ชุดข้อมูลจารึกที่ใช้คำศัพท์บอกศักราช
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกโนนสัง |
หลังปัลลวะ |
กล่าวถึงพระเจ้าโสมาทิตยะ ว่าเป็นผู้เกิดแต่พระเจ้าอินทรวรมัน ในมหาศักราช 811 พระองค์ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลแด่พระราชบิดา โดยการประทานสิ่งต่างๆ ได้แก่รัตนะ และป่าไม้แก่จอมมุนี |
จารึกโนนสัง, ยส. 3, ยส. 3, K. 495, Bueng Kae, พุทธศักราช 1432, มหาศักราช 1432, พ.ศ. 1432, ม.ศ. 1432, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านบึงแก, ตำบลบึงแก, อำเภอชัยชนะ, จังหวัดยโสธร, ขอมสมัยพระนคร, จอมมุนี, ศรีอินทรวรมัน, พระเจ้าอินทรวรมัน, สมณพราหมณ์, โสมาทิตยะ, ป่าบัวแดง, พราหมณ์, ฮินดู, บุญ, การบูชายัญ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, จารึกบนใบเสมา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1432, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร,ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้ายโศวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านบึงแก ยโสธร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้าโสมาทิตยะ, บุคคล-พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายรัตนะ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายป่า |
อาคารถาวร เจ้าปู่โนนสังข์ หมู่.2 บ้านบึงแก ตำบลบึงแก อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร (สำรวจเมื่อ 2 กันยายน 2563) |
พุทธศักราช 1432 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/330?lang=th |
2 |
จารึกเมืองเสมา |
ขอมโบราณ |
เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระอุมา และพระสรัสวดี จากนั้นได้กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 หรือพระบาทบรมวีรโลกว่าทรงเป็นโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมัน และทรงสืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์ (โสมานฺวย) กล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ว่าได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจไว้อย่างไรบ้าง สุดท้ายก็ได้กล่าวถึงข้าราชการผู้ใหญ่ที่ได้สร้างเทวรูปและพระพุทธรูปไว้หลายองค์ พร้อมทั้งถวายทาสและสิ่งของต่างๆ แด่ศาสนสถานไว้อีกด้วย |
จารึกเมืองเสมา, นม. 25, นม. 15, Stele de Sema (Korat) (K. 1141), พ.ศ. 1514, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, มหาศักราช 893, ศิลา, หินทรายสีขาว, หลักสี่เหลี่ยม, เมืองเสมา, ตำบลเสมา, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอุมา, พระรุทระ, พระวิษณุ, พระพรหม, เคารี, สรัสวตี, สรัสวดี, กามเทพ, ศิวลิงค์, ลิงค์, พระมเหศวร, ศิวลึงค์, ยัชญวราหะ, ศิขรสวามี, พระเทวี, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญภควดี, พระประติมากรรม, พระพุทธรูป, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, จันทรวงศ์, ศรีโรทรวรมัน, ศรีทฤฒภักดีสิงหวรมัน, ตระลาว, ตระลาวศรีโรทรวรมัน, พระกัมรเตงอัญผู้ราชา, โฆ, ไต, พราหมณ์, พระสหาย, คนอนาถา, คนมีทุกข์, คนยากจน, บัณฑิต, คนยากไร้, คนตาบอด, คนป่วยไข้, คนแก่เฒ่า, คนชรา, มนตรี, ทาส, กำเพรา, ตฤป, จน, กำประวาด, ถะเอียก, กำวิด, กำพิด, กำปราก, กัญชน, อุย, นาราย, ประวาด, โขลญวิษัย, เสตงอัญพระครู, กำเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, สัตว์เดรัจฉาน, ช้างป่า, ไทยทาน, จัญจูล, อาสนะบัว, ทอง, ธนู, ประทีป, น้ำ, ดอกบัว, อาภรณ์โภคะ, ขันเงิน, ภาชนะ, ข้าวสาร, อากร, ทุรคาอิศวรบุรี, ทัมรง, สวรรค์, ปราสาท, สวน, พราหมณ์, ฮินดู, พระเวท, พระมนูศาสตร์, ไศวะนิกาย, บุณย์, บุญ, สมาธิ, คัมภีร์พระเวท, พระมนูศาสตร์, คุณธรรม, นิกายไศวะ, ทาน, พระธรรม, วรรณาศรม, อาศรม, พลีกรรม, การอภิเษก, การกัลปนา, พลีกรรม, การถวายทาส, พิธีเบิกพระเนตร, สาปแช่ง, การเฉลิมฉลอง, กลียุค, ฝนแก้วมุกดา, ไตรโลก, ไตรเพท, สรรพวิทยา, มนตร์, พระจันทร์, องค์สี่, จักรวาล, คำกลอน, ละคร, วิทยาการ, ราชสมบัติ, วันคราส, ทุ่งนา, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1514, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี , ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ,เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระสรัสวดี, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ,เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1514 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/353?lang=th |
3 |
จารึกเขารัง |
ปัลลวะ |
ในปี พ.ศ. 1182 ขุนนางผู้หนึ่งซึ่งดำรงตำแหน่งสินาหฺวฺคนก่อน ได้ถวายทาส สวนใกล้วิหาร ผู้รักษาสวน เครื่องไทยทาน ที่นา และ กระบือ แด่พระวิหาร โดยมอบให้บุรุษหนึ่งนามว่า วา กฺโทกฺ เป็นผู้ดูแลรักษา ต่อมาผู้ดำรงตำแหน่งสินาหฺวฺคนปัจจุบันได้ถวายทาส สวนใกล้วิหาร แด่พระวิหาร ตามที่ผู้ดำรงตำแหน่งสินาหฺวฺพึงกระทำ |
ปจ. 1, ปจ. 1, K. 505, K. 505, หลักที่ 119 ศิลาจารึกขอมในประเทศไทย, หลักที่ 119 ศิลาจารึกขอมในประเทศไทย, จารึกเขารัง พ.ศ. 1182, พ.ศ. 1182, ม.ศ. 561, ม.ศ. 561, พุทธศักราช 1182, พุทธศักราช 1182, มหาศักราช 561, มหาศักราช 561, หินทราย, ใบเสมา, เขารัง, บ้านอรัญ ตำบลอรัญประเทศ, ตำบลผ่านศึก, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, จังหวัดปราจีนบุรี, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, พระราชา, ผู้รักษาสวน, วา, กุ, สิ, ไต, เปา, สินาหว, สิรกันไต, โยง, ลางสิ, ปาร, กันไต, กุโสล, ลางไต, วารเงห์, กุจิห์, โชงกันไต, กุมาส, จู, เทร, ลาง, เปา, สรลัญ, จำทัก, ถร, ทิน, ธรรมลาภ, กโทก ต้นไม้: ตโนน, ตาล, โตนด, ต้นหมาก, ต้นมะพร้าว สัตว์: ควาย, กระบือ, กลสสัมฤทธิ์, กลสสำริด, หม้อน้ำ, ถาด, สรเคะ, แท่น, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหารรุง, กัลปนา, การถวายทาส, อินทรีย์, ดวงจันทร์, พระจันทร์, หัสต, พฤษภ, สวน, ที่นา, ตรงใจ หุตางกูร, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ปราสาทเขาน้อย จังหวัดปราจีนบุรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1182, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ-พระเจ้าภววรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายหยาบ, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก หอสมุดแห่งชาติ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก หอสมุดแห่งชาติ แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (บันทึกข้อมูลวันที่ 13/5/2563) |
พุทธศักราช 1182 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/52?lang=th |
4 |
จารึกเขาน้อย |
ปัลลวะ |
(1) เนื้อหาส่วนที่เป็นภาษาสันสกฤต กล่าวสรรเสริญพระวิษณุ และพระศรีภววรมัน นอกจากนี้ยังกล่าวถึง เชยษฐปุรสวามี ว่าเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับพระเวทเพื่อบูชาพระวิษณุ |
ปจ. 16, ปจ. 16, K. 506, จารึกวัดเขาน้อยสีชมพู, จารึกเขาน้อย, พ.ศ. 1180, พ.ศ. 1180, ม.ศ. 559, ม.ศ. 559, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, บ้านคลองน้ำใส, ตำบลคลองน้ำใส, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดปราจีนบุรี, วัดเขาน้อยสีชมพู, สระแก้ว, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, พระวิษณุ, พระนารายณ์, อีสานวรมัน, ภววรมันที่ 2, ภววรมันที่ 2, ศรีภววรมัน, เชยษฐปุรสวามี, ศรีมานิหะ, ศรีมันทาระ, ศรีมันทารสวามี, พระสมเรศวร, วา, กุ, ใต, ยศ, โกลญ, พระกัมรเตง, กัมรตางอัญ, กัมรตางอัญกุมาร, มรตาญ, โขลญ, อาทุ, อัมวก, โญ, ปิต, กุมารตาง, อัมทะโร, สวีย, กะยาย, ปรง, โชตจิตต์, วะโร, โปญ, ลางใต, โปใต, สะเมกันเตก, เหง, นาย, เอมภะยัม, กัลปิต, กวน, ใตฐ, ลัมโต, ต, ลา, เทวตหริ, ไวรย, กัญชา, อมัม, โลญ, ลาญ, โก, โจรมาน, สาย, อันโรก, โนจพระ, เชยษฐปุระ, ไวษณพนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, สิ่งของ: จักร, เกราะพิธีกรรม: กัลปนา, การถวายทาส, พิธีพระเวท, ราชสมบัติ, ทรัพย์, สงคราม, โลกวิธี, ตรงใจ หุตางกูร, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ปราสาทเขาน้อย, จังหวัดปราจีนบุรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1180, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ-พระเจ้าภววรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกเขาน้อยสีชมพู สระแก้ว, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไวษณพนิกาย, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระศรีภววรมัน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระศรีภววรมัน, บุคคล-เชยษฐปุรสวามี, บุคคล-โกลญเชยษฐปุระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-02, ไฟล์; PJ_007) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/2563) |
พุทธศักราช 1180 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/62?lang=th |
5 |
จารึกเกษตรสมบูรณ์ |
ขอมโบราณ |
ข้อความของจารึก กล่าวถึงอมรสิงหภิกษุ ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธาน พร้อมทั้งคณะของท่านก็มีความยินดี เข้าใจว่า คงเป็นหน้าที่ในการก่อสร้างอะไรสักอย่างหนึ่ง ซึ่งน่าจะเป็นพุทธวิหาร พร้อมทั้งกำแพงโดยรอบ เพราะบรรทัดต่อไปกล่าวว่า ผู้มีความปรารถนาอันแรงกล้าได้เข้าถึงสิ่งอันประเสริฐ ที่อยู่ในกำแพง น่าจะหมายถึงพระพุทธรูป ที่ประดิษฐานอยู่ภายในเขตพุทธาวาส นอกจากนั้นข้อความจารึกบอกถึงความปรารถนาว่า ขอให้ตั้งอยู่ชั่วกาลนาน ด้วยบุญกุศลต่างๆ ซึ่งก็เป็นการสอดคล้องกับข้อความเบื้องต้นที่เป็นการก่อสร้างศาสนสถานเพื่อการกุศล ส่วนในทิศปราจีน คงเป็นสถานที่แสดงธรรมให้ประชาชน ฉะนั้น การก่อสร้างศาสนสถานแห่งนี้ ได้สำเร็จลงเมื่อมหาศักราช 913 |
จารึกเกษตรสมบูรณ์, ชย. 5, ชย. 5ศักราช: มหาศักราช 913, พุทธศักราช 1534, ม.ศ. 913, พ.ศ. 1534, มหาศักราช 913, พุทธศักราช 1538, ม.ศ. 913, พ.ศ. 1538, หินทราย, ใบเสมา, หน้าที่ว่าการอำเภอเกษตรสมบูรณ์, จังหวัดชัยภูมิ, ขอมสมัยพระนคร, พระพรหม, พระพุทธรูป, อมรภิกษุ, พุทธาวาส, พุทธศาสนามหายาน, ธรรม, บุญ, กุศล, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, พระพุทธศาสนา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1534, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างกำแพง, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจข้อมูลเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2563) |
พุทธศักราช 1534 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/962?lang=th |
6 |
จารึกอุบมุง |
ขอมโบราณ |
จารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม และพระอุมา จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชดำรัสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (มหาศักราช 968-1001) ให้ถวายอาศรมและที่ดินแก่พระผู้เป็นเจ้า และให้ร่วมกันปฏิบัติดูแลพระผู้เป็นเจ้า (เทวรูป) และหากผู้ใดไม่ทำตามก็แช่งให้ตกนรก จากนั้นก็เป็นรายนามทาส และจำนวนสิ่งของที่ถวาย |
จารึกอุบมุง, อบ. 10, ฐ.จ. 18, อบ. 10, ฐ.จ. 18, Inscription de Vat Pa Saen (Ubon), K. 1085, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, พ.ศ. 1536, ม.ศ. 915, พ.ศ. 1511, ม.ศ. 890, พุทธศักราช 1536, มหาศักราช 915, พุทธศักราช 1511, มหาศักราช 890, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านอุบมุง, อำเภอวารินชำราบ, จังหวัดอุบลราชธานี, ตำบลโคกสว่าง, อำเภอสำโรง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระวิษณุ, พระพรหม, พระมเหศวร, พระอุมา, พระรุทระ, ศักติ, พระพิฆเนศ, พระเทวี, พระคงคา, พระอาทิตย์, พระกัมรเตงชคต, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วาบ, ไต, สิ, โลญ, ศักดิ์พยาปิ, เสตงอัญอาจารย์ภควัน, เสตงอัญกษิการ, เสตงอัญพระลำพาง, มรตาญขโลญศรีนฤเปนทรริมถะ, อาจารย์ภควันประสาน, พระกัมรเตงอัญประสาน, สัตยานตราจารย์, บพิตร, ปวิตร, พระเจ้าแผ่นดิน, ประธาน, พระผู้เป็นเจ้า, หร, อาศรม, ถะเง, ปโรง, พรุณ, กันเดง, ขชะ, เขมา, กำประหวาด, ดันเทบ, อาย, กำพระ, ปราณ, ตันเชส, จำเลา, ตีรถะ, กำบิด, ปันทน, ปันทัน, ดันทวาจ, กันตฤป, กำเพรา, กันธะ, ขะทะวาด, กำพระ, กำบร, ขะนล, กำ ไพ, ไว, ภัทระ, สำอบ, สนุม, กำไว, ปันลส, ปันลัส, กันโส, อคด, อคัด, กำพิ, กำวิ, ถะเอียก, กำดอ, กันอส, กันอัส, กำบญ, กำบัญ, กันธีบ, กันเชส, บิณฑะ, ถะเง, กำบู, สวัสดี, ถะลก, ปันสม, ปันเตม, บำนบ, บันนับ, บันทน, บันทัน, กำนจ, กำนัจ, ปะนวส, คันธะ, กันรวน, กันสอ, เถลิม, กันสรัจ, ธรรม, กันเทส, สุริยะ, กันเหียง, อัจยุต, ผะเอม, ปันโส, ปิ่น, ดอกบัว, สังข์, ดอกไม้, ถั่วจตุรมาส, ถั่วเดือนสี่, ถาด, ขันทองแดง, เครื่องกระยา, น้ำสรง, มะพร้าว, จรุ, สะเอกระ, ทรัพย์, พลเพียลเชิงพลุก, ถาดมีขา, เชิงตริบาท, น้ำมัน, ธูป, เทียน, กระทะ, ขันทองแดง, จาปะทองแดง, ขันเงิน, แหวนประดับพลอยสีขาบ, ถ้วย, หม้อทองแดง, เสลี่ยง, ดอกบัว, สังข์, ผลไม้, ต้นขวัส, ต้นขวส, ต้นตะกุ, ต้นตะกู, หญ้า, ทีปธารณ์, ถบลรญโคศาลมวาย, รัญโคศาลมวาย, ตรางทวาร, เชงพระยัชญะ, สันธานิบุรี, สดุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทาร, โชร, หินขยวาย, ทำนบ, พะนวน, สันธานิบุรี, สตุกโกก, เชิงตราญ, ทรรทร, เชิงกรานทองแดง, ข้าวสุก, ทำนบหิน, หนองกก, ประเทศ, สวรรค์, พราหมณ์, ฮินดู, กุติสรวจ, กุติสรวาจ, ลิงคปุระ, กันโลง, กุติสระวาจ, อาศรม, กัลปนา, ทักษิณาทาน, การบูชาพระเพลิง, การถวายข้าทาส, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, สังสารวัฏ, สงกรานต์, พระเพลิง, ทะนาน, ถะโงย, จำโบง, ปรัสถะ, งานมหรสพ, พระบรมราชโองการ, พระเนตร, จอมอสูร, โลก, สะดือบัว, สรีระ, เทวดา, มณเฑียร, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อำไพ คำโท, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, คำสาปแช่ง, ตกนรก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1536, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระพรหม, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระอุมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายอาศรม, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1536 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/388?lang=th |
7 |
จารึกศรีจานาศะ |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการสรรเสริญพระศิวะ จากนั้นสรรเสริญนางปารวตี ต่อจากนั้นจึงกล่าวถึงรายพระนามพระราชาแห่งอาณาจักรจานาศปุระ คือ พระราชาองค์แรกทรงพระนามว่าภคทัตต์ ผู้ที่สืบต่อลงมาจากพระเจ้าภคทัตต์องค์หนึ่งทรงพระนามว่า สุนทรปรากรม พระเจ้าสุนทรปรากรมทรงมีโอรสทรงพระนามว่า สุนทรวรมัน พระเจ้าสุนทรวรมันทรงมีโอรส 2 องค์องค์พี่ทรงนามว่านรปติสิงหวรมัน ได้เสด็จขึ้นครองราชย์แห่งอาณาจักรศรีจานาศะ องค์น้องทรงนามว่า มงคลวรมัน ได้โปรดให้สร้างจารึกหลักนี้เพื่อฉลองการสร้างพระรูปพระชนนีเป็นพระราชเทวี คือ ชายาของพระศิวะ เมื่อศักราช 859 (พ.ศ. 1480) ส่วนจารึกด้านที่ 2 นั้น เป็นรายชื่อของทาส |
จารึกศรีจานาศะ, อย. 12, อย. 12, หลัก 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา, หลัก 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา, พ.ศ. 1480, ม.ศ. 859, พ.ศ. 1480, ม.ศ. 859, พุทธศักราช 1480, มหาศักราช 859, พุทธศักราช 1480, มหาศักราช 859, ศิลา, รูปใบเสมา, เทวสถาน, สะพานชีกุน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ขอมสมัยพระนคร, พระศังกร, พระศิวะ, พระหิมวัต, พระหระ, พระคุหะ, พระสกันทกุมาร, พระขันทกุมาร, พระกาม, กามเทพ, พระศรี, พระเทวี, ประติมากรรมพระมารดา,ธิดา, ภคทัตต์, ศรีสุนทรปรากรม, ศรีสุนทรวรมัน, มงคลวรมัน, ศรีนรปติสิงหวรมัน, พระมารดา, โอรส, โฆ, ควาล, ไตยศ, พระราชาราย, บูรพะ, จัก, สำอุย, ควาล, ขสาย, กำบิด, กันอิน, กันสุน, กำพี, กำวี, กันยาล, กันเลส, กำไพ, กำไว, เถลิม, กันเรา, ปันสวำ, พรรัด, วรรัด, พรรัต, วรรัต, กันลาง, กันเทง, ธรรม รันโนจ, กำพิด, ปันทัน, พระหิ, ทังหวน, กับเกบ, ขนัน, ขญุ ํ, พระ, ข้าพระ, ชวิก, กันธิ, กันอัส, ทรัพย์สมบัติ, จานาศปุระ, ศรีจานาศะ, ศรีจนาศะ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, กัลปนา, การถวายข้าทาส, พระเนตร, มวยพระเกศา, มวยผม, กลีบดอกไม้สวรรค์, ดวงจันทร์, รัศมี, ศิลป, กลา, กะลา, ราชวงศ์, ฟ้า, อวัยวะ, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, The Journal of the Siam Society XXXV, ยอร์ช เซเดส์, “หลักที่ 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา,” แปลโดย ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1480, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-นางปารวตี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีจานาศะ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าภคทัตต์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าสุนทรปรากรม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าสุนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้านรปติสิงหวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้ามงคลวรมัน, บุคคล-พระเจ้าภคทัตต์, บุคคล-พระเจ้าสุนทรปรากรม, บุคคล-พระเจ้าสุนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้านรปติสิงหวรมัน, บุคคล-พระเจ้ามงคลวรมัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1480 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/313?lang=th |
8 |
จารึกวัดเสมาเมือง |
หลังปัลลวะ |
ด้านที่ 1 เนื้อความตอนต้นเป็นการสรรเสริญความยิ่งใหญ่ของพระเจ้ากรุงศรีวิชัย ช่วงต่อมากล่าวถึงพระบรมราชโองการให้พระเถระนามว่าชยันตะ สร้างปราสาทอิฐ 3 หลัง เพื่อถวายให้เป็นที่ประทับแด่พระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และ พระโพธิสัตว์วัชรปาณี ต่อมาเมื่อชยันตเถระมรณภาพ ลูกศิษย์ของท่านคืออธิมุกติเถระ ได้สร้างปราสาทอิฐขึ้นอีก 2 หลัง ใกล้ๆ กัน ส่วนด้านที่ 2 นั้น กล่าวว่า พระเจ้ากรุงศรีวิชัยพระองค์นี้ พระนามว่า “ศรีมหาราชา” เป็นมหากษัตริย์ในไศเลนทรวงศ์ ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งปวง เปรียบได้ดั่งพระวิษณุองค์ที่ 2 |
จารึกวัดเสมาเมือง, หลักที่ 23 ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง, หลักที่ 23 ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง, นศ. 9, นศ. 9, พ.ศ. 1318, ม.ศ. 697, พุทธศักราช 1318, มหาศักราช 697, พ.ศ. 1318, ม.ศ. 697, พุทธศักราช 1318, มหาศักราช 697, ศิลา, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเสมาเมือง, ตำบลเวียงศักดิ์, จังหวัดนครศรีธรรมราช, ศรีวิชัย, พระพรหม, พระมนู, อาทิตย์, พระวิษณุ, พระศิวะ, พระอินทร์, พระเจ้ากรุงศรีวิชัย, พระมุนี, พระโพธิสัตว์, พระยามาร, พระชินราช, พระชินะ, พระราชสถวิระ, อธิมุกติ, ศรีวิชเยนทรราชา, พระราชาสามนต์, พระราชาศรีวิชเยนทร, ชยันตะ, เทวราช, พระราชาคณะ, ต้นมะม่วง, ต้นพิกุล, พระยานาค, ปลาอานนท์, แก้วมุกดา, เพชร, พลอย, นาค, วชิระ, ทยา, แก้วมณี, ลูกศร, ไฟ, จินดามณี, หิมาลัย, ปราสาท, พระเจดีย์, พุทธศาสนามหายาน, พระคุณประสิทธิ, วินัยคุณ, เศารยคุณ, สรุตคุณ, ศมคุณ, กษมาคุณ, ไธรยคุณ, ตยคคุณ, ทยุติคุณ, มติคุณ, ทยคุณ, พระธรรม, ปทุมปาณี, วัชรปาณี, ไตรโลก, นยะ, วินยะ, เศารัยะ, ศรุตะ, ศมะ, กษมา, ไธรัยยะ, ตยาคะ, ทยุติมติ, อมตบท, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ยอร์ช เซเดส์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1318, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีวิชัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีวิชัย-ศรีมหาราชา, บุคคล-พระเจ้ากรุงศรีวิชัย, บุคคล-ศรีมหาราชา, บุคคล-ชยันตะ, บุคคล-อธิมุกติเถระ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศักราช 1318 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/323?lang=th |
9 |
จารึกพันดุง |
หลังปัลลวะ |
ข้อความจารึกสองบรรทัดแรกกล่าวถึง ความนอบน้อมต่อพระศิวะ อันเป็นที่เคารพสักการะของผู้นับถือศาสนาพราหมณ์ สองบรรทัดต่อไปกล่าวถึงท่านผู้เป็นปราชญ์ คงหมายถึงพระศรีวัตสะ เพราะมีการระบุนามอย่างชัดเจนในสองบรรทัดต่อไป ได้สร้างรูปพระหริหระประทับที่ภูเขาซึ่งมีกระแสน้ำไหลแรง คงหมายถึง ภูเขาที่มีน้ำตก ไว้ประจำอาศรม พร้อมเทวรูปอื่นๆ สองบรรทัดที่สาม พระศรีวัตสะได้ถวายวัตถุสิ่งของ เครื่องอุปโภคบริโภค ให้แก่อาศรม พร้อมทั้งมอบประชาชนจำนวนหนึ่ง ให้เป็นผู้ดูแลรับใช้ในอาศรมด้วย ในสองบรรทัดเดียวกันนี้ ได้กล่าวถึงเหล่าพระมุนีทั้งหลายได้สร้างอาศรมไว้ เพราะมีน้ำบริบูรณ์ ทั้งได้สร้างรูปพระสุคตไว้ในอาศรมตามความคิดของฤษี สองบรรทัดที่สี่กล่าวถึงพราหมณ์ศรีธีธรรมาตกะ และสวามีศรีศิญชระ ได้ฝึกฝนในการบำเพ็ญตบะและการเจริญโยคสมาธิ สองบรรทัดสุดท้ายซึ่งมีความสำคัญมาก จารึกได้กล่าวถึงการสร้างพระสุคตประติมา ไว้ในเมือง ข้อความต่อไปในบรรทัดเดียวกันนี้ อักษรจารึกชำรุดหายไป จึงไม่ทราบว่าใครเป็นผู้สร้างพระสุคตประติมา จะเป็นพระศรีวัตสะ พระมุนี พราหมณ์ศรีธีธรรมาตมกะ หรือสวามีศรีศิญชระ และในเมืองนี้ ก็มิอาจทราบได้ว่าเป็นเมืองอะไร เพราะอักษรชำรุดดังกล่าว บรรทัดสุดท้ายของจารึก ระบุวัน เดือน ปี ที่สร้างพระสุคตประติมาไว้ในเมือง ว่าเป็นวันเสาร์ เดือน 1 ขึ้น 8 ค่ำ ปีศักราช 751 (พ.ศ. 1372) |
จารึกพันดุง, จารึกพระศรีวัตสะสร้างเทวรูป อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต, นม. 38, นม. 38, พ.ศ. 1372, ม.ศ. 751, พุทธศักราช 1372, มหาศักราช 751, พ.ศ. 1372, ม.ศ. 751, พุทธศักราช 1372, มหาศักราช 751, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านพันดุง, ตำบลพันดุง, อำเภอขามทะเลสอ, จังหวัดนครราชสีมา, เจนละ, พระศิวะ, สุรสุรคุรเว, เทวะ, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระนางปารวตี, พระนางปารวดี, พระวิษณุ, พระมุนี, พระหริหระ, พระสุคตประติมา, พระราหู, นรชน, พระวัตสะ, สุพรหมฤษี, พราหมณ์, ศรีธีธรรมาตมกะ, สวามี, ศรีสิญชระ, โค, ช้าง, ม้า, ตรีศูล, ทองคำ, เครื่องอุปโภคบริโภค, พราหมณ์, ฮินดู, ปัญญา, ตปะ, ตบะ, โยค, สมาธิ, อาศรม, การสร้างเทวรูป, ที่ดิน, มนต์วิทยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1372, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาศรม, บุคคล-พระศรีวัตสะ, บุคคล-พราหมณ์ศรีธีธรรมาตกะ, บุคคล-สวามีศรีศิญชระ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563) |
พุทธศักราช 1372 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/974?lang=th |
10 |
จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 |
ขอมโบราณ |
ได้กล่าวถึงการอุทิศที่ดินซึ่งประกอบด้วยอาศรมแห่งเดียว หรือหลายแห่ง และทาสหญิงชายตามพระราชโองการของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 จากนั้นได้กล่าวถึงขอบเขตของที่ดินซึ่งเป็นสถานที่อุทิศในคราวนี้ |
จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ปจ. 10, ปจ. 10, Stele Provenant de la Province de Prachinburi, (K. 991), พ.ศ. 1551, พุทธศักราช 1551, พ.ศ. 1551, พุทธศักราช 1551, ม.ศ. 930, มหาศักราช 930, ม.ศ. 930, มหาศักราช 930, ศิลา, รูปใบเสมา, จังหวัดสระแก้ว, ขอมสมัยพระนคร, ลักษมี, ศรีสูรยวรมัน, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ทาสชาย, ทาสหญิง, กํเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรรมเทพ, กำเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีนรปตีนทรวรมัน, โขลญสำดับ, เชษฐา, พระราชินี, ปิตุลา, บุรุษ, มารดา, วิษัย, วรีหะ, เปรียง, โขลญมุข, โขลญพลชระเลียง, สตุกกัด, หมู่บ้านกันตวรสันโตมะ, ตระพังกุเรก, ตรีณิ, หมู่บ้านตูเรีย, สำโรง, ตระพังตันโนด, ไพรกันโลง, พราหมณ์, ฮินดู, อาศรม, นฤปตีนทราลัย, การถวายทาส, การถวายที่ดิน, กัลปนา, การบริจาคทรัพย์, การบูชา, ศีลธรรม, พระราชโองการ, ที่ดิน, สวนผลไม้, พระสภาสัด, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ยอร์ซ เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1551, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1551 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/393?lang=th |
11 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3 |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 กล่าวถึงพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 ที่ทรงเสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติในประเทศกัมพูชาเมื่อปี พ.ศ. 1487 พระองค์ทรงถวายเพดาน ทรงสร้างสระน้ำ ทรงทำกองอิฐ และทรงถวายอาศรมพร้อมทาสและสิ่งของต่างๆ แด่เทวสถาน ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ตามด้วยรายการสิ่งของและรายชื่อทาสที่พระองค์ทรงถวายแด่เทวสถาน ด้านที่ 3 กล่าวถึงพวกโขลญที่ได้ซื้อที่ดินให้แก่ผู้เป็นประภูวิษัยต่างๆ นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึงการถวายทาสและสิ่งของแด่เทวสถานไว้ด้วย |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3, บร. 18, บร. 18, พ.ศ. 1487, พุทธศักราช 1487, พ.ศ. 1487, พุทธศักราช 1487, ม.ศ. 866, มหาศักราช 866, ม.ศ. 866, มหาศักราช 866, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, กัมรเตงชคต, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ราชาบดี, กัมรเตงอัญศรีชัยวรมันเทวะ, กัมรเตงอัญศรีชัยวรรมเทวะ, กัมรเตงอัญศรีชัยวรมเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, สิ, ไต, วาบ, บัณฑิต, พระราชา, ข้าศึก, ราชาธิบดี, นักรบ, ทาส, กันลาง, กันโส, บังคม, กัญชาน, กำพราม, ปันโส, พรหม, สนุม, ไต, ชะเนา, กำบิด, กำ, จำโบก, กำบิน, เถนม, จามป์, ภัทระ, กัญชา, กำไพ, กำไว, สำอบ, ชาส, กัญชุ, ประยงค์, กันลาง, ทร, เพรา, ศรีครรภะ, นน, นัน, บรยศ, ประภูวิษัย, โขลญพล, โขลญวิผะ, โขลญวิษัย, ราชสีห์, พระยาราชสีห์, ม้า, น้ำนม, ทรัพย์, วัตถุ, เครื่องประดับ, ทองคำ, เพดานแดง, กองอิฐ, ภาชนะ, เครื่องดนตรี, ขันเงิน, กัมพูชา, พนมรุ้ง, พนมรุง, วิชัยบุรี, สนามรบ, สระน้ำ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, กุติ, เทวสถาน, อาศรม, การถวายเพดาน, การถวายสิ่งของ, การถวายข้าทาส, การบูชา, กัลปนา, รัฐประสาสนศาสตร์, มรดก, ราชอาณาจักร, คุณธรรม, เมฆ, ฝน, ทิศ, ยุติธรรม, ความรัก, ไฟ, ดวงจันทร์, พระบาท, สมาคม, อากาศ, พระวรกาย, สงคราม, วสันตฤดู, การรบ, แสงอาทิตย์, ที่ดิน, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, บุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/400?lang=th |
12 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 1 |
หลังปัลลวะ |
เป็นจารึกที่กล่าวถึงบุคคลหนึ่งได้สร้างวัตถุขึ้นมาเพื่อผลบุญของท่าน ตามคำแนะนำของนักบวช |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 1, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 1, บร. 8, บร. 8วัตถุจารึก: ศิลา, หินทรายสีเทา, สี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพนมรุ้ง, ตำบลตาเป๊ก, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, จังหวัดบุรีรัมย์, เจนละ, นักพรต, พระนคร, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย, |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 13-14 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/915?lang=th |
13 |
จารึกบ้านซับบาก |
ขอมโบราณ |
ข้อความจารึกเป็นการกล่าวแสดงความคารวะต่อพระพุทธเจ้า และบรรดาศาสดาจารย์ทั้งหลาย ทั้งในพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ฮินดู |
จารึกบ้านซับบาก, จารึกบ้านโคกสะแกราช, นม. 39, นม. 39, พ.ศ. 1609, ม.ศ. 988, พ.ศ. 1609, ม.ศ. 988, พุทธศักราช 1609, มหาศักราช 988, พุทธศักราช 1609, มหาศักราช 988, หินทรายสีเขียว, รูปใบเสมา, บ้านโคกสะแกราช, บ้านโคกสะแกราช, ตำบลสะแกราช, อำเภอปักธงชัย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระพรหม, พุทธศรีสมันตประเภศวร, พระพุทธโลเกศวร, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีอุทยาทิตยวรมเทวะ, พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีอุทยาทิตยวรมันเทวะ, พระพุทธเจ้า, พระพัชรสัตยะ, สัมโพธิสัตวะ, ทาส, พระศรีสมาชะ, ชยันตรปุรนาม, พระชินะ, ครู, นักปราชญ์, พระศรีศักติ, พระกีรติ, กัมรเตงศรีสัตยวรมัน, กัมรเตงอัญคุรุธรณีนทรปุรชิราโณทธรณะ, น้ำอมฤต, เมืองฉปารรันสิ, กัมพูชา, ภควัตจุงวิศ, ภควัตจัมปาทะ, สถลาสวาย, ภควัตธรณีนทรปุร, พระธนู, อภัยคีรี, ชวา, สรุกเขมร, พุทธศาสนามหายาน, การสวดมนต์, การสวดบูชา, งานบูชาพระสุคต, การประดิษฐานเทวรูป, การสถาปนาเทวรูป, พุทธะ, อาธาระ, บาท, อภิวาท, ธรรมะ, ทรัพย์, สิทธานตะ, กาศิกาวยะ, โยคะ, เตงปาสันคะ, โลก, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ.1609, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทพนมรุ้ง บุรีรัมย์, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจ 20 มกราคม 2563) |
พุทธศักราช 1609 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1220?lang=th |
14 |
จารึกบ่ออีกา |
หลังปัลลวะ |
ด้านที่ 1 กล่าวถึงสัตว์และทาสที่พระราชาแห่งศรีจนาศะถวายแก่พระสงฆ์ ด้านที่ 2 เริ่มต้นด้วยการกล่าวสรรเสริญพระศิวะ แล้วกล่าวยกย่องอังศเทพซึ่งเป็นผู้สร้างศิวลึงค์นี้ |
จารึกบ่ออีกา, นม. 24, นม. 24, K. 400, Stele de Bo Ika, พ.ศ. 1411, พ.ศ. 1411, ม.ศ. 790, ม.ศ. 790, พุทธศักราช 1411, พุทธศักราช 1411, มหาศักราช 790, มหาศักราช 790, ศิลา, หินทรายสีแดง, หลักสี่เหลี่ยม, บ้านบ่ออีกา, ตำบลบ่ออีกา, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, เจนละ, อสูร, ศิวลึงค์ทอง, อังศเทพ, อังศเทวะ, พระภิกษุสงฆ์, ทาส, กลิ, อนงค์, กัญชิบ, จเก, ศเวตรักต์, กฤส, มฤทุ, มาธวะ, บำบิด, ลังคาย, ศิวตุงค์, โบก, ธนัญชัย, เจทา, ยุวดี, มโนหระ, มโนหรี, มโนวัทธ, มธูร, สมร, อวลา, สุรภิสัตว์: กระบือ, โค, วัว, ควายสิ่งของ: ธง, กัมวุเทศ, กัมพุเทศ, ศรีจนาศะ, ศรีจานาศะ, พุทธศาสนา, พราหมณ์, ฮินดู, พระสัมมาสัมโพธิญาณ, อาตมัน, การกัลปนาข้าทาส, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, โบราณคดี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่หน่วยศิลปากรที่ 6 นครราชสีมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-อังศเทพ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สร้างพระศิวลึงค์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ, บุคคล-อังศเทพ, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) |
พุทธศักราช 1411 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/332?lang=th |
15 |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง |
ขอมโบราณ,กวิ |
กล่าวถึงเจ้าเมืองครหิ ได้รับพระราชโองการจากพระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะให้หล่อพระพุทธรูปนี้เมื่อ พ.ศ. 1726 |
กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ศาสนาพุทธ, สรรเพ็ชญาณ, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ตลาไน, คลาไน, มรเตงศรีญาโน, กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, ครหิ, ปฏิมากร, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, สฎ. 9, สฎ. 9, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, วิหารวัดเวียง ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปนาคปรก, เถาะนักษัตร, กัมรเดงอัญมหาราช ศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษณวรรมเทวะ, เชฏฐมาส, วันพุธ, มหาเสนาบดีตลาไน, เมืองครหิ, มรเตง ศรีญาโน, พระพุทธรูปปฏิมากร, ภาระ, ตุละ, ทองคำ, สรรเพ็ชญาณ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1859, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองครหิ, บุคคล-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศักราช 1726 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/505?lang=th |
16 |
จารึกดงแม่นางเมือง |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เนื้อความอ้างถึงพระเจ้าอโศกมหาราช รับสั่งให้พระเจ้าสุนัตถวายที่นา เพื่อบูชาพระธาตุ ด้านที่ 2 กล่าวถึงรายการและจำนวนของถวาย ของพระเจ้าศรีธรรมาโศก ที่ถวายแด่พระเจ้าศรีธรรมาโศกในพระบรมโกศ จากนั้นกล่าวถึงการถวายที่นาของพระเจ้าสุนัต ที่ถวายแด่พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชในพระบรมโกศเช่นกัน ตอนท้ายได้บอกกำหนดเขตของที่นานั้นด้วย |
จารึกดงแม่นางเมือง, นว. 1, นว. 1, Dong Me Nang Muong, K. 966, หลักที่ 35 ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง, หลักที่ 35 ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง, บ้านดงแม่นางเมือง, พ.ศ. 1710, ม.ศ. 1089, พ.ศ. 1710, ม.ศ. 1089, พุทธศักราช 1710, มหาศักราช 1089, พุทธศักราช 1710, มหาศักราช 1089, ศิลา, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, ดงแม่นางเมือง, ตำบลบางตาหวาย, อำเภอบรรพตพิสัย, จังหวัดนครสวรรค์, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีธรรมาโศก, กมรเตงชคต, กัมรเตงชคต, กมรเตงชคัต, กัมรเตงชคัต, พระเจ้าอโศกมหาราช, พระเจ้าสุนัต, กรุงศรีธรรมาโศก, ศรีภูวนาทิตย์อิศวรทวีป, กรุงสุนัตยศ, มหาราชาธิราช, ข้าบาทมูล, มหาเสนาบดี, ช้าง, ม้า, นาคล สิ่งสักการะ, พาน, ถ้วยเงิน, สีวิกา, พระบูชา, ข้าวสาร, ธานยปุระ, คลองหมูแขวะ, ชรูกเขวะ, ธานยปุระ, ฉทิง, คลอง, บางฉวา, ฉทิงชรูกแขวะ, โสรงขยำ, นาตรโลม, นาทรกง, คลองเปร, ศรก, บึงสดก, กํติง, กำติง, ศรุก, เขต, พุทธศาสนา, การถวายที่นา, กัลปนา, พระสรีรธาตุ, พระธาตุ, พระราชโองการ, บัญชี, วรรณ, เดือน 3, เดือน 3, วันอาทิตย์, บูรพาษาฒ, ที่นา, บูรพา, ปัศจิม, อาคเนย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1710, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, บุคคล-พระเจ้าอโศกมหาราช, บุคคล-พระเจ้าสุนัต, บุคคล-พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1710 |
บาลี,เขมร,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/489?lang=th |