ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกกัลปนา ก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

ชุดข้อมูลจารึกกัลปนา ก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

ระริวรรณ ภาคพรต ได้ค้นหาคำว่า "กัลปนา" พบว่าคำนี้ปรากฏในศิลาจารึกอักษรขอมโบราณ ภาษาเขมร ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 17 ศิลาจารึกเหล่านี้จะมีข้อความเกี่ยวกับการพระราชทานคน สัตว์ สิ่งของ ที่ดิน และผลประโยชน์จากที่ที่ดิน เช่น ข้าวสาร ผลไม้ ให้แก่ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ จำนวน 17 หลัก /อ้างอิง ระวิวรรณ ภาคพรต. การกัลปนา ในลานนาไทย ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 20 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2526.

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 2564 23:35:31 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2565 17:25:27 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกเมืองเสมา

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระอุมา และพระสรัสวดี จากนั้นได้กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 หรือพระบาทบรมวีรโลกว่าทรงเป็นโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมัน และทรงสืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์ (โสมานฺวย) กล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ว่าได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจไว้อย่างไรบ้าง สุดท้ายก็ได้กล่าวถึงข้าราชการผู้ใหญ่ที่ได้สร้างเทวรูปและพระพุทธรูปไว้หลายองค์ พร้อมทั้งถวายทาสและสิ่งของต่างๆ แด่ศาสนสถานไว้อีกด้วย

จารึกเมืองเสมา, นม. 25, นม. 15, Stele de Sema (Korat) (K. 1141), พ.ศ. 1514, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, มหาศักราช 893, ศิลา, หินทรายสีขาว, หลักสี่เหลี่ยม, เมืองเสมา, ตำบลเสมา, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอุมา, พระรุทระ, พระวิษณุ, พระพรหม, เคารี, สรัสวตี, สรัสวดี, กามเทพ, ศิวลิงค์, ลิงค์, พระมเหศวร, ศิวลึงค์, ยัชญวราหะ, ศิขรสวามี, พระเทวี, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญภควดี, พระประติมากรรม, พระพุทธรูป, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, จันทรวงศ์, ศรีโรทรวรมัน, ศรีทฤฒภักดีสิงหวรมัน, ตระลาว, ตระลาวศรีโรทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญผู้ราชา, โฆ, ไต, พราหมณ์, พระสหาย, คนอนาถา, คนมีทุกข์, คนยากจน, บัณฑิต, คนยากไร้, คนตาบอด, คนป่วยไข้, คนแก่เฒ่า, คนชรา, มนตรี, ทาส, กำเพรา, ตฤป, จน, กำประวาด, ถะเอียก, กำวิด, กำพิด, กำปราก, กัญชน, อุย, นาราย, ประวาด, โขลญวิษัย, เสตงอัญพระครู, กำเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, สัตว์เดรัจฉาน, ช้างป่า, ไทยทาน, จัญจูล, อาสนะบัว, ทอง, ธนู, ประทีป, น้ำ, ดอกบัว, อาภรณ์โภคะ, ขันเงิน, ภาชนะ, ข้าวสาร, อากร, ทุรคาอิศวรบุรี, ทัมรง, สวรรค์, ปราสาท, สวน, พราหมณ์, ฮินดู, พระเวท, พระมนูศาสตร์, ไศวะนิกาย, บุณย์, บุญ, สมาธิ, คัมภีร์พระเวท, พระมนูศาสตร์, คุณธรรม, นิกายไศวะ, ทาน, พระธรรม, วรรณาศรม, อาศรม, พลีกรรม, การอภิเษก, การกัลปนา, พลีกรรม, การถวายทาส, พิธีเบิกพระเนตร, สาปแช่ง, การเฉลิมฉลอง, กลียุค, ฝนแก้วมุกดา, ไตรโลก, ไตรเพท, สรรพวิทยา, มนตร์, พระจันทร์, องค์สี่, จักรวาล, คำกลอน, ละคร, วิทยาการ, ราชสมบัติ, วันคราส, ทุ่งนา, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1514, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี , ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ,เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระสรัสวดี, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1514

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/353?lang=th

2

จารึกอุบมุง

ขอมโบราณ

จารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม และพระอุมา จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชดำรัสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (มหาศักราช 968-1001) ให้ถวายอาศรมและที่ดินแก่พระผู้เป็นเจ้า และให้ร่วมกันปฏิบัติดูแลพระผู้เป็นเจ้า (เทวรูป) และหากผู้ใดไม่ทำตามก็แช่งให้ตกนรก จากนั้นก็เป็นรายนามทาส และจำนวนสิ่งของที่ถวาย

จารึกอุบมุง, อบ. 10, ฐ.จ. 18, อบ. 10, ฐ.จ. 18, Inscription de Vat Pa Saen (Ubon), K. 1085, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านอุบมุง, อำเภอวารินชำราบ, จังหวัดอุบลราชธานี, ตำบลโคกสว่าง, อำเภอสำโรง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, พระพรหม, พระมเหศวร, พระอุมา, พระรุทระ, ศักติ, พระพิฆเนศ, พระเทวี, พระคงคา, พระอาทิตย์, พระกัมรเตงชคต, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วาบ, ไต, สิ, โลญ, ศักดิ์พยาปิ, เสตงอัญอาจารย์ภควัน, เสตงอัญกษิการ, เสตงอัญพระลำพาง, มรตาญขโลญศรีนฤเปนทรริมถะ, อาจารย์ภควันประสาน, พระกัมรเตงอัญประสาน, สัตยานตราจารย์, บพิตร, ปวิตร, พระเจ้าแผ่นดิน, ประธาน, พระผู้เป็นเจ้า, หร, อาศรม, ถะเง, ปโรง, พรุณ, กันเดง, ขชะ, เขมา, กำประหวาด, ดันเทบ, อาย, กำพระ, ปราณ, ตันเชส, จำเลา, ตีรถะ, กำบิด, ปันทน, ปันทัน, ดันทวาจ, กันตฤป, กำเพรา, กันธะ, ขะทะวาด, กำพระ, กำบร, ขะนล, กำ ไพ, ไว, ภัทระ, สำอบ, สนุม, กำไว, ปันลส, ปันลัส, กันโส, อคด, อคัด, กำพิ, กำวิ, ถะเอียก, กำดอ, กันอส, กันอัส, กำบญ, กำบัญ, กันธีบ, กันเชส, บิณฑะ, ถะเง, กำบู, สวัสดี, ถะลก, ปันสม, ปันเตม, บำนบ, บันนับ, บันทน, บันทัน, กำนจ, กำนัจ, ปะนวส, คันธะ, กันรวน, กันสอ, เถลิม, กันสรัจ, ธรรม, กันเทส, สุริยะ, กันเหียง, อัจยุต, ผะเอม, ปันโส, ปิ่น, ดอกบัว, สังข์, ดอกไม้, ถั่วจตุรมาส, ถั่วเดือนสี่, ถาด, ขันทองแดง, เครื่องกระยา, น้ำสรง, มะพร้าว, จรุ, สะเอกระ, ทรัพย์, พลเพียลเชิงพลุก, ถาดมีขา, เชิงตริบาท, น้ำมัน, ธูป, เทียน, กระทะ, ขันทองแดง, จาปะทองแดง, ขันเงิน, แหวนประดับพลอยสีขาบ, ถ้วย, หม้อทองแดง, เสลี่ยง, ดอกบัว, สังข์, ผลไม้, ต้นขวัส, ต้นขวส, ต้นตะกุ, ต้นตะกู, หญ้า, ทีปธารณ์, ถบลรญโคศาลมวาย, รัญโคศาลมวาย, ตรางทวาร, เชงพระยัชญะ, สันธานิบุรี, สดุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทาร, โชร, หินขยวาย, ทำนบ, พะนวน, สันธานิบุรี, สตุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทร, เชิงกรานทองแดง, ข้าวสุก, ทำนบหิน, หนองกก, ประเทศ, สวรรค์, พราหมณ์, ฮินดู, กุติสรวจ, กุติสรวาจ, ลิงคปุระ, กันโลง, กุติสระวาจ, อาศรม, กัลปนา, ทักษิณาทาน, การบูชาพระเพลิง, การถวายข้าทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, สังสารวัฏ, สงกรานต์, พระเพลิง, ทะนาน, ถะโงย, จำโบง, ปรัสถะ, งานมหรสพ, พระบรมราชโองการ, พระเนตร, จอมอสูร, โลก, สะดือบัว, สรีระ, เทวดา, มณเฑียร, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, คำสาปแช่ง, ตกนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1536, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายอาศรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1536

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/388?lang=th

3

จารึกอัญชัยวรมัน

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ และกล่าวถึงพิภพพระยานาคในโลกบาดาล จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชโองการของพระเจ้าชัยวรมันที่ 4 หรือพระบาทบรมศิวบท ว่าด้วยเรื่องการถวายสิ่งของและทาสชายหญิงเป็นจำนวนมาก

จารึกอัญชัยวรมัน, ลบ. 24, ลบ. 24, ศิลา, หินทรายแป้ง, หลักสี่เหลี่ยม, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระนารายณ์, พระอาชญาธุลีพระบาทพระกัมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, กัมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, พระกมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, กมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, อัมระกันสูน, โฆ, ไต, สิ, เปา, ควาล, มหูน, ตันอส, กำบิด, ตมาส, เทวรูจี, ปวเยง, อีศวร, รด, วาบ, รันธติ, สังสาร, กันเทน, กันติ, จวยด, เจวียด, สำอบ, สังวร, ทยาน, เทียน, ตันตุร, กันเดง, กันเตง, กำปาร, กำเส, ปนำ, สนา, สำอบ, ลวน, กันสวน, กันส, กันสอ, องโอง, กำไว, กำไพ, เถา, กำพิส, สำอบ, ปันทน, กำเพรา, กันทริ, สารท, กำบิด, กันโส, วา, โปสบ, กันทรม, ชำอร, อัคร, กลิ, ลบ, บุณย์, กำผาจ, เพรา, ปราน, กญุมกำพระ, กันทะ, ลบธรรม, ศจี, พระศรีย์, อนันต์, ตกุน, อโสรก, บันดล, ปที, ลบเกา, กันทุ, ตังเกร, เกรา, กันติ, กำโปรก, ไชศรีย์, โรย, ยุวดี, ลำวี, มาล, ปริยงคศรี, กันสวม, อมร, ปังหาง, กำบิด, กันไท, ปันลบ, อนงค์, พระศุจยน, สังสารวัฏ, โลง, องครักษ์, ทยจ, เทียจ, กันตรี, รานี, โปนล, สังการ, กัญชาน, ปราปต์, ตมยง, ตะเมียง, มันทะ, จากตยก, จากะเตียก, วชิระ, พระยานาค, ข้าวสาร, พระเพลิง, ข้าวสาลี, เปรียง, น้ำมัน, พราหมณ์, ฮินดู, ไวษณพนิกาย, บาดาล, รลลบ, เทวริบุรี, เมืองโลง, กัลปนา, ธุลีพระบาท, พิภพ, สังสารวัฏ, กรรม,นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บุคคล-พระบาทบรมศิวบท, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/319?lang=th

4

จารึกสุรินทร์ 1

ขอมโบราณ

กล่าวถึงข้อห้ามอย่างหนึ่งที่ใครฝ่าฝืนต้องได้รับโทษ

จารึกสุรินทร์ 1, จารึกสุรินทร์ 1, สร. 5, สร. 5, Inscription de Surin, K. 880, หลักที่ 124 จารึกจากจังหวัดสุรินทร์, หลักที่ 124 จารึกจากจังหวัดสุรินทร์, ศิลา, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, วาบ, อรชุณ, กำเสตงราชกุล, พระดำรัส, กัลปนา, พระจันทร์, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 15

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/341?lang=th

5

จารึกสร้างเทวรูป

ขอมโบราณ

พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ทรงสร้างพระเทวรูปเพื่อประดิษฐานในที่ต่างๆ หลายองค์ เช่น ทรงสร้างพระศิวลึงค์ พระภควดีมหิษาสุรมรรทนี และพระวิษณุ ประดิษฐานที่เชิงเปรียล ณ กุฏิเวศวราศรม ทรงสร้างพระสังกรนารายณ์ ประดิษฐานในพระปรางค์ และทรงสร้างพระวิษณุ พระภควดีศรี ประดิษฐานที่โคกขนบเอสะ เป็นต้น จากนั้นจารึกได้กล่าวถึงการถวายที่ดิน การสร้างอาศรม การถวายทาส และถวายสิ่งของต่างๆ จำนวนมาก

จารึกสร้างเทวรูป, Stele de Wat Phu, กท. 55, กท. 55, K. 366, K. 366, พ.ศ. 1682, ม.ศ. 1061, พุทธศักราช 1682, มหาศักราช 1061, พ.ศ. 1682, ม.ศ. 1061, พุทธศักราช 1682, มหาศักราช 1061, ศิลา, แท่งสี่เหลี่ยม, ขอมสมัยพระนคร, พระวิษณุ, พระพิฆเนศ, กัมรเตงชคต, พระศิวลึงค์, พระภควดีมหิษาสุรมรรทนี, พระศังกรนารายณ์, พระศรีคุรุ , พระภควดีศรี, พระศักติ, พระจรุ, กันโลง, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, ครู, นักเรียน, ดาบส, พระบาทกัมรเตงอัญศรีสูรยวรมันเทวะ, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, โลญ, เดง, ไต, สิยศ, พระกัมรเตงอัญ, เสนาบดี, พระสภา, โขลญวิษัย, จังวาด, สันเดก, สำเดงภัทร, โอส, ทัตต์, สุก, เพ, จาส, พระ, ธน, ธัน, เดง, เตง, ตี, ผะอวน, ถิ, สำราด, ดวนสิ, สาน, อานุช, ราวัท, จาน, วารโวต, กำพีช, ภาคย์, รำเจียก, เสาเขมร, อรส, อรัส, สุลัภ, กำพฤก, กำวฤก, กำพิ, กำวิ, กำพิง, กำวิง, กันสุก, สวัสดี, กำพุด, เกษม, ชีพ, กันเส, กันสอ, เดิมทะนง, กำเม, พฤก, วฤก, ภา, กันธน, กันธัน, วรขนายเกวน, สำปุ, สงวน, ช้าง, เชิงเปรียล, ดอกไม้, เครื่องกระยา, น้ำสรง, ถาดมีขา, สงกรานต์, เงิน, ไห, ขัน, ทองเหลือง, ทละ, กทะ, ไห, หม้อ, อรฆยะ, บาทยะ, สราวนะ, จรุ, ศรูจิ, ทรรพี, สำริด, สัมฤทธิ์, เพชร, วงกม, จรา, ธูป, ที่ดิน, ศิลา, ขนบเอสะ, พราหมณ์, ฮินดู, กัมรเตงชคตศรีภัทเรศวร, กุฏิภเวศวราศรม, อาศรม, การสร้างเทวรูป, กัลปนา, สถาปนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1682, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1682

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/435?lang=th

6

จารึกสด๊กก๊อกธม 2

ขอมโบราณ

เนื้อหาโดยสังเขป ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระพรหม พระนารายณ์ ตามด้วยการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ว่ารูปงามเหมือนกามเทพ มีปัญญาดุจพระพรหม และทรงปกครองแผ่นดินด้วยความยุติธรรม จากนั้นก็กล่าวถึงพราหมณ์ศิวไกวัลย์ ว่าเป็นผู้ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมุนี ผู้ประกอบพิธีกรรมตามประเพณี หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องเวทมนตร์จากพราหมณ์หิรัณยทามะแล้ว ตอนท้ายของจารึกด้านนี้ได้กล่าวสรรเสริญ ชเยนทรวรมัน ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ผู้มีบรรพบุรุษต้นตระกูลคือ “พราหมณ์ศิวไกวัลย์” ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมตามประเพณี ด้านที่ 2 เป็นการลำดับความสัมพันธ์ และผลงานของผู้ที่อยู่ในสายตระกูล ที่มีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมในราชสำนักกัมพูชา เริ่มตั้งแต่พราหมณ์ศิวไกวัลย์เรื่อยมาจนถึง ชเยนทรวรมัน หรือ สทาศิวะ ด้านที่ 3 กล่าวสรรเสริญพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 แจงรายการสิ่งของจำนวนมาก ที่พระองค์ทรงถวายแด่เทวสถาน ณ เมืองภัทรนิเกตนะ จากนั้นก็กล่าวถึงการบริจาคที่ดินของพระราชครูชเยนทรวรมัน ตามด้วยการลำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรมในราชสำนัก ของแต่ละรัชกาล ด้านที่ 4 เป็นการลำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรมในราชสำนัก ของแต่ละรัชกาลต่อจากจารึกด้านที่ 3

จารึกสด๊กก๊อกธม 2, จารึกสด๊กก๊อกธม 2, ปจ. 4, ปจ. 4, หลักที่ 57 จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม ณ อรัญประเทศ, หลักที่ 57 จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม ณ อรัญประเทศ, มหาศักราช 965, พุทธศักราช 1586, มหาศักราช 968, พุทธศักราช 1588, มหาศักราช 971, พุทธศักราช 1592, มหาศักราช 974, พุทธศักราช 1595, มหาศักราช 894, พุทธศักราช 1515, มหาศักราช 901, พุทธศักราช 1522, ม.ศ. 965, พ.ศ. 1586, ม.ศ. 968, พ.ศ. 1588, ม.ศ. 971, พ.ศ. 1592, ม.ศ. 974, พ.ศ. 1595, ม.ศ. 894, พ.ศ. 1515, ม.ศ. 901, พ.ศ. 1522, ศิลา, หินชนวน, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองพร้าว, ตำบลโคกสูง, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, กิ่งอำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอัคนี, พระพรหม, พระนารายณ์, พระลักษมี, กามเทพ, พระอิศวร, พระอุมา, เทพดา, พระอินทร์, พระวิษณุ, พระมนู, เทพเจ้ากาละ, เทพแห่งสมุทร, คเณศวระ, พระศัมภวะ, พระนางสรัสวตี, พระอังคีรส, อิศวระ, พระตนูนปาตะ, พระษฏตนู, พระลักษมี, เทพภัทราทริ, กัศยปะ, อัตริ, อินทระ, จันทระ, พระนางทุรคาเทวี, พระคเณศวร, ศรุติ, อีศานมูรติ, พระศังกร นารายนะ, พระภควตี, พระศิวลึงค์, รูปพระนารายณ์, รูปของพระวิษณุ, รูปของพระสรัสวตี, รูปพระปฏิมา, พระปฏิมาภควดี, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่,1พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, พระเจ้ายโศวรมัน, พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีหรรษวรมัน, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2, พระเจ้าชเยนทรวรเมศวร, พระกัมรเตงอัญศรีชเยนทรวรมัน, พพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าชัยวรมันที่ 2, พระเจ้าชัยวรมันที่ 3, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, พระบาทปรเมศวร, พระบาทวิษณุโลก, พระเจ้าวิษณุโลก, พระบาทอีศวรโลก, พระบาทนิรวาณบท, พระบาทบรมนิรวาณบท, พระบาทรุทรโลก, พระบาทพรหมโลก, พระบาทบรมวีรโลก, พระบาทบรมรุทรโลก, พระบาทบรมศิวบท, พราหมณ์ศิวะไกวัลยะ, ปุโรหิตศิวไกวัลยะ, เสตงอัญศิวไกวัลยะ, พราหมณ์คงคาธระ, พราหมณ์หิรัณยรุจิ, พราหมณ์หิรัณยทามะ, หิรัณยทามะพราหมณ์, หิรัณยพราหมณ์, พราหมณ์วามศิวะ, ศิวไกวัลยพราหมณ์, ศิวไกวัลยะ, ศรีชเยนทรบัณฑิต, กัมรเตงอัญศรีวาคินทรบัณฑิต, พราหมณ์สังกรษะ, ท่านศิวาศรมผู้อาวุโส, ท่านศิวาศรมผู้เยาว์, กัมรเตงศิวาศรม, เสตงอัญศิวโสมะ, พระภคินีอีศานมูรติ, พระศรวะ, เสตงอัญกุมารสวา, นวพรรณ ภัทรมูล, R.C. Majumdar, Inscription of Kambuja, Adhir Chakravarti, The Sdok Kak Thom Inscription Part II, ปรีดา ศรีชลาลัย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1595, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-ชเยนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, บุคคล-ชเยนทรวรมัน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจ 7 พฤศจิกายน 2563)

พุทธศตวรรษ 1595

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/498?lang=th

7

จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี

ขอมโบราณ

คำจารึกนี้เป็นเรื่องกัลปนาที่ดินกับคนใช้และสิ่งของต่างๆ ถวาย “พระบรมวาสุเทพ” คือ พระนารายณ์

จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี, ลบ. 3, ลบ. 3, Lopburi (San Cau) K. 412, หลักที่ 21 ศิลาจารึกศาลเจ้า เมืองลพบุรี, จารึกที่ 21 ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า เมืองลพบุรี, หลักที่ 21 ศิลาจารึกศาลเจ้า เมืองลพบุรี, จารึกที่ 21 ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า เมืองลพบุรี, ศิลา, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ศาลเจ้าในเขตอำเภอเมือง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระนารายณ์, พระกัมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกัมรเดงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ, พระกมรเดงอัญศรีบรมวาสุเทพ, วาบ, โฆ, โขลญพล, โขลญ, โฉลญ, พระกัมรเตงอัญ, พระกัมรเดงอัญ, โขลญวิษัย, ตำรวจวิษัย, อบ, ดังเกร, ตังเกร, ดงเกร, จระทิด, จรทิด, ขทด, ชทัด, มหา, กัญไช, สํอบ, กำบิด, สางคะ, ควาล, ราชศรีย์, อนงค์, สุนธรี, ข้าวสาร, พืชผล, หญ้า, ข้าวเปลือก, ร่ม, อ่างเงิน, เครื่องบริวารเงิน, ละโวก, ถาด, โวทิ, จนหวาย, จันหวาย, ตลับเงิน, ละโว้, ทวารชลวิมาน, อดเสนห์, เมืองพทาง, พราหมณ์, ฮินดู, ไวษณพนิกาย, กัลปนา, การถวายสิ่งของ, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, หลังคา, เรือกสวน, มรดก, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15-16

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/339?lang=th

8

จารึกวัดสระกำแพงใหญ่

ขอมโบราณ

เรื่องราวในจารึก ได้กล่าวถึงพระกัมรเตงอัญศิวทาสคุณโทษ พระสภาแห่งกัมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร ร่วมกับพระกัมรเตงอัญคนอื่นๆ ซื้อที่ดินอุทิศถวายแด่กัมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร และได้ซื้อสิ่งของให้แก่บุคคลบางคนอีกด้วย นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึงการถวายทาสให้ทำหน้าที่แต่ละปักษ์ และกล่าวถึงทรัพย์สินที่ใช้แลกเปลี่ยนในการซื้อ เช่น วัว ทองคำ และภาชนะต่างๆ เป็นต้น

จารึกวัดสระกำแพงใหญ่, ศก. 1, ศก. 1, พุทธศักราช 1585, มหาศักราช 964, พุทธศักราช 1585, มหาศักราช 964, พ.ศ. 1585, ม.ศ. 964, พ.ศ. 1585, ม.ศ. 964, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ซุ้มประตูกำแพงศาสนสถานวัดสระกำแพงใหญ่, ตำบลสระกำแพงใหญ่, อำเภออุทุมพรพิสัย, จังหวัดศรีสะเกษ, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร, กัมรเตงอัญศิวทาสคุณโทษ, พระกัมรเตงอัญขทุรอุปกัลปดาบส, พระกัมรเตงอัญศิขเรสวัต, พระธรรมศาสตร์, กำเสตงโขลญมุขประติปักษ์,พระกัมรเตงอัญพยาบาร, กัมรเตงอัญพระตีรถะ, กำเสตงโขลญระโบส, กำเสตงโขลญมุขระโณจ, กำเสตงทุเลา, ไต, สิ, กำจิ, โขลญพลชนารทธะยศ, พระสภา, พระกัมรเตงอัญผู้ตรวจราชการ, กำเสตงโขลญมุขเขนดบังศาล, กำเสตงอยู่ประจำพระบัญชี, พระตรวจพล, หัวหน้าพระโผลง, หัวหน้าช่างจำหลัก, หัวหน้าช่างตกแต่งปูลาด, ตำรวจ, กันโส, กำพฤก, ถะเกนล, กะเชณ, ฤทธิบูร, กันธณ, กำสด, กำพิด, สมากุล, สำสำอบ, กำไพ, ขะเนต, พระโค, วัว, กินนร, โคภิกษา, ข้าวสาร, ทรัพย์, ลังเคา, แหวน, ทองคำ, พลอย, ขะโชสีเขียว, ตลับเงิน, ภาชนะ, เชียง, สลึง, ขันดีบุก, กระเวา, เมืองสดุกอำพิล, สตุกอำพิล, ตระพังพราหมณ์, พรหมณ์, ฮินดู, การถวายข้าทาส, การถวายที่ดิน, การถวายสิ่งของ, กัลปนา, ที่ดิน, หลักเขต, สงกรานต์, กุศลปักษ์, กฤษณปักษ์, ต้นสกุล, วิศุวสงกรานต์, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1585, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ ศรีสะเกษ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระกัมรเตงอัญศิวาทาสคุณโทษ, บุคคล-กัมรเตงชคตครีพฤทเธศวร

ซุ้มประตูกำแพงศาสนสถาน ด้านตะวันออก วัดสระกำแพงใหญ่ ตำบลสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ (ข้อมูลวันที่ 2 มกราคม 2563)

พุทธศักราช 1585

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/511?lang=th

9

จารึกวังสวนผักกาด

ขอมโบราณ

ข้อความในจารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวว่าในมหาศักราช 938 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ทรงมีพระราชบัญชาแก่มรตาญโขลญศรีวีรวรมันให้มาจารึกพระกระแสรับสั่งไว้ที่เสาหิน ณ ภูเขาดิน จากนั้นข้อความในจารึกก็เป็นรายการสิ่งของ และรายชื่อทาสที่จะทำการกัลปนา

จารึกวังสวนผักกาด, กท. 53, กท. 53, พ.ศ. 1559, พ.ศ. 1559, พุทธศักราช 1559, พุทธศักราช 1559, ม.ศ. 938, ม.ศ. 938, มหาศักราช 938, มหาศักราช 938, K. 232, K.232, ศิลา, หินทรายแดง, รูปใบเสมา, วังสวนผักกาด, อำเภอศรีอยุธยา, ตำบลทุ่งพญาไท, อำเภอพญาไท, กรุงเทพมหานคร, ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี, ขอมสมัยพระนคร, ธุลีพระบาท, กำมรเตงกำตวนอัญ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรมเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรมันเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรรมเทวะ, มรตาญโขลญศรีวีรวรมัน, โขลญศรีวีรวรมัน, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมสวามี, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมันสวามี, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรรมสวามี, กำมรเตงชคตกำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรเมศวร, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมชนนีศวร, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรมันชนนีศวร, กำมรเตงอัญศรีสมรวีรวรรมชนนีศวร, กำมรเตงชคต, วรีห, โขลญพนม, สุริยวรมันที่ 1, ขโลญมุขคาบชนวล, โฆ, ไต, กันโลง, มุรัททนะศิวะ, กัญยาน, อีศานศิวะ, กนิหาต, ขทวาต, เฉก, ฉเก, เถง, ถเง, กันชัน, หฤทยวีนทุ, หฤทัยวีนทุ, พรหมศิวะ, กำวก, สังวาร, ถยก, เถียก, สังกร, ธรรมปาล, กันชน, โตร, อเปน, กันสวร, กันตำ, กันดำ, กันธป, กันธบ, กันเหน, กันโส, กันอน, กันอัน, หริย, หริยะ, กันสรง, พรหมศิวะ, จำเหก, เขมา, ขเมา, ถมาส, กันเทส, บันลส, บันลัส, ปันลส, ปันลัส, กันสต, กันสด, กันหยง, กันเหียง, ธรรม, สรจ, สรัจ, ถโกน, นาหวิ, เถกต, เถกด, ถเกต, ถเกด, กำวิต, กำพิต, กำวิด, กำพิด, กันเทง, บันทาน, ปันทาน, ปุรพะ, ปุรพ, ปุรวะ, บูรพะ, พรหม, จยม, เจียม, คันธะ, คันธะ, กันสอ, สังอบ, บโรง, ลนุต, ลนุด, เสาหิน, ข้าวสาร, น้ำมัน, งา, ถั่ว, ผ้า, ภูเขาดิน, พุทธศาสนา, กัลปนา, การถวายทาส, อายุ-จารึก พ.ศ. 1559, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การสร้างศิลาจารึก, เรื่อง-การถวายข้าทาส, เรื่อง-การถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-การกัลปนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-มรตาญโขลญศรีวีรวรมัน, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง และทองสืบ ศุภะมาร์ค, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1559, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในวังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-มรตาญโขลญศรีวีรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 22 ธันวาคม 2565

วังสวนผักกาด ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี (ข้อมูลเดิมว่า ตำบลทุ่งพญาไท อำเภอพญาไท) กรุงเทพมหานคร (สำรวจข้อมูล 1 มีนาคม 2565)

พุทธศักราช 1559

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/361?lang=th

10

จารึกปราสาทหินพิมาย 3

ขอมโบราณ

เป็นบันทึกว่าในแต่ละปี (ตั้งแต่มหาศักราช 1030-1034) ขุนนางหรือข้าราชการคนใดถวายสิ่งใดแก่เทวสถานบ้าง สิ่งที่ถวายก็มีอาทิเช่น สิ่งของ ทาส และที่ดิน

จารึกปราสาทหินพิมาย 3, จารึกปราสาทหินพิมาย 3, นม. 16, นม. 16, Pimai, Phimai, K. 397, จารึกหลักที่ 61 จารึกที่กรอบประตูซุ้มระเบียงคด ปราสาทหินพิมาย, จารึกหลักที่ 61 จารึกที่กรอบประตูซุ้มระเบียงคด ปราสาทหินพิมาย, พ.ศ. 1655, ม.ศ. 1034, พุทธศักราช 1655, มหาศักราช 1034, พ.ศ. 1655, ม.ศ. 1034, พุทธศักราช 1655, มหาศักราช 1034, ศิลา, สี่เหลี่ยม, พระกัมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีวรมัน, กมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกยวิชัย, กมรเตงชคตพิมาย, กมรเตงชคตวิมาย, ไต, สิ, ไตรโลกยวิชัย, เตงตวนประสาน, กมรเตงอัญศรีวีรพรม, กมรเตงอัญศรีวีรวรมัน, พระบาทกมรเตงอัญศรีธรณินทรวรมเทวะ, พระบาทกมรเตงอัญศรีธรณินทรวรมันเทวะ, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระกมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีพรม พระกมรเตงอัญศรีพีเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีพรม, พระกมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, พระกมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, ข้าพระ, กมรเตงอัญเสนาบดี, บันทาน, ฉเก, ปันทาน, เฉก, มูล, สิ, กำวฤก, กำพฤก, กันตู, กันดู, สมภบ, กำญาณ, ขทิง, คนธะ, คันธะ, กันสยำ, กันเสียม, กันรยยบ, กันเรียบ, อลิ, กำวาง, กำญาน, เขร์,เขทบ, ขเทบ, กันศรี, กันสด, กโญน, กำวาง, กำวฺฤก, ขฺทิง, ขทิง, สารัสวดี, กันศรี, วาม, วิงสิ่งของ: รั้ว, ที่ดิน, หิน, ตระพัง, ข้าวสารสถานที่: ตระพัง, เขวียว, ขวยว, โฉกวะกุล, ตลิ่งศาสนา: พราหมณ์, ฮินดูศาสนสถาน: ศรีวีเรนทราศรม, ศรีพีเรนทราศรม, อาศรม, สังวัจฉรปุณณมี, กัลปนา, การสถาปนา, พิธีถวายข้าพระ, เดือนยี่, วันอาทิตย์, ทิศาคเนย์, มูลนิธิ, ทิศอีศาน, ทิศทักษิณ, ทิศประจิม, ทิศหรดี, ทิศอุดร, บัญชี, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, แสง มนวิทูร, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ.1655, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา

ปราสาทหินพิมาย บ้านพิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563)

พุทธศักราช 1655

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/422?lang=th

11

จารึกปราสาทหินพนมวัน 3

ขอมโบราณ

ในมหาศักราช 1004 พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ทรงมีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้บรรดาพระกัมรเตงอัญคนอื่นๆ ช่วยกันดูแลอาศรม และให้ถวายสิ่งของแก่กมรเตงชคตเป็นประจำ นอกจากนี้ยังทรงถวายทาสและสิ่งของอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะพวกทาสนั้น ทรงมีพระบรมราชโองการห้ามอยู่ใต้บังคับบัญชาของผู้ใด และทรงห้ามพวกทาสเหล่านี้ทำพิธีกรรมอื่นๆ อีกด้วย

จารึกปราสาทหินพนมวัน 3, จารึกปราสาทหินพนมวัน 3, นม. 1, นม. 1, Inscription de Nom Van, K. 391, พ.ศ. 1625, พ.ศ. 1625, ม.ศ. 1004, ม.ศ. 1004, พุทธศักราช 1625, พุทธศักราช 1625, มหาศักราช 1004, มหาศักราช 1004, ศิลา, หลืบประตู, รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ปราสาทหินวัดพนมวัน, ปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญลักษมีนทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญภูเบนทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญภูเปนทรวรมัน, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมันเทพ, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระกัมรเตงอัญราเชนทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญตระพังตันโนต, พระกัมรเตงอัญตระพังตันโนด, พระกัมรเตงอัญกวีนทราลัย, พระกัมรเตงอัญโยคีศวรบัณฑิต, พระกัมรเตงอัญวาคินทรบัณฑิต, พระกัมรเตงอัญศิวคุปต, พระกัมรเตงอัญนิรวาณ, หมู, ทอง, เงิน, ผชุ, อวร, เสื้อผ้า, เครื่องหอม, จุมพุ, ดอกไม้, เนยเหลว, นมเปรี้ยว, น้ำผึ้ง, น้ำผลไม้, ข้าวสาร, โขลญ, มุขดำรวจพล, พระสภาบดี, โขลญพล, พระบัญชี, ขุนพล, ประธานผู้พิพากษา, ปุโรหิต, รัตนภูมิ, รัตนปุระ, เทวาศรม, อาศรม, ตระพังตันโนด, การสังเวย, วันเพ็ญ, พระจันทร์, กฤติกา, วันศุกร์, กองทัพกลาง, ฉางข้าว, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, อายุ-จารึก พ.ศ. 1625, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลืบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ

ประตูด้านใต้ ปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563)

พุทธศักราช 1625

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/416?lang=th

12

จารึกปราสาทหินพนมวัน 2

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวสรรเสริญพระศิวะ และพระวิษณุ จากนั้นได้กล่าวสรรเสริญพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 แล้วกล่าวถึงเรื่องที่พระองค์ได้แต่งตั้ง วีรวรมัน ให้เป็นผู้ตรวจการกองทัพ พระองค์ได้พระราชทานที่ดิน และทรัพย์สมบัติเป็นจำนวนมากแก่เขา ทั้งยังได้พระราชทานนามแก่เขา (วีรวรมัน) ว่า “กฤตัชญวัลลภ” จากนั้นจารึกได้กล่าวถึงการถวายทาสและสิ่งของแก่เทวรูป ทั้งยังได้กล่าวถึงการกำหนดเขตแดนของเทวสถานอีกด้วย

จารึกปราสาทหินพนมวัน 2, จารึกปราสาทหินพนมวัน 2, นม. 33, นม. 33, Piedroits de Nom Van, K. 393, พ.ศ. 1598, ม.ศ. 977, พ.ศ. 1598, ม.ศ. 977, พุทธศักราช 1598, มหาศักราช 977, พุทธศักราช 1598, มหาศักราช 977, ศิลา, เสาซุ้มประตูรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เสาหลืบประตูปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พราหมณ์, พระวิษณุ, พระอิศวร, พระพรหม, ศรีสูรยวรมัน, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วีรวรมัน, ศรีอุทยาทิตยวรมัน, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระบาทพรหมโลก, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระเจ้าพรหมโลก, ศรรพสกุล, ศรวสกุล, กฤตัชญวัลลภ, ทาส, นักประพันธุ์, บิดา, บุตร, ผู้ตรวจการกองทัพ, ข้าราชบริพาร สิ่งของ: ดอกบัว, สาระ, ทวาร, โภคะ, เสลี่ยงยูงทอง, งา, เพชร, พลอย, สัข์, แก้ว, ประพาฬ, มรกต, มุกดา, ทอง, เงิน, ของกำนัล สถานที่: สุขาลัย, อาศรม, สตุกกทัมพกะ, พนมพระ, อังเวง, ณทาหกะ, สวาทเยา, เทวาลัย, สมรภูมิ, เมืองสุขาลัย, นรก, สตุกกทัมพกะ, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, เขื่อน, สังสารวัฏ, ไตรโลก, พราหมณ์, ฮินดู, พรหมโลก, ธรรม, กุศล, กลางวัน, กลางคืน, บุญ, ธรรม, เทวาลัย, อาศรม, การเฉลิมฉลอง, พระบาทบงกช, คู่, ยุค, กฤติกา, หมู่บ้าน, กองทัพ, ความยุติธรรม, ที่ดิน, เทวรูป, กระบวนแห่, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1597, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมวัน นครราชสีมา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, บุคคล-วีรวรมัน

ประตูตะวันออกปราสาทประธานปราสาทหินพนมวัน บ้านมะค่า ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 20/1/2563)

พุทธศักราช 1598

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/398?lang=th

13

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 6

ขอมโบราณ

ข้อความไม่สมบูรณ์ทั้ง 4 ชิ้น ชิ้นที่ 1 กล่าวห้ามไม่ให้ผู้ใดล่วงล้ำเข้าไปในอาณาเขตของอาศรม จากนั้นก็กล่าวถึงอาณาเขตของอาศรม ชิ้นที่ 2 มีคำจารึกอยู่ 2 คำ จับใจความไม่ได้ ชิ้นที่ 3 กล่าวถึงการถวายสิ่งของและทาสแด่เทวสถาน ชิ้นที่ 4 เป็นคำสาปแช่งผู้ที่ล่วงละเมิด

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 6, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 6, บร. 13, บร. 13, Stele de Phnom Rung, K. 1072, K. 1091, K. 1071, ศิลา, หินทราย, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงอัญ, วาบ, ไต, โฆ, มน, มัน, นขะ, นัข, มูล, กัญจน, กัญจัน, กันสา, น้ำมัน, งา, ถั่ว, พราหมณ์, ฮินดู, ธรรม, ราเชนทราศรม, การถวายสิ่งของ, การถวายทาส, กัลปนา, สงกรานต์, พระจันทร์, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563)

พุทธศตวรรษ 16

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/404?lang=th

14

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 4

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 กล่าวถึงข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่ได้ซื้อที่ดิน ทาส และสิ่งของเพื่อถวายแด่พระกัมรเตงชคตพนมรุ้ง (เทวสถาน) ด้านที่ 2 เป็นรายการสิ่งของที่ถวาย และรายชื่อทาสที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในเทวสถาน

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 4, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 4, บร. 9, บร. 9, Stele de Phnom Rung, K. 1068, ศิลา, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงชคตพนมรุ้ง, โยคี, ไต, โฆยศ, พระลำเบง, พระจังวาด, พระจังหวัด, พระอาลักษณ์, พระลำเบง, พระชนานจัพละ, ครู, เข, กำวระ, กำพระ, กำโวะ, กำโพะ, ชิสตวน, ชิสตวัน, ขทิด, ช้าง, ม้า, แพะ, หมูสิ่งของ: ข้าวสาร, เหล้าสถานที่: เมืองลำเบง, พนมรุ้ง, เมืองโยคี, พราหมณ์, ฮินดู, อาศรม, การสร้างเมือง, การสร้างอาศรม, การถวายทาส, การสร้างหล่ออักษร, บัญชี, พระราชบัญญัติ, ราชยธรรม, สงกรานต์, ที่ดิน, พระอาทิตย์, พระจันทร์, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563)

พุทธศตวรรษ 16

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/366?lang=th

15

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2

ขอมโบราณ

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ ทราบเพียงว่า ในมหาศักราช 911 มีการซื้อที่ดิน และถวายที่ดินแด่พระกัมรเตงชคตแห่งพนมรุ้ง โดยที่ดินที่ถวายนี้จะต้องไม่อยู่ในความคุ้มครองของโขลญวิษัย จากนั้นก็กล่าวถึงเขตแดนของที่ดินดังกล่าว

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 2, บร. 11, บร. 11, Stele de Phnom Rung, K. 1067, พ.ศ. 1532, พุทธศักราช 1532, พ.ศ. 1532, พุทธศักราช 1532, ม.ศ. 911, มหาศักราช 911, ม.ศ. 911, มหาศักราช 911, ศิลา, หินชนวน, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, กัมรเตงชคต, วีเรนทรวรมัน, มรตาญโขลญศรีภุวนาทิตย์, วาบ, ทศารถะยศ, โขลญวิษัย, อยก, เอียก, อบ, พิษ, เหม, กระบือ, ขรุม, กระยาว, ทรัพย์, เครื่องนุ่งห่ม, ถบลกันทวา, ตาขลง, ขลุง, พนมรุง, พนมรุ้ง, ปรยนประลุง, เปรียนประลุง, การถวายที่ดิน, ที่ดิน, อมฤต, พระราชโองการ, หลักเขต, นวพรรณ ภัทรมูล, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 : อักษรขอม พุทธศตวรรษที่ 15-16, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ. 1532, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563)

พุทธศักราช 1532

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/363?lang=th

16

จารึกบ้านพังพวย

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 กล่าวถึงพระเจ้าราเชนทรวรมัน ว่าได้มีบัญชาให้บรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในเมืองวนปุระ ให้ร่วมกันดูแลเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเทวสถาน โดยถวายน้ำมัน และลูกสกา เป็นเวลา 1 ปี ส่วนในเรื่องของที่นาและพืชผลที่มีขึ้นในนานั้น ให้สิทธิแก่บรรดาข้าทาส และลูกทาส ส่วนวัวควายไม่ควรขึ้นกับโขลญวิษัย (ผู้ดูแลสถานที่) โขลญข้าว และโขลญเปรียง (ผู้ดูแลน้ำมัน) และอย่าปล่อยให้เข้าไปในที่ดินของเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเทวสถาน หากชาวบ้านไม่ทำตามคำสั่งให้จับส่งเจ้าหน้าที่ ส่วนด้านที่ 2 กล่าวถึงการมีบัญชาให้ร่วมกันดูแลเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเมือง โดยถวายข้าวสาร น้ำมัน ผลไม้ หอก ผ้า ห้ามไม่ให้โขลญวิษัยและโขลญเปรียงเข้าไปในป่า ให้อยู่คอยรับใช้บรรดาข้าราชการผู้ใหญ่ นอกจากนั้นยังมีการกล่าวถึงการตั้งที่ประชุมหรือศาล

จารึกบ้านพังพวย, ปจ. 3, ปจ. 3, Stele de Nong Pang Puey, K. 957, พ.ศ. 1484, พุทธศักราช 1484, พ.ศ. 1484, พุทธศักราช 1484, ม.ศ. 863, มหาศักราช 863, ม.ศ. 863, มหาศักราช 863, หินทรายสีแดง, บ้านพังพวย, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, บ้านหนองพังพวย ตำบลโคคลาน อำเภอตาพระยา, ขอมสมัยพระนคร, พระกํมรเตงอัญชคต, กมรเตงอัญชคต, กัมรเตงอัญชคต, พระอวธิบุคคล: กํเสตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ปาลภาควะ, ไต, ใต, ศรามพฤทธะ, ข้าพระ, โค, กระบือ, วัว, ควาย, สุภากูต, กันลาง, บัลลังก์ทอง, น้ำมัน, ลูกสกา, ที่นา, ระเงียง, สวาย, กทัมพะ, ชีศรี, พระบุณย์, ปรัตยะ, ปรัตยยะ, กํเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, เสตญอัญจตุราจารย์, โขลญวิษัย, โขลญสรู, ขโลญบรรยงก์, โขลญเปรียง, กํเสตงอัญราชกุล, เสตญอัญจตุราจารย์, โขลญ, โขลญบรยยงมุขคาป, โขลญเปรียงมุขคาบ สถานที่: วนปุระ, ลิงคปุระ, หนองสวาย, ตะโบคีรี, ตะโปคีรี, ป่ากทัมพะ, อมริยาท, หนอง, ป่าช้า, คลอง, อุทยาน, สระ, พระสภาปิโป, ธรรมะ, ธรรม, พราหมณ์, ฮินดู, กัลปนา, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, การถวายที่นา, การถวายทาส, ธุลีพระบาท, เดือนสราวณะ, วันอาทิตย์, พระราชดำรัส, ที่นา, ที่ดิน, คำพิพากษา, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึก พ.ศ. 1488, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1484

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/316?lang=th