสาเพนียด, ตีนต้าย, กำแพงแก้วพิธีกรรม: สร้างศิลาจารึก, สร้างครัวทานอื่นๆ: พระราชอาชญาลายจุ้ม, ภายนอก, ภายใน, ปีกดสัน, เพ็ง, วันเพ็ญ, วิสาขะมาส, วิสาขมาส, โลภะตัณหา, โลภตัณหา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4 |
วัดศรีคุณเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2103 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2481?lang=th |
10 |
จารึกวัดวิชัยอาราม |
ไทยน้อย,ธรรมอีสาน |
เป็นพระบรมราชานุญาตให้ขุนนางสร้างวัด กัลปนาที่ดิน แก่วัดวิชัยอาราม เมื่อ พ.ศ. 2171 ภายหลังต่อมา พระสังฆราชาจตุปาริสุทธิศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนาลี ได้อุทิศข้าโอกาสแก่วัด 5 ครัว เมื่อ พ.ศ. 2172 พร้อมกับสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทานวัตถุเหล่านั้น |
ขก. 8, ขก. 9, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, จารึกวัดวิชัยอาราม, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, ศิลา ประเภทหินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้า, สมเด็จพระมหาอัครวรราชครูวินัยธรวรชิโนรส, ท้าวมาลุน, สมเด็จสังฆราชาจตุปาริสุทธศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนวาสีเจ้า, ศาสนูปถัมภก, พ่อแม่ญาติ, ตระกูลอุปฐาก, ข้าโอกาส, อารามิกทาส, ข้าพระ, ลูก, หลานเหลน, หมื่นจำเริญ, หมื่นนอง, ขุนหลวง, ขุนทอง, พันรักษา, ขุนคาน, มหาธรรมิกราชาธิราช, พระพุทธเจ้า, แก้ว, เม็ดหินเม็ดทรายชื่อ, นาหมอขาป, พุทธศาสนา, วัดวิชัยอาราม, อาราม, ถวายทาส, อุทิศข้าทาส, อุทิศข้าโอกาส, อุทิศข้าพระ, วงดวงชาตา, เพ็ง, เพ็ญ, ปีกาบไจ้, แถ, เที่ยงวัน, ปีกัดไส้, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระศุกร์, ราศีมีน, พระเกตุ, ราศีเมษ, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, ราศีมีน, ราศีตุล, ราศีเมถุน, ราศีกรกฎ, พระราชอาชญาลายจุ้ม, โลภตัณหา, พระราชอาชญา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, ฤกษ์, บาปกรรม, ทานวัตถุ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559) |
พุทธศักราช 2172 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2164?lang=th |
11 |
จารึกวัดมหาธาตุ จ. ยโสธร |
ธรรมอีสาน |
พระสงฆ์ และบรรดาเจ้านายในท้องถิ่นได้ร่วมกันกระทำกุศล |
ชื่อจารึก/เลขทะเบียน: ยส. 4, ยส. 4, จารึกวัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร, จารึกวัดมหาธาตุ ยโสธรศักราช: พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149วัตถุจารึก: ศิลาทรายลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: หน้าพระอุโบสถ, วัดมหาธาตุ, อำเภอเมือง, จังหวัดยโสธรอาณาจักร: ไทย, ล้านช้างเวียงจันทร์, รัตนโกสินทร์บุคคล: มหาราชา, เป็นเค้า, เจ้าสังฆราชาวชิรปัญญา, เจ้าพระราชพันนายก, เจ้ามหาศรัทธา, ภริยาบุตตา, ท้าวพระยากุมภาร, บ่าวไพร่ศาสนา: พุทธศาสนาศาสนสถาน: วัดบ้านท่าอื่นๆ: ปีเมิงมด, วันประหัส, มื้อเปิกยี่, นักขัตฤกษ์, มาฆะ, พระอริยสังฆเจ้า, โชตนา, มูนศาสนา, มูลศาสนา, ภายนอก |
หน้าพระอุโบสถ วัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร |
พุทธศักราช 2330 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2429?lang=th |
12 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 4 |
ธรรมอีสาน |
พระครูสีลาภิรัตน์ พร้อมทั้งคณะสงฆ์และทายกทายิกาทั้งหลาย ได้พร้อมใจกันสร้างหอสวดมนต์ |
จารึกวัดพระธาตุพนม 4, จารึกวัดพระธาตุพนม 6, พ.ศ. 2466, พุทธศักราช 2466, พ.ศ. 2466, พุทธศักราช 2466, หินทราย, รูปใบเสมา, หน้ากุฏิพระในวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร, อำเภอธาตุพนม, จังหวัดนครพนม, ไทย, รัตนโกสินทร์, ท่านพระครูสีลาภิรัตน์, พระอุปปัชฌาย์คำ, พระวัน, พระเคน, คณะสงฆ์สามเณร, หลวงพิทักษ์พนมเขต, นายเหล็ก, กำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน, ทายก, ทายิกา, หัวเมือง, พุทธศาสนา, สร้างหอสูต, สร้างหอสวดมนต์, ปีกุน, ปัญจศก, วันเสาร์, ภายใน, ภายนอก, ทรัพย์, นิพพาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2466, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอสวดมนต์, บุคคล-เจ้าครูศีลาภิรัตน์ |
หน้ากุฏิพระในวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2466 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2423?lang=th |
13 |
จารึกวัดพระธาตุพนม 1 |
ไทยน้อย |
พระยานครพิชิตธานี พร้อมด้วยท้าวพระยาในท้องถิ่นได้บูรณะพระธาตุพนม และสร้างกำแพงแก้วล้อมรอบพระธาตุ รวมทั้งสร้างถาวรวัตถุอื่นๆ อีกด้วย ตอนท้ายได้สาปแช่งผู้ถือสิทธิ์ครอบครอง ทำลายทานวัตถุ อันได้แก่ ทาสโอกาส ที่ดิน ไร่นาของวัด ในครั้งนี้ได้บูรณะเรือนธาตุชั้นที่ 1 และกล่าวถึงการตกแต่งด้วย ซึ่งน่าจะหมายถึงลวดลายจำหลักอิฐรอบเรือนธาตุ |
นพ. 1, จารึกวัดพระธาตุพนม 1, ศิลาจารึกของเจ้าพระยานคร, พ.ศ. 2157, พุทธศักราช 2157, พ.ศ. 2157, พุทธศักราช 2157, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, จ.ศ. 976, จุลศักราช 976, หินทราย, รูปใบเสมา, ห้องเก็บของภายในวิหารคด, วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร , อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, ไทย, ล้านนา, ข้าโอกาส, พระยาสามินทรราช, พระพนม, พระเป็นเจ้าพระยานครหลวงพิชิตราชธานีศรีโคตรบองเจ้า, ประธาน, ท้าวพระยาเสนามนตรี, ปลา, ชะทาย, ปูนสอ, ปูนขาวชื่อ, น้ำหนอง, บ้านเมือง, ดินดอนไร่นา, กำแพง, ประตูขง, ประตูกำแพง, ประตูเขต, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุพนม, หอข้าวพระ, แท่นบูชา, ตึบสงฆ์, ตึกดิน, ตึกสงฆ์, ตีนพระมหาธาตุเจ้า, สร้างวัด, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ตกแต่งพระธาตุ, อปายคมนียะ, โลภะตัณหา, เทวดา, นิพพานปัจจโย, พระสารีริกธาตุ, ปีกาบยี่, อบายภูมิ, นวพรรณ ภัทรมูล, กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกวัดพระธาตุพนม 2, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา), อุรังคนิทาน : ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร), สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2157, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร นครพนม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพงแก้ว, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-พระยานครพิชิตธานี |
ห้องเก็บของภายในวิหารคด วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
พุทธศักราช 2157 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2169?lang=th |
14 |
จารึกวัดผดุงสุข 1 |
ไทยน้อย |
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้อุทิศที่ดินแก่วัด และเป็นหลักฐานว่า พ.ศ. 2094 พระเจ้าไชยเชษฐาฯ ได้กลับจากเชียงใหม่มาครองหลวงพระบางแล้ว |
นค. 10, นค. 10, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข ผ. 1, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข ผ. 1, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข 1, ศิลาจารึกวัดผดุงสุข 1, พ.ศ. 2094, พุทธศักราช 2094, พ.ศ. 2094, พุทธศักราช 2094, จ.ศ. 931, จุลศักราช 931, จ.ศ. 931, จุลศักราช 931, พ.ศ. 2106, พุทธศักราช 2106, พ.ศ. 2106, พุทธศักราช 2106, จ.ศ. 925, จุลศักราช 925, จ.ศ. 925, จุลศักราช 925, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดผดุงสุข, ตำบลวัดหลวง, อำเภอโพนพิสัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านนา, สมเด็จบรมบพิตรพระเจ้า, พระไชยเชษฐาธิราชเจ้า, สุมังคลโพธิวิริญาณเจ้า, พระยาศรีสัทธรรมราชวิสุทธิ, พระยาสุพรรณ, ท้าวมาลุนขุนมาใหม่, พืชหมากพลูพร้าวตาลหวานส้ม, นาบ้าน, พุทธศาสนา, วัดศรีสุวรรณ, อาราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระอังคาร, ราศีมังกร, ราศีมีน, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, ลัคนา, พระราชอาชญาลายจุ้ม, พระรัตนไตร, แก้วทั้งสาม, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, ธวัช ปุณโณทก, อักษรไทยน้อย, บุญนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2106, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดผดุงสุข หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช |
วัดผดุงสุข ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2106 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2383?lang=th |
15 |
จารึกวัดท่าแขก |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกฤกษ์ยามในการสร้างโบสถ์ |
จารึกวัดท่าแขก, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, พ.ศ. 2209, พุทธศักราช 2209, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, จ.ศ. 1028, จุลศักราช 1028, หินชนวน, เสาทรงสี่เหลี่ยมด้านเท่า, วัดท่าแขก, อำเภอเชียงคาน, จังหวัดเลยอาณาจักร: ไทย, ล้านช้าง, มื้อกาบสัน, ยามตั้ง, หรคุณ, อวมาณ, อวมาน |
ในพระอุโบสถวัดท่าแขก ตำบลกุดป่อง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (สำรวจเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2556) |
พุทธศักราช 2209 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2436?lang=th |
16 |
จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2 |
ธรรมอีสาน |
กล่าวถึงนามของพระยาสุรเทพเจ้า ว่าได้สร้างไว้เมื่อปี จ.ศ. 988 และได้กล่าวถึงการอุทิศเลกวัด ถึง 5 ครัว ในจำนวนนี้มีขุนนางผู้ใหญ่ถึง 2 ครัว คือ แสนนันทสงคราม และ เทพอาสา ในตอนท้ายได้กล่าวคำสาปแช่งไว้ด้วย |
อด. 2, อด. 2, จารึกวัดสุวรรณคูหา หลักที่ 2, จารึกวัดสุวรรณคูหา หลักที่ 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 2, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 3, จารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา 3, พ.ศ. 2169, พุทธศักราช 2169, พ.ศ. 2169, พุทธศักราช 2169, จ.ศ. 988, จุลศักราช 988, จ.ศ. 988, จุลศักราช 988, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, วัดถ้ำสุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ตำบลนาสี อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดอุดรธานี, พระยาสุรเทพเจ้า, แสนศรี, เมีย, ลูก, แสนนันทสมคราม, นางกว้าน, เทพอาสา, อีบัว, น้อง, หลาน, พระศรีมหาโพธิ์, นางหมิ่น, ลูกคำบาง, อีข่า, โอกาส, ประธาน, โสตเทวทัต, พระยาสุรเทพเจ้า, สงคราม, เทพอาสา, พระศรีมหาโพธิเจ้า, คำปาน, อีขา, แสนสี, ราม, เลกวัด, ข้าพระ, ข้าโอกาส, บ้านถ้ำ, นากวานกัว, นาเหมือง, พุทธศาสนา, ดวงลักขณาฤกษ์ยาม, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ยามเที่ยงวัน, ภูมิบาล, ภูมมิบาล, พระมหาธาตุเจ้า, ครัว, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4 |
วัดถ้ำสุวรรณคูหา บ้านคูหาพัฒนา ตำบลนาสี อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำภู (แยกตัวมาจากจังหวัดอุดรธานี) |
พุทธศักราช 2169 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2463?lang=th |
17 |
จารึกวัดจอมมณี |
ไทยน้อย |
เป็นพระบรมราชโองการของสมเด็จพระบรมบพิตรเป็นเจ้าเหนือหัว (พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช) และพระราชมารดา ให้พระยานครและขุนนางผู้ใหญ่สร้างศิลาจารึกหลักนี้ (ลงตำนาน) และช่วยกันทำนุบำรุงศาสนา รวมทั้งกำหนดเขตกัลปนาที่ดิน และอุทิศทาสโอกาสแก่วัด ส่วนด้านที่ 2 สร้างสมัยพระมหาธรรมิกราช กล่าวถึงการถวายที่ดินแก่วัดมณีเชษฐาราม เช่นเดียวกัน |
นค. 4, นค. 4, จารึกวัดจอมมณี, ศิลาจารึกวัดจอมมณี, พ.ศ. 2098, พุทธศักราช 2098, พ.ศ. 2098, พุทธศักราช 2098, จ.ศ. 917, จุลศักราช 917, จ.ศ. 917, จุลศักราช 917, ศิลา ประเภทหินทราย, รูปใบเสมา, หน้าพระอุโบสถวัดจอมมณี, ตำบลมีชัย, จังหวัดหนองคาย, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรเป็นเจ้าเหนือหัวพระราชมารดาอัครมหาเทวี, เจ้าแสนโสภา, เจ้าแสนใสฟ้า, พระสัพพัญญูเจ้า, พระยานคร, เจ้าพระยา, เจ้าลุนสัพพะ, กองปาน, เจ้าสงฆ์, ข้าโอกาส, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ข้าเศิก, ข้าศึก, บพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชชัยมงคล, บพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชไชยมงคล, ตรัยภูวนาถ, ไตรภูวนาถ, โพธิสัตว์ขัติยพุทธจักโรภาส, ศรีธรรมมิกราชาบรมนาถ, ข้าว, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3ชื่อ, นาใต้, พุทธศาสนา, มณีเชษฐาราม, พุทธเขต, เขตนา, อาราม, วัดมณีเชฏฐา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ให้ทาน, วงดวงชาตา, พระจันทร์, พระพุธ, ราศีเมษ, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระเจ้า, พระพุทธรูป, พระชัย, ปีรับเหม้า, ปีดับเหม้า, วันอาทิตย์, ฤกษ์อุตราสาตร์, ฤกษ์อุตราสาฒ, ตำนาน, วัสสา, ที่ดิน, มณฑล, สวน, ไร่นา, พระราชอาชญา, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, บุณนาค สะแกนอก, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2098, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจอมมณี หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, บุคคล-พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช, บุคคล-พระยานคร |
หน้าพระอุโบสถวัดจอมมณี ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2098 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2369?lang=th |
18 |
จารึกพระเจ้าอินแปง |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกกล่าวถึงนามเจ้าเมืองอุบลสองพระนาม คือ พระปทุม และพระพรหมวรราชสุริยวงศ์และนามพระเถระผู้ใหญ่ คือ พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา ว่าได้สร้างวัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์สัสดี (วัดป่าใหญ่) และสร้างพระพุทธรูปอินแปง พร้อมทั้งได้อุทิศทาสโอกาสและที่นาจังหันแก่พระพุทธรูปด้วย |
อบ. 11, อบ. 11, ศิลาจารึกพระเจ้าอินแปง อบ./14, ศิลาจารึกพระเจ้าอินแปง อบ./14, จารึกพระเจ้าอินแปง, จารึกวัดป่าใหญ่ 2, จารึกวัดป่าใหญ่ 2, พ.ศ. 2350, พุทธศักราช 2350, พ.ศ. 2350, พุทธศักราช 2350, จ.ศ. 1169, จุลศักราช 1169, จ.ศ. 1169, จุลศักราช 1169, พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, พ.ศ. 2330, พุทธศักราช 2330, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149, จ.ศ. 1149, จุลศักราช 1149, พ.ศ. 2323, พุทธศักราช 2323, พ.ศ. 2323, พุทธศักราช 2323, จ.ศ. 1142, จุลศักราช 1142, จ.ศ. 1142, จุลศักราช 1142, พ.ศ. 2335, พุทธศักราช 2335, พ.ศ. 2335, พุทธศักราช 2335, จ.ศ. 1154, จุลศักราช 1154, จ.ศ. 1154, จุลศักราช 1154, พ.ศ. 2348, พุทธศักราช 2348, พ.ศ. 2348, พุทธศักราช 2348, จ.ศ. 1167, จุลศักราช 1167, จ.ศ. 1167, จุลศักราช 1167, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดมหาวนาราม, อำเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, ไทย, กรุงรัตนโกสินทร์, เจ้าพระปทุม, พระพรหมวรราชสุริยวงศ์, มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา, ลูกศิษย์, จิตตะ, น้องหญิง, แม่ยุ, อียู, หลานหญิง, ข้าโอกาส, ลูกหญิง, สาวหล้า, สาวตวย, สาวทุม, นางเกปโคต, นางเกปแก้ว, แม่เชียงทา, แม่ภา, แม่พระชาลี, สาวดวง, อีบุร, อีบุน, อีบุญ, ข้อยโอกาส, ข่อยโอกาส, เจ้าเมิง, เจ้าเมือง, แม่ปุย, อีปู้ย, นางเพี้ยโคตร, นางเพี้ยแก้ว, ดิน, เกียน, เกวียน, ถัง, ข้าว, ปูนสอ, ปูนขาวชื่อ, เมิงอุบล, เมืองอุบล, แดนดง, พุทธศาสนา, วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสสัสดี, สร้างวิหารอาราม, สร้างอาราม, สร้างพระพุทธรูปดิน, สร้างพระพุทธรูปอิฐ, อุทิศข้าโอกาส, ทำนา, เฮ็ดนา, ปีเมิงมด, ปีกดสง้า, ปีกดซง้า, ปีเต่าสัน, ปีรวงเล้า, ปีรวงเร้า, พระพุทธรูปเจ้าองค์วิเศษ, ปีเมิงเม้า, รษีกันย์, ราศีกันย์, ยามแถใกล้ค่ำ, พระเจ้าอินแปง, คน, เทวดา, พระพุทธรูปอินแปงเจ้า, ปัจจัยไทยธรรมให้สมควร, โทษ, กรรม, สีลาเลก, กุศละ, เคิงสักกระปุชา, เครื่องสักการะบูชา, ปีเมิงเหม้า, มื้อรวงไค้, มื้อรวงไก๊, ศิลาเลก, มหรสพ, ดินโอกาส, นวพรรณ ภัทรมูล, เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 : อักษรธรรมและอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, ฝ่ายวิชาการ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 53 พระมหากษัตริย์ไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2350, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์-พระวิไชยราชขัตติยวงศา (เจ้าหน้า), วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาวนาราม อุบลราชธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา |
วิหารพระเจ้าอินแปง วัดมหาวนาราม พระอารามหลวง (วัดป่าใหญ่) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศักราช 2350 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2493?lang=th |
19 |
จารึกพระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์ (จารึกวัดบ้านริมท่าวัด) |
ธรรมอีสาน |
พระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์แห่งล้านช้างได้โปรดให้สร้างศิลาจารึกหลักนี้ ได้กำหนดเขตที่ให้อภัยชีวิตสรรพสัตว์ทั้งปวง และได้อ้างถึงพระเจ้าโพธิสาลราชว่าได้กำหนดเขตปลอดอาญาแผ่นดินไว้ก่อนแล้ว ที่น่าสนใจมากคือ เรียกเมืองสกลนครว่า “เมืองเชียงใหม่หนองหาน” และเนื้อหาที่ศิลาจารึกขาดหายไปน่าจะกล่าวถึง เขตปลอดอาญาแผ่นดิน เช่นเดียวกับจารึกวัดมุจลินทอาราม |
สน. 1, สน. 1, ศิลาจารึก วัดบ้านริมท่าวัด อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สน. 1), ศิลาจารึก วัดบ้านริมท่าวัด อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (สน. 1), ศิลาจารึกวัดมหาพรหมโพธิราช บ้านริมท่าวัด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร, จารึกพระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์, จารึกวัดบ้านริมท่าวัด, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, พ.ศ. 2179, พุทธศักราช 2179, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, จ.ศ. 998, จุลศักราช 998, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดมหาพรหมโพธิราช, บ้านริมท่าวัด, ตำบลดงชน, อำเภอเมือง, จังหวัดสกลนคร, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชเจ้า, พระมหาพรหมณ์เทโวโพธิสัตว์, พระมหาพรหมเทโวโพธิสัตว์, สมเด็จพระโพธิสารเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมิกราชวังวรวงศาธิราชเจ้า, คามเขต, มณฑลกวม, รัตนะเขต, หลักเหนือ, หลักหว่างตอนแก้ว, หลักทางกังรอ, หนองขวง, ทางพังรอ, หนองขวาง, เขตแดนไร่นา, ป่าอารามมิก, พุทธศาสนา, วัดกลางเชียงใหม่หนองหาร, วัดกลางเชียงใหม่หนองหาน, ปีรวายไจ้, พระราชอาชญา, พระราชอาณาจักร, อัคควรศิลาเลก, อัคควรศิลาเลขสัพพสัตว์, แก่สรรพสัตว์, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้ง 3, แก้วทั้งสาม |
วัดมหาพรหมโพธิราช บ้านริมท่าวัด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร |
พุทธศักราช 2179 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2442?lang=th |
20 |
จารึกพระธาตุร้างบ้านแร่ |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการอุทิศที่ดินให้แก่วัดของเจ้านายระดับพระยา และแสน ซึ่งเป็นหัวหน้าชุมชนในละแวกนั้น |
สน. 4, สน. 4, จารึกพระธาตุร้างบ้านแร่, พ.ศ. 1893, พุทธศักราช 1893, พ.ศ. 1893, พุทธศักราช 1893, จ.ศ. 712, จุลศักราช 712, จ.ศ. 712, จุลศักราช 712, รูปใบเสมา, สถานีอนามัยบ้านแร่ (วัดธาตุศรีบุญเรือง), ตำบลแร่, อำเภอพังโคน,จังหวัดสกลนคร, ไทย, ล้านช้าง, พระยากูมพัน, แสน, สมทิพย์, สมเด็จราชบุญลือ, คามเขต, พุทธศาสนา, ให้ทานพุทธเขต, อุทิศที่ดิน, ปีกดยี่, ปีกดยี, ยามแถใกล้รุ่ง, วงดวงชาตา, พระพุธ, ราศีกรกฎ, พระเสาร์, ราศีตุล, |
สถานีอนามัยบ้านแร่ (วัดธาตุศรีบุญเรือง) ตำบลแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร |
พุทธศักราช 1893 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2229?lang=th |
21 |
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3 |
ธรรมอีสาน |
ข้อความจารึกบอกศักราชปีที่สร้าง และนามผู้สร้าง คือ เจ้าหมื่นทิพย์ พร้อมด้วยครอบครัว ได้มีศรัทธาสร้างพระพุทธรูปไว้เพื่อเป็นที่สักการะบูชาแก่คนทั้งหลาย |
นค. 18, นค. 18, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเทพมงคล 3, พ.ศ. 2199, พุทธศักราช 2199, พ.ศ. 2199, พุทธศักราช 2199, จ.ศ. 1018, จุลศักราช 1018, จ.ศ. 1018, จุลศักราช 1018, ฐานพระพุทธรูปประธาน, ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล, ตำบลโพนสา, อำเภอท่าบ่อ, จังหวัดหนองคาย,ไทย, ล้านช้าง, เจ้าหมื่นทิพย์, ภริยา, บุตร, ธิดา, ปู่ย่าตานาย, พุทธศาสนา, สร้างพุทธรูปเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, ปีรวายสัน, มื้อรวงเม้า, ยามแถใกล้เที่ยง, นวพรรณ ภัทรมูล, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2199, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเทพมงคล หนองคาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-เจ้าหมื่นทิพย์ |
ในพระอุโบสถวัดเทพมงคล ตำบลโพนสา อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย |
พุทธศักราช 2199 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2467?lang=th |