ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกตราประทับ

ชุดข้อมูลจารึกตราประทับ

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2565 16:42:33 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2565 14:08:41 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกบนตราประทับจากเมืองนครปฐม

พราหมี

คำอ่าน-คำแปลของจารึกในขณะนี้มีด้วยกัน 2 แบบ คือ “เมืองท่าประเสริฐ” และ “ย่อมหว่าน (พืช)”

จารึกบนตราประทับจากเมืองนครปฐม, 6/9 ตราประทับดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2305, 6/9 ตราประทับดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2305, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, วัตถุ-จารึกบนดินเผาสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ไม่ปรากฏศักราช

ปรากฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2114?lang=th

2

จารึกบนตราประทับจากเขาศรีวิชัย

ปัลลวะ

เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “วฺริสมุทฺราโพธิ” ซึ่งแปลความได้หลายแบบคือ แปลว่า “การตรัสรู้คือเครื่องหมายแห่งการทำลายล้าง (อาจหมายถึง ทำลายล้างมลทิน หรือ ความไม่รู้)” หรือ “ยินดีที่เป็นที่รู้จัก” หรือ “ประทับเป็นเครื่องหมาย” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมัน ในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่า สัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน

จารึกบนตราประทับจากเขาศรีวิชัย, Inscription No. 5, Inscribed rectangular quartz stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินควอทซ์, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/729?lang=th

3

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 10

พราหมี

ข้อความในจารึกปรากฏคำว่า “ภกฺตวยํ” คือ ควรภักดี, ควรบริโภค

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 10, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 10, 5/9 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, 5/9 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียนสีส้ม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

ไม่ปรากฏศักราช

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2103?lang=th

4

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 9

พราหมี

 ข้อความในจารึกปรากฏคำว่า “เชตวฺยํ” คือ ควรชนะ

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 9, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 9, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 6, 5/4 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, 5/4 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 6, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 6-7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียนสีส้ม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงวงรี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

ไม่ปรากฏศักราช

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2101?lang=th

5

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 8

พราหมี

ข้อความในจารึกปรากฏคำว่า “เชตวฺยํ” คือ ควรชนะ

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 8, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 8, 5/6 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, 5/6 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 6, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 6-7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียนสีส้ม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงวงรี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 6-7

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2099?lang=th

6

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 7

พราหมี

ระบุชื่อบุคคลผู้หนึ่งในลักษณะที่แสดงความเป็นเจ้าของ ซึ่งคำแปลมีด้วยกัน 2 แบบ ได้แก่ “ของวิฐีตูกรฺ” และ “ของวิรเถนธุ” (คำแปลทั้ง 2 แบบยังไม่เป็นที่ยุติ)

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 7, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 7, 5/5 ตราประทับหิน, 5/5 ตราประทับหิน, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลมปลายแหลม, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

ไม่ปรากฏศักราช

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2097?lang=th

7

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 6

พราหมีรุ่นเก่า

ปรากฏข้อความที่แปลว่า “ของพมฺหทิน”

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 6, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 6, 5/7 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, 5/7 ตราประทับหินคาร์เนเลียน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียนสีส้ม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลมปลายแหลม, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 3-4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินคาร์เนเลียน, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลมปลายแหลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 3-4

ปรากฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2086?lang=th

8

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 5

ปัลลวะ

เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “ศฺรมฺมโน” แปลว่า “ความสุข” หรือ “ความยินดี” หรือ “คุ้มครอง“ หรือ ”ปฏิเสธ” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมันในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่าสัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 5, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 5, ตราประทับแก้วรูปวงรี, Inscription no. 7, Inscribed oval stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงวงรี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/727?lang=th

9

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 4

ปัลลวะ

เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “สรุธรฺมฺมสฺย” อาจแปลได้ 3 แบบคือ (1) “แห่งธรรมอันดีแล้ว” (2) “แห่งธรรมอันประณีต หรือ อันเปรียบมิได้” หรือ (3) เป็นของ (บุคคลชื่อ) สรุธรรม ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดีก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมัน ในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้น ในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่าสัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 4, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 4, ตราประทับทองคำรูปวงกลม, Inscription no. 6, Inscribed Gold Seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/725?lang=th

10

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 3

ปัลลวะ

เป็นตราประทับเพื่อกิจใดกิจหนึ่ง โดยจารึกไว้ว่า “วิรเพนฺธุตฺรสฺย” แปลว่า “ผู้กล้าหาญเหล่านั้น อาจกระทำต่อได้” หรือ “เป็นของ (บุคคลชื่อ) วิรเพนธุตระ (วิ-ระ-เพน-ธุ-ตระ)” ตราประทับรุ่นแรกๆ ที่พบทางภาคใต้นี้ ศ. ดร. ผาสุข อินทราวุธ ได้อธิบายไว้ว่า การใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารในระดับสถาบันต่างๆ ในสมัยทวารวดี ก็เช่นเดียวกับการใช้ระบบเหรียญกษาปณ์ คือ ชาวอินเดียในสมัยอินโด-โรมัน (พุทธศตวรรษที่ 6-9) ได้นำตราประทับของอินเดีย (แบบที่ชาวกรีก-ชาวโรมัน และชาวเปอร์เซียนิยมใช้) มาใช้เป็นสื่อกลางการติดต่อสื่อสารกับประชากร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ดังได้พบตราประทับของอินเดียและของโรมันในบริเวณเมืองท่าโบราณ เช่น คลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ภาคใต้ของไทย) เมืองออกแก้ว (เวียดนามตอนใต้) และต่อมาในสมัยคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ชาวอินเดียก็ได้นำตราประทับของอินเดียมาใช้ในดินแดนแถบนี้ ดังได้พบตราประทับของอินเดียจำนวนหลายชิ้นในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดีหลายแห่ง เช่น เมืองนครโบราณ เมืองอู่ทอง (สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (ราชบุรี) เมืองพรหมทิน เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี และเมืองจันเสน (นครสวรรค์) และในช่วงต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้เองโดยผู้นำชาวท้องถิ่น อาจสรุปได้ว่าชาวอินเดียได้นำตราประทับที่เคยใช้ในประเทศของตน มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประชากรชาวทวารวดี และต่อมาได้มีการผลิตตราประทับขึ้นใช้โดยผู้นำชาวพื้นเมืองเอง เพื่อใช้ในกิจการด้านการเมือง การศาสนา การค้าและอื่นๆ ดังปรากฏว่าสัญลักษณ์ที่ใช้บนตราประทับนั้นสื่อความหมายหลายด้าน

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 3, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 3, ตราประทับแผ่นศิลารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, Inscription no. 4, Inscribed rectangular green stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 10-11

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/300?lang=th

11

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 2

ปัลลวะ

คำอ่าน-คำแปลของจารึกนี้ยังไม่เป็นที่ยุติ โดยมีถึง 3 แบบ ได้แก่ “ทหารที่ไม่สะทกสะท้าน” “ห้ามเคลื่อนย้าย” และ ชื่อบุคคลนามว่า “อปรลสนสยะ”

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 2, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 2, ตราประทับแผ่นศิลารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, 5/8 ตราประทับหิน, 5/8 ตราประทับหิน, Inscription no. 3, Inscribed rectangular green stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/298?lang=th

12

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 1

พราหมี

ปรากฏคำจารึกว่า “รูชฺโช” มีความหมายว่า “ทำลาย”

จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 1, จารึกบนตราประทับจากควนลูกปัด 1, ตราประทับแก้วรูปวงรี (อีกชิ้นหนึ่ง), Inscription no. 1, Inscribed oval stone seal from Khuan Lukpat, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 6, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 8, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 5-8, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงวงรี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท

พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

พุทธศตวรรษ 5-8

ปรากฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/296?lang=th

13

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 8 (เลขทะเบียน 2995/38)

ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

เนื้อหาด้านที่ 1 จากการแปล 2 ครั้ง มีความแตกต่างกันเล็กน้อย กล่าวคือ เทิม มีเต็ม แปลว่า “พระศิวะ พระพรหม และ พระวิษณุ” ในขณะที่ Prof. Dr. Ravindra Vasishtha และ ผศ. ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา แปลว่า “พระศิวะผู้ยิ่งใหญ่” สำหรับเนื้อหาด้านที่ 2 จากการแปลของ เทิม มีเต็ม คือ “สายสัมพันธ์ประจำเผ่า” ส่วนท่านอื่นๆ ยังไม่สามารถวินิจฉัยได้

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2995/38, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2995/38, จส. 2995/38, จส. 2995/38, 4/29 ตราดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2995/38, 4/29 ตราดินเผา ทะเบียนเลขที่ 2995/38, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล ตราดินเผา, พระศิวะ, พระพรหม, พระวิษณุ, เมืองจันเสน, ตำบลจันเสน, อำเภอตาคลี, จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ชะเอม แก้วคล้าย, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ยังไม่มีหน้า, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์จันเสน นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เหลือง

พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

พุทธศตวรรษ 10-11 และ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2111?lang=th

14

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 7 (เลขทะเบียน 2994/38)

ยังไม่เป็นที่ยุติ

เนื้อหาจากการอ่าน-แปลของ ชะเอม แก้วคล้าย คือ “พญาวานร” โดยวิเคราะห์ไว้ว่า หมายถึง หนุมาน ซึ่งเป็นทหารเอกของพระรามในเรื่องรามเกียรติ์ ส่วนของ Prof. Dr. Ravindra Vasishtha และ ผศ. ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา ให้ความหมายว่า “ผู้สร้าง”

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2994/38, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2994/38, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 3, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 3, จส. 2994/38, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 3, พราหมณ์, ฮินดู, อาณาจักร, ทวารวดี, ปัลลวะ, หลังปัลลวะ, ตรา, ตราดินเผา, หนุมาน, รามเกียรติ์, พญาวานร, พระพรหม, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เมืองจันเสน, ตำบลจันเสน, อำเภอตาคลี, จังหวัดนครสวรรค์, ยังไม่มีหน้า, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ชะเอม แก้วคล้าย, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์จันเสน นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เหลือง

พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

ไม่ปรากฏศักราช

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2109?lang=th

15

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 6 (เลขทะเบียน 2993/38)

ยังไม่เป็นที่ยุติ

เนื้อหาจากการอ่าน-แปลของ ชะเอม แก้วคล้าย หมายถึง “พระนามของพระนารายณ์และพระศิวะ” ส่วนของ ผศ. กรรณิการ์ วิมลเกษม และ อาจารย์ ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ยังไม่สามารถวินิจฉัยถึงคำแปลของจารึกนี้ได้

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2993/38, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2993/38, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 2, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 2, จส. 2993/38, จารึกบนตราดินเผาจากจันเสน 2, จส. 2993/38, ทวารวดี, ปัลลวะ, หลังปัลลวะ, ตรา, ตราดินเผา, ศิวะ, นารายณ์, อิศวร, วิษณุ, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, จารึกพบที่เมืองโบราณจันเสน, เมืองจันเสน, ตำบลจันเสน, อำเภอตาคลี, จังหวัดนครสวรรค์, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เจียจันทร์พงษ์, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, ชะเอม แก้วคล้าย, ใน สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์จันเสน นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เหลือง

พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

ไม่ปรากฏศักราช

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2107?lang=th

16

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 5 (เลขทะเบียน 2992/38)

ยังไม่เป็นที่ยุติ

เนื้อหาจากการอ่าน-แปลของ ชะเอม แก้วคล้าย หมายถึง “การได้รับชัยชนะของเจ้าชายหนุ่ม” ส่วนของท่านอื่น ยังไม่สามารถวินิจฉัยถึงคำแปลของจารึกนี้ได้

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2992/38, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 2992/38, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 1, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองจันเสน 1, จส. 2992/38, จารึกบนตราดินเผาจากจันเสน 1, จส. 2992/38, จส. 2992/38, ทวารวดี, ปัลลวะ, หลังปัลลวะ, จันเสน, ตาคลี, นครสวรรค์, ตราดินเผา, ตรา, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ชะเอม แก้วคล้าย, พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุ่มลพบุรี-ป่าสัก, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑ์จันเสน นครสวรรค์, เหลือง

พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

ไม่ปรากฏศักราช

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2105?lang=th

17

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 4 (เลขทะเบียน 1612/36)

ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

เนื้อหาจากการอ่าน-แปลของ Prof. Dr. Ravindra Vasishtha และ ผศ. ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา หมายถึง “ผู้หญิงที่สามารถ (มีอำนาจ)” ส่วนของ ผศ. กรรณิการ์ วิมลเกษม และอาจารย์ ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย หมายถึง “บอกแล้ว”

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 1612/36, จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เลขทะเบียน 1612/36, จส. 1612/36, จส. 1612/36, ตรา (sealings) ดินเผา สีดำ รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, 4/11 ตราดินเผา เลขทะเบียน 1612/36, 4/11 ตราดินเผา เลขทะเบียน 1612/36, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เหลือง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2066?lang=th

18

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 3

พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

กล่าวถึงพระนามของพระศิวะผู้ยิ่งใหญ่

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ (สภาพชำรุด หักหายไปครึ่งหนึ่ง), 3/31 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, 3/31 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล สภาพชำรุด, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เหลือง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 10-11

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2064?lang=th

19

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 2

ปัลลวะ

ข้อความที่มีความหมายว่า “ขอให้ท่านจงชนะ” หรือ “ชนะแล้ว”

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ (ทรงกลม สภาพชำรุด), 3/29 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, 3/29 ตราดินเผา ไม่ทราบเลขทะเบียน, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เหลือง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2059?lang=th

20

จารึกบนตราดินเผาเมืองจันเสน 1

หลังปัลลวะ

เป็นข้อความที่น่าจะมีความหมายว่า “ไปสู่ถ้ำ”

จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ (รูปคนขี่ม้า 2 คน กำลังตีคลี), จารึกบนตราดินเผา พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ (รูปคนขี่ม้า 2 คน กำลังตีคลี), ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลมแบน, เมืองจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เหลือง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 12-13

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2052?lang=th

21

จารึกบนตราดินเผาจากเมืองนครปฐม

นาครี

จารึกบนตราดินเผาจากเมืองนครปฐม 1, 2317, 2317, พุทธศตวรรษที่ 14-15, 14-15, ทวารวดี, ตราดินเผา, ตรา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14-15, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวาราวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 14-15

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2080?lang=th

22

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 581/09

พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

เนื้อหาจากการแปลของ อ. ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ระบุว่าเป็นคำที่มีความหมายว่า “ตื่น”

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 581/09, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 581/09, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, 581/09, 581/09, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17-18, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 17-18

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2082?lang=th

23

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 2032/2518

ปัลลวะ

ปรากฏคำว่า “ปรม” ซึ่งมีความหมายว่า ยอดเยี่ยม หรือ อาจเป็นชื่อบุคคลก็ได้

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 2032/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 2032/2518, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 6, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 6, 2032/2518, 2032/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2054?lang=th

24

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1721/2518

ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

เนื้อหาของจารึกทางด้านหน้ากล่าวถึงพระนามของพระศิวะผู้ยิ่งใหญ่ ส่วนจารึกทางด้านข้างเป็นข้อความที่อาจหมายถึง “บรรจุแล้ว”

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1721/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1721/2518, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, 1721/2518, 1721/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล สภาพชำรุด, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 10-11, 11-12

สันสกฤต,บาลี

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2071?lang=th

25

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1706/2518

ปัลลวะ

ระบุถึงข้อความว่า “ย ต” ซึ่งยังไม่สามารถวินิจฉัยหรือวิเคราะห์ความหมายได้

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1706/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1706/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาล รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 12

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/14290?lang=th

26

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1694/2518

ปัลลวะ

ระบุคำว่า “ศรี” และเครื่องหมาย โอม

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1694/2518, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 1694/2518, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 2, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 2, 1694/2518, 1694/2518, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 11-12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2048?lang=th

27

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 215/2502

พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

ไม่สามารถจับใจความได้

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 215/2502, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 215/2502, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 1, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 1, 215/2502, 215/2502, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 10-11

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2046?lang=th

28

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 58/2510

ปัลลวะ

ระบุถึงคำที่มีความหมายว่าความสุขหรือความสวัสดี

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 58/2510, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 58/2510, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 4, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 4, 58/2510, 58/2510, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาล รูปทรงค่อนข้างกลม, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 12

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2050?lang=th

29

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 17/4

พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

คำแปลของจารึกนี้ยังไม่เป็นที่ยุติ กล่าวคือ ผศ.ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา วิเคราะห์ว่าเป็นอักษรพราหมี อ่านว่า ชิ แต่ยังไม่ทราบความหมาย ในขณะที่ ผศ. กรรณิการ์ วิมลเกษม มีความคิดเห็นว่าอาจเป็นเลข 3

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 17/4, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 17/4, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 5, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 5, 17/4, 17/4, ดินเผา, ตรา (sealings) ดินเผา สีน้ำตาล ทรงกรวย, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 10-11

ยังไม่เป็นที่ยุติ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2084?lang=th

30

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 3/20

ปัลลวะ,พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ

เนื้อหาของจารึกทางด้านหน้ากล่าวถึงพระนามของพระศิวะผู้ยิ่งใหญ่ ส่วนจารึกทางด้านข้าง ยังไม่สามารถวินิจฉัยได้

จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 3/20, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 3/20, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 3, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 3, 3/20, 3/20, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 10-11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

พุทธศตวรรษ 10-11, 12-13

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2068?lang=th

31

จารึกดวงตราประทับจากปราสาทเขาน้อย

ขอมโบราณ

เป็นจารึกบนดวงตราประทับ มีจารึกคำเดียวคือ “เกฺษะ” ซึ่งแปลความหมายได้หลายอย่าง แต่ความหมายที่เหมาะสมและกลมกลืนที่สุดคือ พึงอนุญาต, ควรอนุญาต สันนิษฐานว่าดวงตราประทับนี้น่าจะใช้เป็นคำสั่งของผู้มีอำนาจ เพื่ออนุญาตให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งทำกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นต้น

จารึกดวงตราประทับจากปราสาทเขาน้อย, ปจ. 28, ปจ. 28, เหล็กหุ้มสำริด, เหล็กหุ้มสัมฤทธิ์, ดวงตราประทับ สถานที่พบ: ปราสาทเขาน้อย วัดเขาน้อยสีชมพู บ้านเขาน้อย ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ (ข้อมูลเดิมว่า จังหวัดปราจีนบุรี) จังหวัดสระแก้ว, เขอมสมัยพระนคร, เกษะ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนเหล็กหุ้มสำริด, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/2563)

พุทธศตวรรษ 16

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1166?lang=th