ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 15

ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 15

ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 (พ.ศ.1401-1500) ส่วนใหญ่ที่พบเป็นอักษรขอมโบราณ

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2564 00:42:48 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2566 15:56:18 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกเพนียด 1

ขอมโบราณ,นาครี

เป็นพระราชโองการว่าด้วยธรรมเนียมปฏิบัติของบรรดาบุคคล ผู้เฝ้าแหนติดตามพระมหากษัตริย์ ที่จะเสด็จไปประกอบพระราชพิธีทางศาสนาในอาศรม ว่าบุคคลแต่ละตำแหน่ง แต่ละชนชั้นควรประพฤติปฏิบัติตนอย่างไร เช่น ถ้าเป็นสามัญชนก็ห้ามสวมเครื่องประดับ และห้ามเข้าไปในอาศรม ส่วนนักบวช ให้เข้าพักในอาศรมได้ แต่ถ้าเป็นนักบวชที่มีความประพฤติไม่ดี ก็ห้ามเข้าพักในอาศรม เป็นต้น

จารึกเพนียด 1, จารึกเพนียด 1, จบ. 2, จบ. 2, Phniat, K. 479, ศิลา, หินทราย, เมืองเพนียด, ตำบลคลองนารายณ์, อำเภอเมือง, จังหวัดจันทบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระวิษณุ, พระศิวะ, พราหมณ์, เชื้อพระวงศ์, มนตรี, สามัญชน, พระเจ้ายโศวรมัน, พระเจ้ายโสวรมัน, โภชนาหาร, ฉัตร, กลด, เครื่องบูชา, นรก, กัมพุช, พระอาศรม, พราหมณ์, ฮินดู, บุญ, กุศล, ดวงอาทิตย์, ดวงจันทร์, โองการ, พระโศลก, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, นิยะดา ทาสุคนธ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/345?lang=th

2

จารึกอัญชัยวรมัน

ขอมโบราณ

เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำนมัสการเทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ และกล่าวถึงพิภพพระยานาคในโลกบาดาล จากนั้นก็กล่าวถึงพระราชโองการของพระเจ้าชัยวรมันที่ 4 หรือพระบาทบรมศิวบท ว่าด้วยเรื่องการถวายสิ่งของและทาสชายหญิงเป็นจำนวนมาก

จารึกอัญชัยวรมัน, ลบ. 24, ลบ. 24, ศิลา, หินทรายแป้ง, หลักสี่เหลี่ยม, จังหวัดลพบุรี, ขอมสมัยพระนคร, พระนารายณ์, พระอาชญาธุลีพระบาทพระกัมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, กัมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, พระกมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, กมรเตงอัญชัยวรมันเทวะ, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, อัมระกันสูน, โฆ, ไต, สิ, เปา, ควาล, มหูน, ตันอส, กำบิด, ตมาส, เทวรูจี, ปวเยง, อีศวร, รด, วาบ, รันธติ, สังสาร, กันเทน, กันติ, จวยด, เจวียด, สำอบ, สังวร, ทยาน, เทียน, ตันตุร, กันเดง, กันเตง, กำปาร, กำเส, ปนำ, สนา, สำอบ, ลวน, กันสวน, กันส, กันสอ, องโอง, กำไว, กำไพ, เถา, กำพิส, สำอบ, ปันทน, กำเพรา, กันทริ, สารท, กำบิด, กันโส, วา, โปสบ, กันทรม, ชำอร, อัคร, กลิ, ลบ, บุณย์, กำผาจ, เพรา, ปราน, กญุมกำพระ, กันทะ, ลบธรรม, ศจี, พระศรีย์, อนันต์, ตกุน, อโสรก, บันดล, ปที, ลบเกา, กันทุ, ตังเกร, เกรา, กันติ, กำโปรก, ไชศรีย์, โรย, ยุวดี, ลำวี, มาล, ปริยงคศรี, กันสวม, อมร, ปังหาง, กำบิด, กันไท, ปันลบ, อนงค์, พระศุจยน, สังสารวัฏ, โลง, องครักษ์, ทยจ, เทียจ, กันตรี, รานี, โปนล, สังการ, กัญชาน, ปราปต์, ตมยง, ตะเมียง, มันทะ, จากตยก, จากะเตียก, วชิระ, พระยานาค, ข้าวสาร, พระเพลิง, ข้าวสาลี, เปรียง, น้ำมัน, พราหมณ์, ฮินดู, ไวษณพนิกาย, บาดาล, รลลบ, เทวริบุรี, เมืองโลง, กัลปนา, ธุลีพระบาท, พิภพ, สังสารวัฏ, กรรม,นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บุคคล-พระบาทบรมศิวบท, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/319?lang=th

3

จารึกสุรินทร์ 1

ขอมโบราณ

กล่าวถึงข้อห้ามอย่างหนึ่งที่ใครฝ่าฝืนต้องได้รับโทษ

จารึกสุรินทร์ 1, จารึกสุรินทร์ 1, สร. 5, สร. 5, Inscription de Surin, K. 880, หลักที่ 124 จารึกจากจังหวัดสุรินทร์, หลักที่ 124 จารึกจากจังหวัดสุรินทร์, ศิลา, จังหวัดสุรินทร์, ขอมสมัยพระนคร, วาบ, อรชุณ, กำเสตงราชกุล, พระดำรัส, กัลปนา, พระจันทร์, พระอาทิตย์, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

พุทธศตวรรษ 15

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/341?lang=th

4

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 2

หลังปัลลวะ

จารึกชิ้นนี้ เป็นจารึกบนสถูป อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อถวายวัด โดยมีการจารึกคาถาเยธมฺมาฯ และ คำอุทิศการทำบุญครั้งนี้ด้วยภาษามอญโบราณ ลงบนตัวสถูปดินเผาเพื่อให้ได้บุญ (โปรดดูเนื้อหาของคาถาเยธมฺมาฯ ใน “จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม)” หรือ “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)”) ส่วนคำจารึกภาษามอญโบราณนั้น ไม่ชัดเจนลบเลือนไปมาก อ่านได้เพียงคำว่า “ปุณ” และ “วิหาร” เท่านั้น แต่เนื่องจากมีสถูปดินเผาอีกองค์ คือจารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1 (นว. 1) ซึ่งพบที่เดียวกัน มีข้อความสมบูรณ์ จึงทราบได้ว่า สถูปดินเผาทั้ง 2 องค์นี้ มีข้อความเหมือนกันทุกประการ

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 2, จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 2, จารึกเมืองทัพชุมพล 2, จารึกเมืองทัพชุมพล 2, ลบ. 26, ลบ. 26, ดินเผา, รูปสถูป, เมืองทัพชุมพล, บ้านทัพชุมพล, ตำบลหนองกรด, จังหวัดนครสวรรค์, ทวารวดี, พระมหาสมณเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ธรรม, เหตุ, ความดับ, อุบาย, เยธัมมา, เยธรรมมา, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่โรงพยาบาลชัยนาท จังหวัดชัยนาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 14-15

บาลี,มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/913?lang=th

5

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1

หลังปัลลวะ

จารึกชิ้นนี้ เป็นจารึกบนสถูป อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อถวายวัด โดยมีการจารึกคาถาเยธมฺมาฯ และ คำอุทิศการทำบุญครั้งนี้ด้วยภาษามอญโบราณ ลงบนตัวสถูปดินเผาเพื่อให้ได้บุญ (โปรดดูเนื้อหาของคาถาเยธมฺมาฯ ใน “จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม)” หรือ “จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา)”) ส่วนคำจารึกภาษามอญโบราณนั้น มีความว่า “พระสถูปนี้ บรรพบุรุษทั้งสามกระทำไว้ใกล้วิหาร”

จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1, จารึกสถูปดินเผาเมืองทัพชุมพล 1, จารึกเมืองทัพชุมพล 1, จารึกเมืองทัพชุมพล 1, นว. 7, นว. 7, ดินเผา, รูปสถูป, เมืองทัพชุมพล, บ้านทัพชุมพล, ตำบลหนองกรด, จังหวัดนครสวรรค์, พระมหาสมณเจ้า, พระพุทธเจ้า, ทวารวดี, พระสถูป, วิหาร, พุทธศาสนา, ธรรม, เหตุ, เยธัมมา, เยธรรมมา, ความดับ, อุบาย, ตรงใจ หุตางกูร, เทิม มีเต็ม, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 2, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่โรงพยาบาลชัยนาท จังหวัดชัยนาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

พุทธศตวรรษ 14-15

บาลี,มอญโบราณ

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/911?lang=th

6

จารึกสด๊กก๊อกธม 1

ขอมโบราณ

เสตญอาจารย์โขลญสันดับ และเสตญอาจารย์โขลญพนม ซึ่งเป็นผู้ดูแลพระเทวรูป ได้แจ้งให้พระบุณย์มรเตญมัทยมศิวะ วาบบรม พรหม และแม่บส ให้ร่วมกันดูแลพระเทวรูป โดยการถวายข้าวสาร และน้ำมัน ตลอดหนึ่งปี นอกจากนั้นยังแจ้งพระบรมราชโองการถึง กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน ให้ใช้เจ้าหน้าที่มาตั้งหลักศิลาจารึกไว้ในเมืองนี้ และห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลน้ำมัน ริบเอาน้ำมันเป็นของตนเอง ห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเรื่องข้าว ริบเอาข้าวเป็นของตนเอง และห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเทวสถานเรียกใช้ทาสพระให้ไปทำงานอื่น ให้ใช้ทาสพระเหล่านั้น ในการดูแลพระเทวรูปและพระศิวลึงค์เท่านั้น ข้อความต่อจากนั้นเป็นรายนามทาสพระ

จารึกสด๊กก๊กธม 1, จารึกสด๊กก๊กธม 1, ปจ. 2, ปจ. 2, Stele dite de Sdok Kok Thom, K. 1087, พ.ศ. 1480, พุทธศักราช 1480, พ.ศ. 1480, พุทธศักราช 1480, ม.ศ. 859, มหาศักราช 859, พ.ศ. 859, พุทธศักราช 859, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านสระแจง, ตำบลโคกสูง, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, อำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, ปรเมศวร, ศิวลิงค์, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงค์, ศิวลึงค์, มรเตญมัทวยมศิวะ, วาบ, วีเรนทรวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บรม, พรหม, แม่บส, กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน, โฆ, ควาล, ข้าพระ, คนบำเรอ, ไต, ข้าวสาร, น้ำมัน, สรุ, ข้าวเปลือก, ศิลาจารึก, โขลญ, โขลญพนม, โขลญสรู, โขลญวิยะ, โขลญวรีหิ, โขลญวริหิ, พระบุณย์, ปรัตยยะ, เสตญอาจารย์โขลญสันดับ, เสตญอาจารย์โขลญพนม, พระกัมรเตงอัญ, ปรัตยยะ, ปรัตยะ, ปรัตยยะเปรียง, ปรัตยะเปรียง, วิษัย, วิปย, สันดับถะเมียง, กำบิด, ถะเกบ, สระเง, ชมะ, กันโส, ฉะโนง, เทวยาณี, สุภาสา, สรจา, องโอง, ละคาย, กำบิด, ถะเกบ, กันเดม, กันจน, กำไพ, เสน่ห์, สรัจ, เทวทาส, สำอุย, อนี, ดังกุ, ธุลีพระบาท, ธุลีเชง, พระราชดำรัส, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ.1480, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าวสาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายน้ำมัน, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-เสตญอาจารย์โขลญสันดับ, บุคคล-เสตญอาจารย์โขลญพนม, บุคคล-พระบุณย์มรเตญมัทยมศิวะ, บุคคล-วาบบรม, บุคคล-พรหม, บุคคล-แม่บส, บุคคล-กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจ 7 พฤศจิกายน 2563)

พุทธศักราช 1480

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/310?lang=th

7

จารึกศรีจานาศะ

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการสรรเสริญพระศิวะ จากนั้นสรรเสริญนางปารวตี ต่อจากนั้นจึงกล่าวถึงรายพระนามพระราชาแห่งอาณาจักรจานาศปุระ คือ พระราชาองค์แรกทรงพระนามว่าภคทัตต์ ผู้ที่สืบต่อลงมาจากพระเจ้าภคทัตต์องค์หนึ่งทรงพระนามว่า สุนทรปรากรม พระเจ้าสุนทรปรากรมทรงมีโอรสทรงพระนามว่า สุนทรวรมัน พระเจ้าสุนทรวรมันทรงมีโอรส 2 องค์องค์พี่ทรงนามว่านรปติสิงหวรมัน ได้เสด็จขึ้นครองราชย์แห่งอาณาจักรศรีจานาศะ องค์น้องทรงนามว่า มงคลวรมัน ได้โปรดให้สร้างจารึกหลักนี้เพื่อฉลองการสร้างพระรูปพระชนนีเป็นพระราชเทวี คือ ชายาของพระศิวะ เมื่อศักราช 859 (พ.ศ. 1480) ส่วนจารึกด้านที่ 2 นั้น เป็นรายชื่อของทาส

จารึกศรีจานาศะ, อย. 12, อย. 12, หลัก 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา, หลัก 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา, พ.ศ. 1480, ม.ศ. 859, พ.ศ. 1480, ม.ศ. 859, พุทธศักราช 1480, มหาศักราช 859, พุทธศักราช 1480, มหาศักราช 859, ศิลา, รูปใบเสมา, เทวสถาน, สะพานชีกุน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ขอมสมัยพระนคร, พระศังกร, พระศิวะ, พระหิมวัต, พระหระ, พระคุหะ, พระสกันทกุมาร, พระขันทกุมาร, พระกาม, กามเทพ, พระศรี, พระเทวี, ประติมากรรมพระมารดา,ธิดา, ภคทัตต์, ศรีสุนทรปรากรม, ศรีสุนทรวรมัน, มงคลวรมัน, ศรีนรปติสิงหวรมัน, พระมารดา, โอรส, โฆ, ควาล, ไตยศ, พระราชาราย, บูรพะ, จัก, สำอุย, ควาล, ขสาย, กำบิด, กันอิน, กันสุน, กำพี, กำวี, กันยาล, กันเลส, กำไพ, กำไว, เถลิม, กันเรา, ปันสวำ, พรรัด, วรรัด, พรรัต, วรรัต, กันลาง, กันเทง, ธรรม รันโนจ, กำพิด, ปันทัน, พระหิ, ทังหวน, กับเกบ, ขนัน, ขญุ ํ, พระ, ข้าพระ, ชวิก, กันธิ, กันอัส, ทรัพย์สมบัติ, จานาศปุระ, ศรีจานาศะ, ศรีจนาศะ, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, กัลปนา, การถวายข้าทาส, พระเนตร, มวยพระเกศา, มวยผม, กลีบดอกไม้สวรรค์, ดวงจันทร์, รัศมี, ศิลป, กลา, กะลา, ราชวงศ์, ฟ้า, อวัยวะ, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, The Journal of the Siam Society XXXV, ยอร์ช เซเดส์, “หลักที่ 117 ศิลาจารึกหลักใหม่ที่ค้นพบในพระนครศรีอยุธยา,” แปลโดย ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ.1480, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระศิวะ, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-นางปารวตี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีจานาศะ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าภคทัตต์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าสุนทรปรากรม, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้าสุนทรวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้านรปติสิงหวรมัน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรศรีจนาศะ-พระเจ้ามงคลวรมัน, บุคคล-พระเจ้าภคทัตต์, บุคคล-พระเจ้าสุนทรปรากรม, บุคคล-พระเจ้าสุนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้านรปติสิงหวรมัน, บุคคล-พระเจ้ามงคลวรมัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศักราช 1480

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/313?lang=th

8

จารึกวิภูติ

ขอมโบราณ

เนื้อหาในจารึกไม่ประติดประต่อกัน จากเนื้อความเท่าที่พบคาดว่าเนื้อหาตอนต้นๆ ของด้านที่ 1 น่าจะเป็นการกล่าวสรรเสริญบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ได้บำเพ็ญบุญด้วยการบริจาคทาน ส่วนในจารึกด้านที่สอง ระบุชื่อทาสที่บริจาคคือ ไตเกส และของที่บริจาคคือ กระบือ

จารึกวิภูติ, สท. 38, สท. 38, ศิลา, หินดินดาน, วัดตะพานหิน, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ขอมสมัยพระนคร, ไต, สาธุชน, พระเทวี, เกส, กระบือ, ควาย, บุญ, พระนคร, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายกระบือ, บุคคล-ไตเกส, ไม่มีรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/350?lang=th

9

จารึกภูเขียว

ขอมโบราณ

กล่าวสรรเสริญพระจุฑามณี ว่าเป็นผู้มีปัญญา และเกิดในสกุลสูง นำความรุ่งเรืองมาสู่อาณาจักรของพระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน

จารึกภูเขียว, ชย. 1, Stele de Phu Khiao Kao, K. 404, K. 404, ศิลา, หลักสี่เหลี่ยม, หนองหินตั้ง, อำเภอเกษตรสมบูรณ์, จังหวัดชัยภูมิ, ขอมสมัยพระนคร, พระจุฑามณี, พระจูฑามณี, พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน, พระนางลักษมี, ชัยราชจุฑามณี, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 3, ประชาชน, แก้วมณี, ราชอาณาจักร, สกุล, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, E. Seidenfaden, Bulletin de l’École Française d’Éxtrême-Orient XII, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, Lawrence Palmer Briggs, The Ancient Khmer Empire, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-ขอมพระนคร-พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระจุฑามณี, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน, เรื่อง-บุคคล-พระจุฑามณี, เรื่อง-บุคคล-พระเจ้าศรีชยสิงหวรมัน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย จังหวัดนครราชสีมา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 1/12/2563)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/337?lang=th

10

จารึกปราสาทหินพิมาย 1

ขอมโบราณ

ข้อความในจารึกไม่สมบูรณ์ มีการกล่าวถึงฤษีนามว่า มุนีราทัศมะ ว่าเป็นผู้สร้างอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งข้อความในส่วนนี้ลบเลือนไป

จารึกปราสาทหินพิมาย 1, จารึกปราสาทหินพิมาย 1, นม. 26, นม. 26, Phimai, K. 1000, ศิลา, หินทราย, สี่เหลี่ยม, ปราสาทหินพิมาย บ้านพิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย, เจนละ, ขอมสมัยพระนคร, ขอมพระนคร, ฤษี, มุนีราทัศมะ, ศรีเสารยยวรมม, ศรีเสารยวรมัน, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-มุนีราทัศมะ, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/328?lang=th

11

จารึกปราสาทหินพนมวัน 1

ขอมโบราณ

เป็นพระราชโองการของพระเจ้ายโศวรมัน ที่สั่งให้บรรดาเจ้าหน้าที่ร่วมกันจัดงานฉลองปะรำพระเพลิงและพระตำหนัก ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามพระราชโองการนั้นจะต้องได้รับผลกรรม ส่วนผู้ใดที่ปฎิบัติตามพระราชโองการนั้นก็จะได้รับความดีความชอบ

จารึกปราสาทหินพนมวัน 1, จารึกปราสาทหินพนมวัน 1, นม. 32, นม. 32, Linteau de Nom Van, K. 1065, พ.ศ. 1433, ม.ศ. 812, พ.ศ. 1433, ม.ศ. 812, พุทธศักราช 1433, มหาศักราช 812, พุทธศักราช 1433, มหาศักราช 812, ศิลา, ทับหลังกรอบประตูรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ปราสาทหินวัดพนมวัน, ตำบลบ้านโพธิ์, บ้านมะค่า, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระเจ้ายโศวรมัน, พระเจ้ายโสวรมัน, อินทรวรมัน, โขลญพนม, โขลญวิษัย, วาบ, ปรัตยะ สิ่งของ: ตะกรุด, เครื่องกระยา, ลิงคบุรี, ฉลองปะรำพระเพลิง, ฉลองพระตำหนัก, พระราชโองการ, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ, เฉลิมพระเกียรติและรวมพระราชนิพนธ์, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ.1433, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้ายโศวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย, เรื่อง-ราชพิธี-ฉลองปะรำพระเพลิง, เรื่อง-ราชพิธี-ฉลองพระตำหนัก, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจ 20 มกราคม 2563)

พุทธศักราช 1433

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/357?lang=th

12

จารึกบ้านพุทรา

ขอมโบราณ

กล่าวถึง พระรุทรโลก อันเป็นพระนามของพระเจ้าหรรษวรมันที่ 1 เมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว

จารึกบ้านพุทรา, นม. 9, นม. 9, Stele de Ban Phutsa, K. 396, หลักที่ 123 จารึกที่บ้านพุทรา จังหวัดนครราชสีมา, หลักที่ 123 จารึกที่บ้านพุทรา จังหวัดนครราชสีมา, ศิลา, ใบเสมา, บ้านพุทรา, บ้านพุดซา, ตำบลพุดซา, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระรุทรโลก, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, นวพรรณ ภัทรมูล, Goerge Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VI, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่บ้านพุดซา นครราชสีมา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, บุคคล-รุทรโลเก, บุคคล-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, บุคคล-พระเจ้ายโศวรมัน

วัดปรางค์ บ้านพุดซา ตำบลพุดซา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (สำรวจเมื่อ 21 มกราคม 2563)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/359?lang=th

13

จารึกบ้านพังพวย

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 กล่าวถึงพระเจ้าราเชนทรวรมัน ว่าได้มีบัญชาให้บรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในเมืองวนปุระ ให้ร่วมกันดูแลเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเทวสถาน โดยถวายน้ำมัน และลูกสกา เป็นเวลา 1 ปี ส่วนในเรื่องของที่นาและพืชผลที่มีขึ้นในนานั้น ให้สิทธิแก่บรรดาข้าทาส และลูกทาส ส่วนวัวควายไม่ควรขึ้นกับโขลญวิษัย (ผู้ดูแลสถานที่) โขลญข้าว และโขลญเปรียง (ผู้ดูแลน้ำมัน) และอย่าปล่อยให้เข้าไปในที่ดินของเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเทวสถาน หากชาวบ้านไม่ทำตามคำสั่งให้จับส่งเจ้าหน้าที่ ส่วนด้านที่ 2 กล่าวถึงการมีบัญชาให้ร่วมกันดูแลเทวรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำเมือง โดยถวายข้าวสาร น้ำมัน ผลไม้ หอก ผ้า ห้ามไม่ให้โขลญวิษัยและโขลญเปรียงเข้าไปในป่า ให้อยู่คอยรับใช้บรรดาข้าราชการผู้ใหญ่ นอกจากนั้นยังมีการกล่าวถึงการตั้งที่ประชุมหรือศาล

จารึกบ้านพังพวย, ปจ. 3, ปจ. 3, Stele de Nong Pang Puey, K. 957, พ.ศ. 1484, พุทธศักราช 1484, พ.ศ. 1484, พุทธศักราช 1484, ม.ศ. 863, มหาศักราช 863, ม.ศ. 863, มหาศักราช 863, หินทรายสีแดง, บ้านพังพวย, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, บ้านหนองพังพวย ตำบลโคคลาน อำเภอตาพระยา, ขอมสมัยพระนคร, พระกํมรเตงอัญชคต, กมรเตงอัญชคต, กัมรเตงอัญชคต, พระอวธิบุคคล: กํเสตงอัญศรีราเชนทรวรมัน, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, ปาลภาควะ, ไต, ใต, ศรามพฤทธะ, ข้าพระ, โค, กระบือ, วัว, ควาย, สุภากูต, กันลาง, บัลลังก์ทอง, น้ำมัน, ลูกสกา, ที่นา, ระเงียง, สวาย, กทัมพะ, ชีศรี, พระบุณย์, ปรัตยะ, ปรัตยยะ, กํเสตงอัญราชกุลมหามนตรี, เสตญอัญจตุราจารย์, โขลญวิษัย, โขลญสรู, ขโลญบรรยงก์, โขลญเปรียง, กํเสตงอัญราชกุล, เสตญอัญจตุราจารย์, โขลญ, โขลญบรยยงมุขคาป, โขลญเปรียงมุขคาบ สถานที่: วนปุระ, ลิงคปุระ, หนองสวาย, ตะโบคีรี, ตะโปคีรี, ป่ากทัมพะ, อมริยาท, หนอง, ป่าช้า, คลอง, อุทยาน, สระ, พระสภาปิโป, ธรรมะ, ธรรม, พราหมณ์, ฮินดู, กัลปนา, การถวายสิ่งของ, การถวายที่ดิน, การถวายที่นา, การถวายทาส, ธุลีพระบาท, เดือนสราวณะ, วันอาทิตย์, พระราชดำรัส, ที่นา, ที่ดิน, คำพิพากษา, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึก พ.ศ. 1488, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 22 กุมภาพันธ์ 2564)

พุทธศักราช 1484

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/316?lang=th

14

จารึกบ้านตาดทอง

ขอมโบราณ

ข้อความในจารึก เริ่มด้วยการกล่าวนอบน้อมพระศิวะ และกล่าวถึงพระเจ้ารุทรโลกว่า เป็นผู้มีความสามารถมาก ปกครองประเทศโดยธรรม ได้พระราชทานสิ่งของต่างๆ จำนวนมากแก่เจ้าชายที่เข้าพิธีมงคลสมรสกับพระราชธิดา ช่วงสุดท้ายของจารึกบอกให้ทราบว่า เจ้าชายเป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเมืองภวปุระ และพราหมณ์ได้ทำพิธีบูชาพระศิวลึงค์ทุกวัน

จารึกบ้านตาดทอง, ยส. 1, ยส. 1, Stele de Ban Tat Tong, K. 697, K. 697, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, หมู่บ้านตาดทอง, ตำบลตาดทอง, อำเภอเมือง, จังหวัดยโสธร, ขอมสมัยพระนคร, รูปบูชา, พระศิวะ, พระนารายณ์, พระพรหม, พระนางสรัสวดี, พระนางสรัสวดี, พระศิวลึงค์, พระเจ้าอีศานวรมัน, พระเจ้าอิศานวรมัน, พระเจ้าอีสานวรมัน, พระเจ้าอิศานวรมัน, พระนางสารัสสวตี, พระนางสารัสสวดี, รุทรโลก, นิลกันถะ, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, ศรีอีศานวรมัน, บุตรี, บุตรหลาน, ทาสชาย, ทาสหญิง, ญาติ, นักร้อง, พระเจ้ารุทรโลก, เจ้าชาย, เจ้าเมืองภวปุระ, พระเจ้าแผ่นดิน, ฉัตร, ดาบ, ทรัพย์สิน, เงินทอง, ธัญพืช, ข้าวสาร, อาหาร, เนยใส, กับข้าว, มะพร้าว, น้ำนมเปรี้ยว, เครื่องดนตรี, ดอกไม้, ของหอม, เครื่องหอมสถานที่: ภวปุระ, ประเทศ, ปราสาท, หมู่บ้าน, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, มงคลสมรส, การบูชายัญ, การฟ้อนรำ, การร้องเพลงสรรเสริญอื่นๆ: รัศมี, พระจันทร์แรม, มลทิน, มงคลสมรส, ขบวนแห่, พระราชสมบัติ, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, ศิลปากร, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, จารึกบนใบเสมา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิราวุธ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระศิวลึงค์, บุคคล-พระเจ้ารุทรโลก

วัดอัมพวันเหนือ หมู่บ้านตาดทอง ตำบลตาดทอง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร (สำรวจเมื่อ 2 กันยายน 2563)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/348?lang=th