ตัวอย่าง | ปรากฏใน | ด/บ | จังหวัด | ผู้ให้ความหมาย |
---|---|---|---|---|
ชฺวนฺ ขฺญุํ ต เราะหฺ เนะหฺ ไต ปนฺทานฺ กฺวนฺ ไต เฉฺก สิ มูล สิ กํวฺฤกฺ ไต กนฺตู กฺวนฺ ไต (ถวายข้าพระ ดังมีรายนามต่อไปนี้ คือ ไตปันทานลูกไตเฉฺก สิมูล สิกำวฺฤกฺ ไต กันตูลูก ไต) |
จารึกปราสาทหินพิมาย 3 | 1/2 | นครราชสีมา | ศานติ ภักดีคำ |
โยกฺ กุเล ขฺลหฺร โมกฺ อมฺวิ สฺรุกฺ กุติ ปงฺคฺวยฺ ต คิ. โอยฺ กุเล ต วฺราหฺมณ ชฺมะ คงคาธร . สฺถาปนา วฺระ ศิวลิงฺค ทุกฺ ขฺญุํ ต คิ. (แล้วนำญาติมาจากเมืองกุฏิ เพื่อให้อาศัยในหมู่บ้านนั้น ท่านได้ให้พราหมณ์ผู้เป็นญาติคนหนึ่ง ชื่อ คงคาธระ สร้างพระศิวลิงค์ไว้ประจำหมู่บ้าน แล้วแบ่งทาสไว้ให้อีกจำนวนหนึ่งด้วย) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 | 3/69 | สระแก้ว | ศานติ ภักดีคำ |
วฺวํ ชา ปิ โขฺลญฺ วิย เหา ขฺญุํ วฺระ ปิ เปฺร ต ราชกรฺยฺย เถฺลยฺ (ไม่ควรที่โขลญวิยะ เรียกข้าพระไปใช้ใน ราชการอื่นใด) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 1 | 1/17 | สระแก้ว | ศานติ ภักดีคำ |
ภควตฺ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ ศฺรีทิวากรปณฺฑิต ชฺวนฺ สปฺ เทวตาเกฺษตฺร โผงฺ เถฺว ย(ชฺญสฺถา) ปนา ชฺยกฺ ตฺรวางฺ โอยฺ ทาน ทฺรวฺย ต ทํเนปฺร ขาลฺมาสฺ วตฺขฺลาสฺ ปฺรติคฺรห ตมฺรฺย เอฺสะ ขฺญุํ ต วฺราหฺมณ ปณฺฑิต สปฺ วรฺณ ต นุ อฺนกฺ ต ทินานาถ โผงฺ (ภควัตบาทกัมรเตงอัญดคุรุศรีทิวากรบัณฑิต ได้ถวายสิ่งเหล่านี้แด่เทวสถานทั้งปวง ทำพิธีกรรม สร้าง (เทวรูป) ขุดสระ ให้ทานทรัพย์สิน เป็นต้นว่า หม้อทอง ถ้วย กระโถน ช้าง ม้า ข้าทาส แก่พวกพราหมณ์ พวกบัณฑิต ทุกๆ ชั้น พร้อมทั้งผู้เจ็บป่วยและอนาถาทั้งปวง) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 1/19 | ศรีสะเกษ | ศานติ ภักดีคำ |
รงฺโก เช 1 ขฺญุํ เถฺว กลฺปณา โนะ ไต กนฺโส ไต กนฺโส โสตฺ ไต กํวฺฤกฺ (ข้าวสาร 1 กระบุง ข้าที่ทำกัลปนานั้น มีไตกันโส ไตกันโสอีก ไตกำพฤก) |
จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ | 1/9 | ศรีสะเกษ | ศานติ ภักดีคำ |
โขฺลญฺ วล ชฺรเลงฺ ชฺวนฺ ขฺญุํ 4 ต วฺระ ถฺมุรฺ ปิยฺ ทนฺยีมฺ สฺรุ นุ เสฺร จำมลกฺรานฺต นุ ชา ปี ทุกฺ นา องฺคุยฺ โขฺลญฺวล คิ นา อายตฺโผงฺ (โขลญพลแห่งชระเลง ถวายทาส 4 คน แด่เทวรูป วัว 6 ตัว ข้าวเปลือก และนาแด่สงกรานต์ และไว้ประจำแก่โขลญพล เพื่อให้ดูแลในสิ่งทั้งปวง) |
จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม | 1/9 | สกลนคร | ศานติ ภักดีคำ |
เทปฺ มานฺ ปฺรสาท กรุณา โอยฺ ชํนา ต ไทติ ไภ ไท ต มานฺ กฺฤต ปมฺเร อายฺ ต อญฺ สมฺยกฺ อญฺ โอยฺ ปฺรสาท ติ สุลกฺษ เลงฺ อฺยตฺ ปิ อจฺจ ไท เทา โตยฺ วฺระกลาศ นิตฺย เลงฺ จตฺตฺ อญฺวฺงา ขฺมิ มะ ปิ ถา อํญฺกรุณา เลงฺ ขฺญุํ ต ไท ติ ชย กํมฺรเตงฺ สฺรมิ ติ เลงฺ สฺถิติ วฺระ ชา ต ติ มานฺ กฺษณ จฺรปตฺ ภฺรานฺติ กํปิ มานฺ อริวีรฺยฺย ปิ มรฺ มนฺ อฺวลฺ อศฺจรฺยฺย ต เถฺว วหุ วิธ คี กุเล สฺยงฺ ต เปฺร เถฺว สุธรฺมฺม รมฺยสถาน ปฺรศสฺต วิวิธยติคณ สฺยงฺ ต โอยฺ ชย(ปฺร)ตฺเยก เทา ... ทกฺษริยฺ ลกฺษ ตํเว ต มธุย เทวาศฺรเม ติ นา จารฺ เลงฺ อารฺยฺย (มีข้อความมืดมน ซึ่งมีบุคคล (อาจเป็นกฤตัชญวัลลภ แห่งจารึกภาษาสันสกฤต บทที่ 16) กล่าวถึงตนเอง (อญฺ) แต่อาจจะกล่าวถึงผลประโยชน์ต่างๆ ที่ตนได้รับ (ปฺรสาทกรุณา) และแสดงความปรารถนาบางประการเกี่ยวกับสกุลของตน) |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 5 | 1/3 | นครราชสีมา | ศานติ ภักดีคำ |
ขฺญุํ โฆ ตงฺเกรฺ โฆ จฺรทิตฺ โฆ ขฺทตฺ โฆ จฺรทิตฺ โสตฺ โฆ มหา โฆ กญฺไช โฆ สํอปฺ โฆ กํปิตฺ โฆ สางฺค (ข้า ได้แก่ โฆตังเกร โฆจรทิด โฆขทัด โฆกำบิด อีก โฆมหา โฆกัญไช โฆสำอบ โฆกำบิด โฆสางค์) |
จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี | 1/20 | ลพบุรี | อุไรศรี วรศะริน |
ชุนฺ ขฺญุํ ต กมฺรเตงฺ ชคาตฺ ไตยอรฺค ไตยกพฺผุนฺ (มอบให้เป็นข้าทาสแก่พระกัมรเตงชคัต (พร้อมกับ) ไตยอรรค ไตยกัพผุน) |
จารึกปราสาทโตนตวล 1 | 1/10 | ศรีสะเกษ | ชะเอม คล้ายแก้ว |
มาสฺ ปฺรากฺ เผฺนกฺ สปฺปฺ โหงฺ วฺวํ อาจฺ ติ เสฺรงฺ การฺยฺเย นุ ขฺญุํ จํนำ นุ จํนตฺ เนะหฺ โนะ เค ต ปนฺหฺยาตฺ ขฺญุํ จํนำ ต เนะหฺ โนะหฺ เลงฺ กฺวนฺ เจา เตงฺ ปิตฺ เถฺว นา นา อญฺ สมาเป เค โนะ เสฺวยฺ นรก กาลฺป โกตฺติ (ทอง เงิน ที่แบ่งเป็นส่วนๆ ทั้งหมด ยกเว้นคนงานที่เป็นโรคผิวหนัง และข้าทาสที่อยู่ประจำเทวสถานนี้ ซึ่งพวกเขายุยงให้ข้าทาสที่อยู่ประจำเหล่านี้ กระด้างกระเดื่องต่อบุตรหลานของเตงปิตเถฺว ข้าพเจ้าจึงปรารถนาให้พวกเขา ตกนรกชั่วโกฏิกัลป์) |
จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 | 2/7 | สุรินทร์ | ศานติ ภักดีคำ |
.... สูญฺ. ใต ขฺญุํ วฺระ. ใต ชฺวิกฺ (.... สูญ. ไตขญุํ พระ. ไตชวิก) |
จารึกศรีจานาศะ | 2/14 | พระนครศรีอยุธยา | อุไรศรี วรศะริน |
ขฺญุํ ต เถฺว จํนำ กลฺปนา ต โระหฺ เนะหฺ อฺนกฺ ภยฺ ปฺวนฺนฺ (ทาสซึ่งมีหน้าที่กระทำการเช่นนี้ มีจำนวน 24 คน) |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 3 | 1/32 | นครราชสีมา | ศานติ ภักดีคำ |
นา เสฺตงฺ อญฺ ต มุขฺย นุ เสฺตงฺ อญฺ ภิกฺษา เผฺล เฌ ขฺญุํ มนฺ กลฺปนา เผฺล อาศฺรม ปศฺจิม ไต เถฺง ไต ปโรงฺ สิ วรุณ ใต กนฺเตงฺ ใต ขฺช ใต เขฺมา ไต กํปฺรฺวาตฺ สิ ตนฺเทปฺ จํนำ เผฺล คิ ติ ลิะ 2 ปฺรติทิน จรุโถฺง ยฺ วฺงฺย ลิะ 1 จตุรฺมฺมาส ลิะ 2 (สำหรับเสตงอัญ ผู้เป็นประธานและเสตงอัญ ผู้ภิกษาผลไม้ ข้าที่กัลปนาผลไม้แด่อาศรมทิศตะวันตก มีไตถะเง ไตปะโรง สิพรุณ ไตกันเดง ไตขชะ ไตเขมา ไตกำประวาด สิดันเทบ ถวายผลไม้จำนวน 2 ลิ เป็นประจำ จรุ ถะโงย ดอกไม้ 1 ลิ ถั่วจตุรมาส 2 ลิ) |
จารึกอุบมุง | 1/15 | อุบลราชธานี | ศานติ ภักดีคำ |
ขฺญุํ ติ ชูนฺ โภค ไต ปโรงฺ เฉฺวํโภค (ทาสที่ถวายทรัพย์ ไตปะโรงเฉวงทรัพย์) |
จารึกพระศรีสูรยลักษมี | 3/11 | ขอนแก่น | ศานติ ภักดีคำ |