ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 18
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 (พ.ศ.1701-1800) จารึกที่พบมีอักษรขอมโบราณ อักษรมอญโบราณ และอักษรกวิไม่กี่หลักเท่านั้น
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเมืองพิมาย |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 ชำรุด ไม่ทราบใจความ ด้านที่ 3 ข้อความซีกซ้ายชำรุด ข้อความซีกขวากล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ส่วนใหญ่เป็นรายชื่อสมุนไพร ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ต่อจากด้านที่ 3 จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้ |
จารึกเมืองพิมาย, นม. 17, นม. 17, Pimay, Phimay, K. 952, ศิลาจารึกเมืองพิมาย, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, อำเภอพิมาย, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ ศรีชัยวรมัน, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระกฤษณะ, พระลักษมี, พระกีรติ, กามเทพ, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, เทพธิดา, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, ศรีธรณีนทรวรมัน, ศรีธรณินธรวรมัน, พระราชสิงหะ, ศัตรู, สตรียศ, มนตรี, ผู้ปกครองเจ้าหน้าที่, โค, วัว, เหลือบ, ดอกบัว, รัตนะ, เครื่องประดับ, ทาน, เครื่องสังเวย, น้ำอมฤต, ภิกษา, เครื่องแต่งตัว, ผ้า, เทียนไข, น้ำมัน, เนยใส, โอสถ, บุนนาค, ถั่ว, การบูร, พริก, ผักทอดยอด, ใบไม้, ต้นไม้, จตุรเฉท, เปลือกไม้, น้ำผึ้ง, ตำลึง, เสื้อยาว, ภาชนะดีบุก, ข้าวสาร, กฤษณา, ยางเส้น, ขี้ผึ้ง, เครื่องอุปโภค, กัมพุ, โมกษปุระ, ชยาทิตยปุระ, มหาสมุทร, โรงพยาบาล, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนามหายาน, นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, อุเบกขา, อินทรีย์, บุญ, ภพ, กุศล, โมกษะ, อกุศล, วิหาร, อโรคยศาลา, อโรคยาศาลา, การสร้างโรงพยาบาล, การสร้างอโรคยศาลา, การสร้างอโรคยาศาลา, พระเวท, เภษัช, กลียุค, โรค, พระจันทร์, บาท, แผ่นดิน, พระอาทิตย์, ภาษี, กลางวัน, กลางคืน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, อายุ-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเครื่องพลีทาน, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (บันทึกข้อมูลวันที่ 11 พฤศจิกายน 2563) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/453?lang=th |
2 |
จารึกเชิงเทียนสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า เชิงเทียนอันนี้เป็นของที่พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมัน (ชัยวรมันที่ 7) ถวายแด่พระอาโรคยสาล (อโรคยาศาลา) ในมหาศักราช 1115 |
จารึกเชิงเทียนสัมฤทธิ์, ปจ. 23, ปจ. 23, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, พ.ศ. 1736, พ.ศ. 1736, พุทธศักราช 1736, พุทธศักราช 1736, ม.ศ. 1115, ม.ศ. 1115, มหาศักราช 1115, มหาศักราช 1115, สัมฤทธิ์, เชิงเทียน, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระไทยธรรม, ตำบลสังโวก, ตำบลสังโวกต, ตำบลสังโวกต์, อาโรคยสาล, อโรคยาศาลา, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรกัมพูชา, จารึกอักษรขอมโบราณ, จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อาณาจักรกัมพูชาสมัยเมืองพระนคร, จารึกพบที่โบราณสถานหมายเลข 11, จารึกพบที่ปราจีนบุรี, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, จารึกภาษาเขมร, จารึก พ.ศ. 1736, อายุ-จารึก พ.ศ. 1736, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนเชิงเทียน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1736 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/451?lang=th |
3 |
จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 3 |
มอญโบราณ |
กล่าวถึงพระอรหันต์ นามว่า ภัททิยะ ซึ่งเป็นมหาสาวกองค์หนึ่งในจำนวน 80 องค์ เดิมเป็น กษัตริย์ศากยวงศ์ โอรสของนางกาฬิโคธา เมื่อเจริญวัยขึ้นได้ครองครองราชย์สมบัติทรงพระนามว่า “พระเจ้าภัททิยราชา” ต่อมาได้สละราชสมบัติ แล้วออกบวชพร้อมกับพระเจ้าอนุรุทธะผู้เป็นพระสหาย พระองค์ได้สำเร็จอรหัตตผล และเป็นเอตทัคคะภิกษุผู้มาจากตระกูลสูง |
จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 3, จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 3, 24/2523, 24/2523, ดินเผา, พระพิมพ์, อำเภอสารภี, จังหวัดเชียงใหม่, หริภุญไชย, ภัททิยะเถระ, พระอรหันต์, มหาสาวก, พุทธศาสนา, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Christian Bauer, The Journal of the Siam Society LXXIX, มหามงกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระสูตรและอรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 8 ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17-18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-ภัททิยะ, บุคคล-ภัททิยะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี |
พุทธศตวรรษ 17-18 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/558?lang=th |
4 |
จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 2 |
มอญโบราณ |
กล่าวถึงพระอรหันต์ นามว่า ปิณโฑลภารทวาชเถระ ซึ่งเป็นพระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร ในกรุงราชคฤห์ เมื่อเรียนจบไตรเพทแล้วออกบวชในพระพุทธศาสนา จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ที่บริบูรณ์ด้วยสติ สมาธิ ปัญญา เป็นเอตทัคคะในทางบันลือสีหนาท คือ เปล่งออกมาด้วยความมั่นใจในอรหัตผลที่บรรลุ เนื่องจากท่านได้ประกาศอย่างองอาจว่า หากผู้ใดมีความสงสัยในเรื่องของมรรคผล นิพพานให้ถามท่านได้ นอกจากนี้ยังมีอิทธิฤทธิ์ และความสามารถในการแสดงธรรมเป็นเลิศ |
จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 2, จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 2, 23/2523, 23/2523, ดินเผา, อำเภอสารภี, จังหวัดเชียงใหม่, หริภุญไชย, พระพิมพ์, ปิณโฑลภารทวาชเถระ, พระอรหันต์, มหาสาวก, พุทธศาสนา, เอตทัคคะ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Christian Bauer, The Journal of the Siam Society LXXIX, มหามงกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, มหามงกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระสูตรและอรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 8 ภาคที่ 1, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17-18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-ปิณโฑลภารทวาชเถระ, บุคคล-ปิณโฑลภารทวาชเถระ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี |
พุทธศตวรรษ 17-18 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/560?lang=th |
5 |
จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 1 |
มอญโบราณ |
กล่าวถึงพระโชติยะเถระ ด้วยความเคารพ |
จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 1, จารึกอักษรมอญโบราณบนพระพิมพ์ 1, พระพิมพ์ พบที่ อำเภอสารภี, 23/2523, 23/2523, The inscription on third tablet from the Los Angeles County Museum of Art, ดินเผา, พระพิมพ์, อำเภอสารภี, จังหวัดเชียงใหม่, หริภุญไชย, โชติยตฺเถร, โชติยเถระ, โชติยะ, พุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, Robert L. Brown, Arts of Asia XV, The Journal of the Siam Society LXXIX, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17-18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระโชติยะเถระ, บุคคล-พระโชติยะเถระ |
Los Angeles County Museum of Art |
พุทธศตวรรษ 17-18 |
มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/562?lang=th |
6 |
จารึกหลังพระพุทธรูปนาคปรก |
ขอมโบราณ |
บันทึกไว้ว่าศรจมัทยาหินได้เป็นผู้ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิไว้ที่ต้นโพธิ์ (พระศรีมหาโพธิ) |
จารึกหลังพระพุทธรูปนาคปรก, ลบ. 13, ลบ. 13, Lopburi, K. 995, หลักที่ 36 จารึกด้านหลังพระพุทธรูปนาคปรก, หลักที่ 36 จารึกด้านหลังพระพุทธรูปนาคปรก, พ.ศ. 1756, ม.ศ. 1135, พ.ศ. 1756, ม.ศ. 1135, พุทธศักราช 1756, มหาศักราช 1135, พุทธศักราช 1756, มหาศักราช 1135, ศิลา, พระปฤษฎางค์พระพุทธรูปนาคปรกไม่มีพระเศียร, บริเวณศูนย์การทหารราบ, ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช, อำเภอเมือง, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระพุทธสมาธิ, พระพุทธรูปปางสมาธิ, พระศกจันทสวารัตน์, ศรัจมัทยาหิน, ศรจมัทยาหนิ, ศรัจมัทยาหนิ, ศรีมหาโพธิ์, พระศรีมหาโพธิ, พุทธศาสนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1756, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่หลังพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-ศรจมัทยาหิน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศักราช 1756 |
สันสกฤต,เขมร,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/487?lang=th |
7 |
จารึกสุรินทร์ 2 |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปพระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต พร้อมด้วยรูปพระชิโนรสทั้งสอง ด้านที่ 3 กล่าวถึงการจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล แล้วกล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน |
จารึกสุรินทร์ 2, จารึกสุรินทร์ 2, สร. 6, สร. 6, จารึกปราสาทหินจอมพระ, ศิลาลักษณะ, หลักสี่เหลี่ยม, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, พระชิโนรส, พระสุคต, พระชินะ, พระพุทธเจ้า, ศรีชยวรมเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, ประชาชน, โอรส, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, ศัตรู, ราษฏร, แพทย์, สตรี, บุรุษ, เครื่งบูชาเทวรูป, เครื่องบูชาเทพเจ้า, เครื่องพลีทาน, เทียนขี้ผึ้ง, เทียนไข, เครื่องนุ่งห่ม, อาหารโค, อาหารวัว, ราชา, เจ้าเมือง, ดอกบัว, เครื่องประดับ, อาวุธ, ข้าวสาร, อโรคยาศาลา, โรงพยาบาล, เชิงเขา, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหาร, อายุรเวท, อัสตรเวท, เภษัช, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, อาตมัน, รัศมี, ราชสมบัติ, พระจันทร์, ท้องฟ้า, พระเวท, พระบาท, โรค, ร่างกาย, ดวงจันทร์, พระหฤทัย, พระวรกาย, สถิติ, วันเพ็ญ, เดือนไจตระ, ปละ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, “จารึกสุรินทร์ 2,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์, เรื่อง-การสรรเสริญบุุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างโรงพยาบาล, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ ตำบลเฉนียง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ (สำรวจ 2 ธันวาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/483?lang=th |
8 |
จารึกสังข์สัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่าสังข์อันนี้เป็นของถวายจากพระวรโลง (?) |
จารึกสังข์สัมฤทธิ์, ปจ. 22, ปจ. 22, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, สัมฤทธิ์, รูปสังข์, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, พระวรโลง, พระไทยธรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูปสังข์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-พระวรโลง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศตวรรษ 18 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/449?lang=th |
9 |
จารึกวิหารโพธิ์ลังกา |
มอญโบราณ |
บรรยายถึงความสง่างามของพญานาค 2 ตัวที่กำลังแสดงความเคารพต่อพระอาทิตย์ และมีการกล่าวถึงภาพบ้านเมืองที่อยู่ในเบื้องซ้าย |
จารึกวิหารโพธิ์ลังกา, นศ. 2, น.ศ. 2, ศิลาจารึกวิหารโพธิ์ลังกา, หินทราย, ใบเสมา, วิหารโพธิ์ลังกา, วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร, จังหวัดนครศรีธรรมราช, หริภุญชัย, พญานาค, พัดใบตาล, เศียร, พังพาน, ป่า, พระอาทิตย์, เกล็ด, บ้านเมือง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, จำปา เยื้องเจริญ, ,จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18-19, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรหริภุญชัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พญานาค |
วิหารโพธิ์ลังกา วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช วิหารโพธิ์ลังกา วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช |
พ.ศ. 1775-1825 |
มอญโบราณ,พม่าโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/556?lang=th |
10 |
จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 2 |
ขอมโบราณ,กวิ |
เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า จากนั้นกล่าวถึงการบริจาคทานของกลุ่มบุคคลที่มาชุมนุมกัน |
พระชินะ, ชินะ พระพุทธเจ้า พุทธศาสนา พระพุทธศาสนา สังกัสสนคร สังกัสนคร, ธรรมราชา, บริษัท, พระนาถ นาถ, ศิลา ประเภทหินชนวน, สี่เหลี่ยม, สฎ. 3, สฎ. 3, หลักที่ 24 (ก.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, หลักที่ 24 (ก.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 2, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 2, วัดเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 18 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/509?lang=th |
11 |
จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 1 |
ขอมโบราณ,กวิ |
กล่าวถึง พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช ผู้ครองเมืองตามพรลิงค์ และสืบตระกูลจากปทุมวงศ์ ว่าทรงเป็นกษัตริย์ที่สนับสนุนพระพุทธศาสนา ทรงมีรูปงาม และทรงเชี่ยวชาญในนิติศาสตร์ |
ตามพรลิงค์, ตามพฺรลิงค์, พระพุทธศาสนา, พุทธศาสนา, ปทุมวงศ์, กามะ, พระจันทร์, จันทร์, นีติศาสตร์, นิติศาสตร์, พระธรรมาโศกราช, ธรรมาโศกราช, ศรีธรรมราช, พระอาทิตย์, อาทิตย์, จันทรภานุ, กลียุค, พุทธศักราช 1774, พุทธศักราช 1774, พ.ศ. 1774, พ.ศ. 1774, ศิลา, ประเภทหินชนวน, รูปใบเสมา, สฎ. 4, สฎ. 4, หลักที่ 24 (ข.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, หลักที่ 24 (ข.) ศิลาจารึกวัดหัวเวียง เมืองไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกที่ 24 จารึกที่วัดหัวเวียง อำเภอไชยา, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 1, จารึกวัดหัวเวียงเมืองไชยา 1, วัดเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี, กลียุคศักราช 4332, กลียุคศักราช 4332, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1774, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรตามพรลิงค์-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองตามพรลิงค์, บุคคล-พระเจ้าจันทรภานุศรีธรรมราช, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศักราช 1774 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/507?lang=th |
12 |
จารึกวัดกู่บ้านหนองบัว |
ขอมโบราณ |
ข้อความที่ปรากฏในชิ้นส่วนของจารึกนี้ เป็นการยอพระเกียรติพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ว่า พระองค์ได้ชนะในการทำสงคราม ได้ขยายอาณาจักรออกไปกว้างขวางจนเป็นเกียรติประวัติของพระองค์ อีกทั้งทรงมีพระเมตตา โอบอ้อมอารีบริจาคทาน เป็นที่รักใคร่ของประชาชนทั่วไป พระองค์มีรูปกายที่งดงามกว่ากามเทพ ได้บริหารประเทศให้เจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่ง |
จารึกวัดกู่บ้านหนองบัว, ชย. 6, ชย. 6, ศิลา, วัดกู่บ้านหนองบัว, จังหวัดชัยภูมิ. ขอมสมัยพระนคร. พระกฤษณะ, พระลักษมี, กามเทพ, พระกีรติ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, ศัตรู, สตรี, โค, วัว, ดอกบัว, รัตนะ, เครื่องสังเวย, พราหมณ์, ฮินดู, บาท, สงคราม, แผ่นดิน, โรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดกู่บ้านหนองบัว ชัยภูมิ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 |
ไม่ปรากฎข้อมูล (สำรวจข้อมูลเมื่อ 3 มีนาคม 2563) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/441?lang=th |
13 |
จารึกปราสาทเมืองสิงห์ |
ขอมโบราณ |
กล่าวนาม “พระยาไชยกร” |
จารึกปราสาทเมืองสิงห์, กจ. 4, กจ. 4, ศิลา, ประเภทหินทราย, ฐานประติมากรรมรูปสี่เหลี่ยม, บริเวณปราสาทเมืองสิงห์, ตำบลสิงห์, อำเภอไทรโยค, จังหวัดกาญจนบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระยาไชยกร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกที่ฐานประติมากรรม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกปราสาทเมืองสิงห์ กาญจนบุรี, บุคคล-พระยาไชยกร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
ปราสาทเมืองสิงห์ ตำบลสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี |
พุทธศตวรรษ 18 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/492?lang=th |
14 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 9 |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 กล่าวสรรเสริญพระครูนเรนทราทิตย์ ด้านที่ 2 กล่าวสรรเสริญหิรัณยะ ผู้สร้างและประพันธ์กาพย์ในศิลาจารึกหลักนี้ ด้านที่ 3 และด้านที่ 4 กล่าวสรรเสริญพระศิวะ |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 9, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 9, บร. 19, บร. 19, ศิลา, หินชนวนสีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, ภัทเรศวร, พระอิศวร, พระศัมภุ, พระศิวะ, พระอุมา, พระศารังคิน, เคารี, ขันธกุมาร, พระวิษณุ, นเรนทราทิตย์, นเรนทรารกะ, มนุษยโลก, หิรัณยะ, จันทรานารี, โยคี, มารดา, บุตร, จินตกวี, สตรี, มหากวี, พระผู้เป็นเจ้า, พระองค์ผู้สร้าง, นักปราชญ์, นเรนทรสูรย์ ยศตำแหน่ง: ครู สัตว์: งู, สิ่งของ: แพ, ชิงช้า, ชิงช้างาม, ยานใหญ่, รถ, งาช้าง, ชิงช้าสูง, ก้อนหิน, หิรัณย์, ผ้า, ทรัพย์สมบัติ, ปิ่น, ผลไม้, ใบไม้, อาหาร, ข้าว, น้ำ, ไข่, เครื่องประดับ สถานที่: นิทราคราม, แม่น้ำคงคา, เขาไกรลาส, สระ, ภูเขาใหญ่, ชิงช้าทอง, ราชคูหา, ห้องบำเรอไฟ, นิกายปาศุปัต, พราหมณ์, ฮินดู, สมาธิ, การบริจาคสิ่งของ, การถวายสิ่งของ, วิทยาสิทธิโยค, ไตรโลก, เทวโลก, พระจันทร์, โยคะ, พระพรหม, พิษ, เวทมนต์, การประพันธ์, คำประพันธ์, กระแสน้ำ, ลม, หัวใจ, ไฟ, วรรณะ, มลทิน, ดวงจันทร์, หทัย, กาม, สภาวะ, ร่างกาย, โยคะ, แสงจันทร์, ใบหน้า, วิชาความรู้, ภูต, ผี, เทวดา, พระนลาฏ, ดอกบัว, พระยุคลบาท, ดวงไฟ, ดวงอาทิตย์, พระโอษฐ์, ศัพท์, ศาสตร์, พรต, ลัทธิ, ศรุติ, สรรพวิทยา, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระครูนเรนทราทิตย์, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-หิรัณยะ, บุคคล-พระครูนเรนทราทิตย์, บุคคล-หิรัณยะ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 30/11/2563) Phimai National Museum, Nai Mueang Locality, Phimai District, Nakhon Ratchasima Province |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/463?lang=th |
15 |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 7 |
ขอมโบราณ |
กล่าวถึงพระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 สรรเสริญการกระทำอันกล้าหาญ และพระปรีชาของพระองค์ในด้านปรัชญา จากนั้นกล่าวถึงราชสกุลวงศ์ของพระองค์ อย่างไรก็ดี ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าข้อความในจารึกด้านที่ 3 นั้นสรรเสริญใครกันแน่ระหว่างพระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 กับพระครูนเรนทราทิตย์ |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 7, จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 7, บร. 1, บร. 1, Stele de Phnon Rung, K. 384, หลักที่ 120 ศิลาจารึกปราสาทพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์, หลักที่ 120 ศิลาจารึกปราสาทพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์, ศิลา, หินชนวนสีเทา, รูปใบเสมา, ปราสาทพนมรุ้ง, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, ขอมสมัยพระนคร, พระศรี, อาทิตย์, ลักษมี, พระพรหม, ตาบัว, พระนารายณ์, พระอิศวร, พระยม, ภูต บุคคล: หิรัณยวรมัน, หิรัณยครรภ์, พระนางหิรัณย, ศรียุพราช, ศรีชัยวรมเทพ, ศรีชัยวรมันเทวะ, หิรัณยลักษมี, ศรีธรณีนทรวรมัน, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, กษิตีนทราทิตย์, ศรีสูรยวรมัน, พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2, พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1, พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2, พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1, ภูปตีนทรลักษมี, นเรนทราทิตย์, ศรีสูรยลักษมี, วิชยารกเทพ, ศรีวิชยารก, หิรัณยะ, ศัตรู, พลทหาร, จอมทัพ, นางอัปสร, อาจารย์ประมุข, เทพยดา, ศิษย์, บุตร, บิดา สัตว์: ช้าง, ช้างฝึก, อาสนบัว, เสานาค, เศวตฉัตร, อาหาร, ลูกศร, ธนู, จักร, พระขรรค์, สายฟ้า, คัมภีร์โบราณ, ประติมากรรม, พราหมณ์, ฮินดู, พระธรรม, อวตาร, กษิตีนทรคราม, ทะเลสาบ, ศาสนสถาน, ถ้ำ, มหาสมุทร, สวรรค์, การบูชายัญ, การสรรเสริญ, ธูรชฏิ, อัษฏมูรติ, สุวรรณลิงเคศะ, อรรถกถามหาสมุทร, ไข่ทอง, ราชสกุลวงศ์, ดวงจันทร์, ท้องฟ้า, เครื่องบรรณาการ, พระเนตรที่ 3, พระเนตรที่ 3, หทัย, พระราชโองการ, อำนาจ, ดิน, เปลวไฟเอารวะ, ปัสสาวะ, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ยอร์ช เซเดส์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระครูนเรนทราทิตย์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2, บุคคล-หิรัณยะ, บุคคล-พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (บันทึกข้อมูลวันที่ 9/12/2563) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/458?lang=th |
16 |
จารึกปราสาททามจาน |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 ชำรุด ไม่ทราบใจความ ด้านที่ 3 ข้อความซีกซ้ายชำรุด ข้อความซีกขวากล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ส่วนใหญ่เป็นรายชื่อสมุนไพร ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ต่อจากด้านที่ 3 จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้ |
จารึกปราสาททามจาน, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, ตำบลสมอ, อำเภอปรางค์กู่, จังหวัดศรีสะเกษ, ขอมสมัยพระนคร, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ ศรีชัยวรมัน, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระกฤษณะ, พระลักษมี, พระกีรติ, กามเทพ, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, เทพธิดา, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, ศรีธรณีนทรวรมัน, ศรีธรณินธรวรมัน, พระราชสิงหะ, ศัตรู, สตรียศ, มนตรี, ผู้ปกครองเจ้าหน้าที่, โค, วัว, เหลือบ, ดอกบัว, รัตนะ, เครื่องประดับ, ทาน, เครื่องสังเวย, น้ำอมฤต, ภิกษา, เครื่องแต่งตัว, ผ้า, เทียนไข, น้ำมัน, เนยใส, โอสถ, บุนนาค, ถั่ว, การบูร, พริก, ผักทอดยอด, ใบไม้, ต้นไม้, จตุรเฉท, เปลือกไม้, น้ำผึ้ง, ตำลึง, เสื้อยาว, ภาชนะดีบุก, ข้าวสาร, กฤษณา, ยางเส้น, ขี้ผึ้ง, เครื่องอุปโภค, กัมพุ, โมกษปุระ, ชยาทิตยปุระ, มหาสมุทร, โรงพยาบาล, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนามหายาน, นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, อุเบกขา, อินทรีย์, บุญ, ภพ, กุศล, โมกษะ, อกุศล, วิหาร, อโรคยศาลา, อโรคยาศาลา, การสร้างโรงพยาบาล, การสร้างอโรคยศาลา, การสร้างอโรคยาศาลา, พระเวท, เภษัช, กลียุค, โรค, พระจันทร์, บาท, แผ่นดิน, พระอาทิตย์, ภาษี, กลางวัน, กลางคืน, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, อายุ-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายเครื่องพลีทาน, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี |
พุทธศตวรรษ 18 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19134?lang=th |
17 |
จารึกปราสาทตาเมียนโตจ |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปไวโรจนชินเจ้า และจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล ด้านที่ 3 กล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ส่วนใหญ่เป็นรายชื่อสมุนไพร ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ต่อจากด้านที่ 3 จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้ |
จารึกประสาทตาเมียนโตจ, ศิลาจารึกปราสาทตาเมียนโตจ, จารึกประสาทตาเมืยนโตจ, ศิลาจารึกปราสาทตาเมืยนโตจ, สร. 1, สร. 1, Prasat Ta Man Toc, K. 375, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ยอดทรงกระโจม, ทรงยอ, ปราสาทตาเมียนโตจ, จังหวัดสุรินทร์, บ้านหนองคันนา, ตำบลตาเมียง, กิ่งอำเภอพนมดงรัก, ขอมสมัยพระนคร, พระกฤษณะ, นางลักษมี, พระลักษมี, กามเทพ, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, นางกีรติ, พระกีรติ, รูปพระชิโนรส, รูปพระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, พระสุคต, พระไวโรจนชินเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, ประชาชน, ศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมัน, พระเจ้าศรีธรณินทรวรมัน, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, โอรส, ศัตรู, สตรี, สามี, ราษฎร, นักปราชญ์, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าหญิง, แพทย์หลวง, เจ้าเมือง, โหราจารย์, บรมครู, มนตรี, ผู้ปกครองเจ้าหน้าที่, เจ้าแห่งกัมพุ, โค, วัว, เหลือบ, พระราชสิงหะ, ดอกบัว, เครื่องประดับ, รัตนะ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่องสังเวย, อาวุธ, ทรัพย์, ข้าวเปลือก, ยา, ฟืน, ข้าวสาร, เครื่องบูชาเทวรูป, เครื่องพลีทาน, เครื่องบูชายัญ, สิ่งบูชายัญ, ผลตำลึง, อาหารโค, อาหารวัว, ผ้าลายดอก, เครื่องนุ่งห่มสีแดง, เครื่องนุ่งห่มสีขาว, โอสถ, ข้าวบาร์ลีย์, ดีปลีผง, บุนนาค, จันทร์เทศ, การบูร, ไม้จันทน์, ยางสนข้น, ดอกไม้, ผลกระวานใหญ่, ขิงแห้ง, พริกไทยพันธุ์ขาว, กฤษณา, ขี้ผึ้ง, เทียนขี้ผึ้ง, น้ำผึ้ง, น้ำมัน, เนยใส, ผลกระวานเล็ก, กำยาน, เกลือ, มหาหิงคุ์, ถั่วฝักยาว, น้ำตาลกรวด, อบเชย, หญ้ากระด้าง, กิ่งไม้, น้ำกระเทียม, เปลือกกระเทียม, มิตรเทวะ, น้ำผึ้ง, พริกขี้หนู, พุทรา, น้ำดอกไม้, ผ้ายาว, ภาชนะดีบุก, ของกำนัล, สิ่งประดิษฐาน, เครื่องอุปโภคสถานที่: เชิงเขา, เมืองชยาทิตยปุระ, โรงพยาบาล, คลัง, เมืองกัมพุ, มหาสมุทร, สวรรค์, โมกษปุระ, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหาร, ศรีราชวิหาร, การรักษาพยาบาล, พิธีศราทอื่นๆ: นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, รัศมี, ราชสมบัติ, พระจันทร์, พระเวท, ท้องฟ้า, บาท, เศียร, สงคราม, แผ่นดิน, ทาน, สายน้ำ, อินทรีย์, โรค, กรรม, บุญ, อายุ, ยุค, น้ำอมฤต, เภษัช, กลียุค, เท้า, โทษ, สนาม, โลก, ร่างกาย, อายุรเวท, อัสตรเวท, ดวงจันทร์, พระวรกาย, สูรยะ, จันทระ, ธุรการ, สถิติ, โทรณะ, วันเพ็ญ, เดือนไจตระ, กุทุวะ, ปละ, ศรปะ, ภาษี, ปณิธาน, โมกษะ, นางเทพธิดา, ยักษ์, อกุศล, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/473?lang=th |
18 |
จารึกปราสาท |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปไวโรจนชินเจ้า และจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล ด้านที่ 3 กล่าวถึงรายการสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ส่วนใหญ่เป็นรายชื่อสมุนไพร ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน ต่อจากด้านที่ 3 จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้ |
จารึกปราสาท, สร. 4, สร. 4, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ยอดทรงกระโจมสถานที่พบ: อำเภอปราสาท, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, พระกฤษณะ, นางลักษมี, พระลักษมี, นางกีรติ, พระกีรติ, กามเทพ, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, พระไวโรจนชินเจ้า, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, รูปพระชิโนรส, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, ศรีชัยวรมัน, ประชาชน, พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีธรณินทรวรมันที่ 2, สตรี, ศัตรู, สามี, โอรส, แพทย์หลวง, ราษฎร, บุรุษ, นักปราชญ์, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, ศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7ยศ, ราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าหญิง, เจ้าเมือง, โหราจารย์, บรมครู, มนตรี, เจ้าแห่งกัมพุ, โค, วัว, เหลือบ, พระราชสิงหะ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่องสังเวย, ดอกบัว, เครื่องประดับ, รัตนะ, อาวุธ, ทรัพย์, ยา, ข้าวเปลือก, ฟืน, ดอกไม้, หญ้าบูชายัญ, ข้าวสาร, เครื่องบูชาเทวรูป, เครื่องพลีทาน, คลัง, เครื่องนุ่งห่ม, ผ้าสีขาว, อาหารโค, อาหารวัว, เทียนไข, กฤษณา, เทียนขี้ผึ้ง, น้ำผึ้ง, น้ำมัน, เนยใส, พริกผง, บุนนาค, จันทร์เทศ, มหาหิงคุ์, เกลือ, ผลกระวานเล็ก, กำยาน, น้ำตาลกรวด, ไม้จันทร์, ยางสนข้น, เมล็ดธานี, พริกไทย, ผักทอดยอด, อบเชย, ทารวเฉท, ใบไม้, น้ำกระเทียม, เปลือกกระเทียม, มิตรเทวะ, น้ำผึ้ง, พริกขี้หนู, น้ำพุทรา, ผ้า, ภาชนะดีบุก, ข้าวสาร, เทียนไข, เครื่องอุปโภค, สิ่งประดิษฐาน, เมืองชยาทิตยปุระ, เชิงเขา, สวรรค์, โรงพยาบาล, ราชธานี, มหาสมุทร, ภพ, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนา, มหายาน, วิหาร, เทวสถาน, ศรีราชวิหาร, เมืองกัมพุ, โมกษปุระ, พิธีศารท, พิธีบูชายัญ, สายน้ำ, ทาน, อินทรีย์, รัศมี, ราชสมบัติ, พระจันทร์, ท้องฟ้า, พระเวท, นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, บาท, โรค, เศียร, สงคราม, แผ่นดิน, กรรม, อายุ, บุญ, น้ำอมฤต, เภษัช, กลียุค, เท้า, ร่างกาย, โลก, อายุรเวท, อัสตรเวท, เภษัช, ดวงจันทร์, ท้องฟ้า, พระหฤทัย, พระวรกาย, สูรยะ, จันทระ, สถิติ, พลีทาน, บัตร, บัตรสลาก, ธุรการ, โทรณะ, วันเพ็ญ, เดือนไจตระ, ปรัสถะ, ปละ, กุทุวะ, กัฏฏิกา, ขาริกา, ภาษี, ปณิธาน, กุศล, ครอบครัว, โมกษะ, นางเทพธิดา, ยักษ์, อกุศล, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/478?lang=th |
19 |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 581/09 |
พราหมีสมัยราชวงศ์คุปตะ |
เนื้อหาจากการแปลของ อ. ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ระบุว่าเป็นคำที่มีความหมายว่า “ตื่น” |
จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 581/09, จารึกบนตราดินเผา ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ทะเบียนเลขที่ 581/09, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, จารึกบนตราดินเผาจากเมืองอู่ทอง 7, 581/09, 581/09, ดินเผา, ตรา (sealings) สีน้ำตาลดำ รูปทรงกลม แบน, เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ, การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17-18, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนตราดินเผา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 17-18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2082?lang=th |
20 |
จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง |
ขอมโบราณ,กวิ |
กล่าวถึงเจ้าเมืองครหิ ได้รับพระราชโองการจากพระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะให้หล่อพระพุทธรูปนี้เมื่อ พ.ศ. 1726 |
กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ศาสนาพุทธ, สรรเพ็ชญาณ, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรรมเทวะ, ตลาไน, คลาไน, มรเตงศรีญาโน, กัมรเตงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, ครหิ, ปฏิมากร, กัมรเดงอัญมหาราชศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษนวรมันเทวะ, สฎ. 9, สฎ. 9, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, หลักที่ 25 จารึกบนฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกที่ 25 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปจากวัดหัวเวียง, จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พุทธศักราช 1726, มหาศักราช 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, พ.ศ. 1726, ม.ศ. 1105, วิหารวัดเวียง ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, สัมฤทธิ์, ฐานพระพุทธรูปนาคปรก, เถาะนักษัตร, กัมรเดงอัญมหาราช ศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษณวรรมเทวะ, เชฏฐมาส, วันพุธ, มหาเสนาบดีตลาไน, เมืองครหิ, มรเตง ศรีญาโน, พระพุทธรูปปฏิมากร, ภาระ, ตุละ, ทองคำ, สรรเพ็ชญาณ, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1859, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองครหิ, บุคคล-พระเจ้าศรีมัตไตรโลกยราชภูษนวรรมเทวะ, ไม่มีรูป |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศักราช 1726 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/505?lang=th |
21 |
จารึกด่านประคำ |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า แล้วกล่าวสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ด้านที่ 2 กล่าวถึงพระราชภารกิจของพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาล (อโรคยาศาลา) สร้างพระพุทธรูปไวโรจนชินเจ้า และจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล ด้านที่ 3 ชำรุด ไม่ทราบใจความ ด้านที่ 4 กล่าวถึงสิ่งของที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประทานเป็นเครื่องพลีทาน จากนั้นมีการกล่าวห้ามไม่ให้มีการทำร้ายกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ ลงท้ายด้วยการถวายพระพรแด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ได้รับความสุขจากบุญกุศลในครั้งนี้ |
จารึกด่านประคำ, บร. 2, บร. 2, Dan Pa Kam, K. 386, ศิลาจารึกด่านปะคำ, ศิลา, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, ทรงยอ, ตำบลด่านประคำ, อำเภอนางรอง, จังหวัดบุรีรัมย์, ด่านปะคำ ตำบลปะคำ อำเภอปะคำ, ขอมสมัยพระนคร, พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ, พระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ, พระกฤษณะ, พระลักษมี, พระกีรติ, กามเทพ, พระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต, พระสุคต, พระไวโรจนชินเจ้า, พระไภษัชคุรุไวทูรยะ, เทพธิดา, พระพุทธเจ้า, พระชินะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2, ศรีธรณีนทรวรมัน, ศรีธรณินธรวรมัน, ศรีชัยวรมัน, พระชิโนรส, ศัตรู, สตรี, พระราชสิงหะ, ราชา, แพทย์หลวง, ราษฏร, บุรุษ, ยักษ์ยศ, มนตรี, โค, วัวสิ่ง, ดอกบัว, เภษัช, รัตนะ, เครื่องประดับ, ทาน, เครื่องสังเวย, น้ำอมฤต, รูปจำลอง, เสื้อยาว, ภาชนะ, ข้าวสาร, กฤษณา, เทียนขี้ผึ้ง, เครื่องอุปโภค, อาวุธ, สถิติ, ทรัพย์, ยา, ข้าวเปลือก, ฟืน, ดอกไม้, หญ้าบูชายัญ, พลีทาน, บัตร, สลาก, น้ำผึ้ง, กัมพุ, โมกษปุระ, ชยาทิตยปุระ, มหาสมุทร, โรงพยาบาล, สวรรค์, อโรคยาศาลา, พุทธศาสนามหายาน, นิรมาณกาย, ธรรมกาย, สัมโภคกาย, ภาวะ, อภาวะ, อาตมัน, อุเบกขา, อินทรีย์, บุญ, คุณธรรม, ภพ, กุศล, โมกษะ, อกุศล, วิหาร, อโรคยศาลา, อโรคยาศาลา, เทวสถาน, ศรีราชวิหาร, การสร้างโรงพยาบาล, การสร้างอโรคยศาลา, การสร้างอโรคยา, พระเวท, กลียุค, อายุรเวท, อัสตรเวท, รัศมี, ความเกษม, ความไม่มีโรค, ราชสมบัติ, โรค, พระจันทร์, ท้องฟ้า, บาท, แผ่นดิน, ดวงจันทร์, พระหฤทัย, พระวรกาย, ภาษี, กลางวัน, กลางคืน, สงคราม, ยุค, สูรยะ, จันทระ, โทษ, ความสุข, อำนาจ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอโรคยาศาลา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 18 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/468?lang=th |
22 |
จารึกดงแม่นางเมือง |
ขอมโบราณ |
ด้านที่ 1 เนื้อความอ้างถึงพระเจ้าอโศกมหาราช รับสั่งให้พระเจ้าสุนัตถวายที่นา เพื่อบูชาพระธาตุ ด้านที่ 2 กล่าวถึงรายการและจำนวนของถวาย ของพระเจ้าศรีธรรมาโศก ที่ถวายแด่พระเจ้าศรีธรรมาโศกในพระบรมโกศ จากนั้นกล่าวถึงการถวายที่นาของพระเจ้าสุนัต ที่ถวายแด่พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชในพระบรมโกศเช่นกัน ตอนท้ายได้บอกกำหนดเขตของที่นานั้นด้วย |
จารึกดงแม่นางเมือง, นว. 1, นว. 1, Dong Me Nang Muong, K. 966, หลักที่ 35 ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง, หลักที่ 35 ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง, บ้านดงแม่นางเมือง, พ.ศ. 1710, ม.ศ. 1089, พ.ศ. 1710, ม.ศ. 1089, พุทธศักราช 1710, มหาศักราช 1089, พุทธศักราช 1710, มหาศักราช 1089, ศิลา, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, ดงแม่นางเมือง, ตำบลบางตาหวาย, อำเภอบรรพตพิสัย, จังหวัดนครสวรรค์, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีธรรมาโศก, กมรเตงชคต, กัมรเตงชคต, กมรเตงชคัต, กัมรเตงชคัต, พระเจ้าอโศกมหาราช, พระเจ้าสุนัต, กรุงศรีธรรมาโศก, ศรีภูวนาทิตย์อิศวรทวีป, กรุงสุนัตยศ, มหาราชาธิราช, ข้าบาทมูล, มหาเสนาบดี, ช้าง, ม้า, นาคล สิ่งสักการะ, พาน, ถ้วยเงิน, สีวิกา, พระบูชา, ข้าวสาร, ธานยปุระ, คลองหมูแขวะ, ชรูกเขวะ, ธานยปุระ, ฉทิง, คลอง, บางฉวา, ฉทิงชรูกแขวะ, โสรงขยำ, นาตรโลม, นาทรกง, คลองเปร, ศรก, บึงสดก, กํติง, กำติง, ศรุก, เขต, พุทธศาสนา, การถวายที่นา, กัลปนา, พระสรีรธาตุ, พระธาตุ, พระราชโองการ, บัญชี, วรรณ, เดือน 3, เดือน 3, วันอาทิตย์, บูรพาษาฒ, ที่นา, บูรพา, ปัศจิม, อาคเนย์, อายุ-จารึก พ.ศ. 1710, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระธาตุ, บุคคล-พระเจ้าอโศกมหาราช, บุคคล-พระเจ้าสุนัต, บุคคล-พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศักราช 1710 |
บาลี,เขมร,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/489?lang=th |
23 |
จารึกขันทรงวงรีสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า ขันใบนี้เป็นของที่พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน ถวายแด่กมรเตงชคตศรีวิเรศวร (เทวรูป) ในมหาศักราช 1109 |
จารึกขันทรงวงรีสัมฤทธิ์, ปจ. 20, ปจ. 20, หลักที่ 112 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 112 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, สัมฤทธิ์, สำริด, ขันทรงวงรี, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีวิเรศวร, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, พระไทยธรรม, ตำบลสังโวกต, ตำบลสังโวกต์, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1730, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนขัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1730 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/445?lang=th |
24 |
จารึกขันทรงกลมสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า ขันใบนี้เป็นของที่พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน ถวายแด่กมรเตงชคตศรีวิเรศวร (เทวรูป) ในมหาศักราช 1109 |
จารึกขันทรงกลมสัมฤทธิ์, ปจ. 24, ปจ. 24, หลักที่ 111 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 111 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, พ.ศ. 1730, พ.ศ. 1730, พุทธศักราช 1730, พุทธศักราช 1730, ม.ศ. 1109, ม.ศ. 1109, มหาศักราช 1109, มหาศักราช 1109, สัมฤทธิ์, สำริด, ขันทรงกลม, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนครเทวรูป, กมรเตงชคตศรีวิเรศวร, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, พระไทยธรรม, ตำบลสังโวกต์, ตำบลสังโวก, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1730, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนขัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1730 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/443?lang=th |
25 |
จารึกกรอบคันฉ่องสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า กรอบคันฉ่องอันนี้เป็นของที่พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมัน (ชัยวรมันที่ 7) ถวายแด่พระอาโรคยสาล (อโรคยาศาลา) ในมหาศักราช 1115 |
จารึกกรอบคันฉ่องสัมฤทธิ์, ปจ. 21, ปจ. 21, หลักที่ 109 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 109 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, พ.ศ. 1736, พ.ศ. 1736, พุทธศักราช 1736, พุทธศักราช 1736, ม.ศ. 1115, ม.ศ. 1115, มหาศักราช 1115, มหาศักราช 1115, สัมฤทธิ์, สำริด, รูปกรอบคันฉ่อง โค้งเหมือนวงพระจันทร์เสี้ยว, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีวิเรศวร, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระไทยธรรม, ศรีวัตสปุระ, อาโรคยสาล, อโรคยาศาลา, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1736, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18,ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนกรอบคันฉ่อง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1736 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/447?lang=th |