ตัวอย่าง | ปรากฏใน | ด/บ | จังหวัด | ผู้ให้ความหมาย |
---|---|---|---|---|
จึงมีพระบรมราชโองการมารพระบัณฑูรสุรสิงหนาทโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาอัคนีสราภัยจางวางกรมพระแสงปืนต้น เปนแม่กองนายช่างทำการปฏิสังขรณ์พระอารามวัดปากอ่าวนี้ | จารึกวัดปรมัยยิกาวาส 3 | 1/26 | นิสา เชยกลิ่น | |
1269 5 ศกเถาะ นักษัตร ปิยเนตรพระราชบรรหาร มาณบัณฑูลพระราชโองการ เสด็จบรมราชาธิบดี ศรีมหาจักรพรรดิราชนี้ พระราเมศวรราชสุจริตศรัทธา อนุโมทนานุพุทธฎีกา | จารึกบนแผ่นหินชนวน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี | 1/5 | สุพรรณบุรี | นิสา เชยกลิ่น |
ศุภมัสดุ จุลศักราช 1201 ปีสุกรสังวัชระ เอกศก บุศยมาศ กาฬปักษดิถี จตุรัศมี โสรวาร กาลกำหนดพระบาทสมเด็จบรมนาถบพิตรพระพุทธิเจ้าอยู่หัวกรุงเทพมหานคร มีพระราชโองการมานพระบัณฑูรสุรสิงหนาท ดำรัสสั่งให้เจ้าพญาบดินทรเดชาที่สมุหนายกอัครมหาเสนาธิบดีภัยพิริยปรากรมพาหุ ยกพยุหยาตราออกจากกรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานี บุรีบุรีรมย์อุดมราชมหาสถาน เพื่อจะให้ปราบเหล่าพาลมฤจฉาทิฐิจิต อันคิดอกตัญญู | จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213) | 1/3 | ไม่ระบุ | พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร |
จึ่งมีพระราชโองการมานพระบัณฑูร ดำรัส เหนือเกล้าเหนือกระหม่อม สั่งแก่พระราชสงคราม ว่าพระวิหารเก่าอันโบราณถาปนาไว้ในอารามวัดตลาดนี้ | จารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ | 1/9 | อ่างทอง | พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร |
ศุภมัสตุ 1426 ศก ชวดนักษัตรนวเกด กัตติกา พุธวารศุภมูหูรัตติมานบัณฑูรพระราชโองการพระศรีสรรเพชญบพิตรสุจริตศรัทธาอนุโมทนานุพุทธฎีกาสมเด็จพระสังฆราชบพิตร พระวรประสิทธิพระคุรุสัทธรรมโมลีศรีราชบุตร นามกรอวย |
จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 2 | 1/2 | พิจิตร | นิสา เชยกลิ่น |
ศุภมัสดุ 1959 ศก มะแม นักษัตรนวมีโรจ กัตติก พุธวาร ศุภมหุรดี มานบัณฑูรพระราชโองการ พระศรีสรรเพชญ สมเด็จบพิตรสุจริตศรัทธาอนุโมทนานุพุทธฎีกา สมเด็จพระสังฆราชบพิตร พระวรประสิทธิพระคุรุ นามเจ้าเถรพุทธสาคร ธรรมโมลีศรีราชบุตร นามกรอวย | จารึกเจ้าเถรพุทธสาคร 1 | 1/2 | พิจิตร | นิสา เชยกลิ่น |
ศุภมสฺตุ 1369 ศก เถาะ นกฺษตฺร ปิยเกตไพศาขฺย จนฺทฺรพาร มาน ปนฺฑูล พฺระราชโองฺการ สเตจปรมราชาธิบติ สฺริมหาจกฺกฺรพตฺติราช นุพระราเมสฺวรราช สุจริตสฺรทฺธา อนุโมทนา นุ พุทฺธติกา สเตจพฺระคุรูจุฬามูณิสฺริสงฆราช สงฺฆปรินายก ติลกรตฺน มหาสฺวามิ ปรมราชาจารพฺระพรรปฺ ปฺรสิทฺธิ พฺระมหาเถร
(ศุภมัสดุ ใน มหาศักราช 1369 ปีเถาะ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 6 วันจันทร์ มีพระบัณทูลพระราชโองการแห่งสมเด็จพระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช และพระราเมศวรราช ทรงอนุโมทนาด้วยสุจริตศรัทธา ด้วยพุทธฎีกาสมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราช สังฆปรินายกดิลกรัตน มหาสวามีบรมราชา จารึกพระสุพรรณบัฏแด่พระมหาเถร) |
จารึกพระพุทธฎีกาสมเด็จพระคุรุจุฬามุณีศรีสังฆราช | 1/1 | กรุงเทพมหานคร | ศานติ ภักดีคำ |
นุ กาล สฺดจ บนฺทฺวล ด เสนา พล โผง ...จฺวล โจํจบ กบ ทฺวาร ดิง ปฺรหาร สตฺรุ โผง … โหง
(เมื่อเสด็จมีพระบัณฑูรให้ไพร่พลทั้งหลาย... เข้าระดมฟันประตู ประหารสัตรูทั้งหลาย…) |
จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร) | 1/5 | สุโขทัย | ศานติ ภักดีคำ |
นุ เสฺตงฺ อญฺ อาจารฺยฺย ปฺรธาน นา เอก นุ มฺรตาญฺโขฺลญฺ ศฺรีนฺฤเปนฺทฺรริมถ ปนฺทฺวลฺ วฺระ ศาสน ต เสฺตงฺ อญฺ อาจารฺยฺย ภควน ปฺรสาน ปิ เปฺร ชิะ เสฺนงฺ เปฺร เถฺว ปูชา วฺระกมฺรเตงฺ อญฺ ปฺรสาน โระหฺ กลฺปนา (เสตงอัญ ผู้เป็นอาจารย์ประธาน ชั้นเอก พร้อมด้วยมรตาญโขลญศรีนฤเบนทรริมถะ ให้แจ้งพระบรมราชโองการแก่เสตง อัญผู้เป็นอาจารย์ภควัน ประสานและใช้ให้ขึ้นขี่เสลี่ยงไปเพื่อทำหน้าที่บูชาพระกัมรเตงอัญประสาน ตามพระบรมราชโองการที่ให้นี้) |
จารึกอุบมุง | 3/30 | อุบลราชธานี | อำไพ คำโท |
คิ นุ กํเสฺตงฺ ศฺรีนฺฤปตีนฺทฺราธิปติวรฺมฺม - - - วฺระ - - (ปงฺคมฺ) ถฺปวงฺ (นิเว)ทน ต วฺระ ปาท กมฺรเตงฺ กํตฺวนฺ อญฺ ศฺรีสูรยฺยวรฺมฺมเทว ปนฺทฺวลฺ ต วฺระ - - (ใน (ศักราชขาดหายไป) กํเสตงศรีนฤปตีนทราธิปติวรมัน... ได้ขอพระราชทานด้วยความเคารพ แด่พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสูรยวรรมเทพให้พระราชทานพระราชโองการแก่...) |
จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 | 1/6 | สระแก้ว | อุไรศรี วรศะริน |
ปงฺคมฺ ถฺปฺวงฺ นิเวทน ปิ ปนฺทฺวลฺ วฺระ (ศาสน ธูลี วฺระ) ปาท ธูลี เชงฺ วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ต ... ภควน ... ยวมา ... เปฺร ... ปูชา วฺระ ... วฺระ ศาสน (กราบบังคมทูลตามพระราชโองการของธุลีพระบาทธุลีเชง พระกมรเตงอัญ ... ภควน ... ยวมา ... ใช้ ... บูชาพระ ... พระราชโองการ) |
จารึกปราสาทหินพิมาย 6 | 1/3 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
มานฺ วฺระ ศาสน ต กํเสฺตงฺ อญฺ ราชกุล มหามนฺตฺรี เสฺตญฺ อญฺ จตุราจารฺยฺย ปนฺทฺวลฺ วฺระ ศาสน ต อาจารฺยฺย ปาลภาคว ต ปฺรตฺยฺย เปฺร โมกฺ สงฺ โคลฺ ปฺรศสฺต ก คิ สฺรุกฺ วนปุร นา วฺระ ปุนฺย (มีพระดำรัส ถึงกํเสตง อัญ ราชกุล มหามนตรี และเสตญ อัญ จตุราจารย์ ให้แจ้งพระดำรัสแก่อาจารย์ปาลภาควะ และปรัตยะ ให้ใช้ (คน) มาปักหลักให้ดี ที่เมืองวนปุระ ในที่พระบุณย์) |
จารึกบ้านพังพวย | 1/6 | สระแก้ว | อุไรศรี วรศะริน |
นุ เสฺตญฺ อาจารฺยฺย คี นา มานฺ วฺระ ศาสน ปี ปนฺทฺวลฺ ต อญฺ ต วาปฺ ศีขาวฺรหฺม นุ อาจารฺยฺย พชฺรธรฺมฺม (พร้อมด้วย เสฺตญ อาจารย์ คือที่มีพระศาสนก็เพื่อให้นำไปสั่ง ต่อพระบาท (ฉัน) วาปศิขาวฺรหฺม และอาจารย์ พัชรธรมฺม) |
จารึกวัดมะกอก | 1/8 | สระแก้ว | อุไรศรี วรศะริน |
1041 ศก คิ นุ วฺระ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ศฺรีสูรฺยฺยวรฺมฺมเทว ปนฺทฺวลฺ เปฺร ศิลฺปิ ราชการฺยฺย เอก โท ตฺริ ลฺวะ จตฺวาริ นุ อฺนกฺ วิษย สทฺยา เทา เถฺว สฺรุกฺ วฺนุรฺ ทฺนงฺ น เทวสฺถาน โนะ ปิ เลงฺ ต สนฺตาน ติ โกฺรยฺ (มหาศักราช 1041 พระบาทกัมรเตงอัญ ศรีสุริยวรมันเทวะ โปรดเกล้าฯ ให้นายช่างที่เป็นข้าราชการ ชั้นเอก โท ตรี จัตวา รวมทั้งประชาชนชาววิษัยสัทยา ไปทำการบูรณะเมืองพะนุรทะนงและเทวสถานนั้น เพื่อให้ขึ้นอยู่กับสายตระกูลรุ่นหลัง) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 2/20 | ศรีสะเกษ | อุไรศรี วรศะริน |
...ศาสน โอยฺ... วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ มานฺ วฺระ ศาสน ปนฺทฺวลฺ เปฺร สฺถาปนา ปฺรศสฺต เนะ ภควตฺ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ ศฺรีทิวากรปณฺฑิต สฺรุกฺ วฺนุรฺ ทฺนงฺ วิษย สทฺยา ต (กรฺมฺมา) นฺตรตฺรีณิ อุทิ โตทิตว (มีพระบรมราชโองการรับสั่งให้จัดทำคำประกาศทางราชการบนศิลาจารึกนี้ ภควัตบาทกัมรเตงอัญดคุรุศรีทิวากรบัณฑิตแห่งเมืองพะนุรทะนง (เนินประดู่) วิษัยสัทยา ผู้มีตำแหน่งชั้นตรี และเป็นผู้เชี่ยวชาญทางระเบียบประเพณี) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 1/7 | ศรีสะเกษ | ศานติ ภักดีคำ |
ปิ วฺระ ปาท กมฺรเตงฺ กํตฺวนฺ อญฺ ศฺรีสูรฺยฺยวรฺมฺมเทว กรุณา ปนฺทฺวลฺ วฺระ วร ต ศฺรีสุกรฺมฺมา กํเสฺตงิ (พระบาทกัมรเตงกันตวนอัญศรีสุริยวรมันเทว จึงทรงพระราชทานพระพรแก่ศรีสุกรรมากำเสตงงิ) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 1 | 1/12 | ศรีสะเกษ | อุไรศรี วรศะริน |
คิ กํมฺรเตงฺ อญฺ วฺระ คุรุ ปนฺทฺวลฺ ต เสฺตงฺ อญฺ ต ปฺรตฺยฺย เสฺตงฺ อญฺ อายฺ สมฺฤทฺธิปุร คิ เปฺร โมกฺ ทุกฺ ปฺรสตฺต อายฺ กจฺ โตงฺ ต ปฺรสํคณ นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ชคตฺ ลิงฺคปุร วฺวํ สุต นฺตฺร ต กวิษย วฺวํ อาจฺ ติ อายตฺว ต โขฺลญฺ ชา วิษย นุ ตฺรลาว นุ ปฺรภู โผงฺ (ตามที่ กัมรเตงอัญ คุรุ กราบทูลต่อเสตงอัญผู้เป็นใหญ่ที่สัมฤทธิปุระ เพื่อให้มาทำจารึกไว้ที่กัจโตงให้รวมพระกัมรเตงอัญชคัตลิงคปุระไว้ด้วย ไม่ต้องขึ้นต่อ กวิษยะ ไม่ต้องขึ้นต่อโขลญชาววิษยะ, ตระลาว และเจ้านายทั้งปวง) |
จารึกปราสาทเมืองแขก 1 | 1/15 | นครราชสีมา | ศานติ ภักดีคำ |
ปวตฺร โวํ ตาศฺ วิไศ ปนฺทฺวลฺ . . .จฺทฺวลฺ ต นุตาศฺ วฺวํ อาจฺ ติ มา . . . ((บรม)บพิตร ให้เผยแพร่คำสั่งไปทั่วทั้งจังหวัดย้ำถึงการเผยแพร่อย่าให้ผิดพลาด) |
จารึกปราสาทโตนตวล 1 | 1/3 | สุรินทร์ | ชะเอม คล้ายแก้ว |
สฺวาสฺติ 942 ศก ปญฺจมี โรจฺ ศฺราวณ วุธวาร วฺระ กรุณา ปรมวิตฺร ติ กํเสฺตงฺ ศฺรีชยสิงฺสวรฺมฺม ต ปนฺทฺวลฺ วฺระ อาลกฺษณ ต วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ กํเสฺตงฺ สภาปติ นา ตฺรีณิ ปเมฺร วฺระ สภา นุ วฺระ หรปาล เทา ลงฺโคลฺ ภูมิ สิทฺธิปุรปิ (ขอความสวัสดีจงมี ศักราช 942 แรม 5 ค่ำ เดือน 9 วันพุธ พระกรุณาบรมบพิตร คือ กัมเสตง ศรีชยสิงสวรมัน ประกาศพระอาลักษณ์แก่พระกัมรเตงอัญ กัมเสตง สภาบดี ชั้นตรี ให้ติดตามรับใช้พระสภา กับพระหรปาลไปปักหลักเขตที่ดินสิทธิปุระ) |
จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 | 1/3 | สุรินทร์ | อุไรศรี วรศะริน |
930ศก ๏ ตฺรเยาทศีเกต เชษฺฐ ศุกฺรวาร นุ มานฺ วฺระ ศาสน ธูลิวฺระปาท ธูลิวฺระปาทกมรเตงฺ กมฺรเตงฺ กตฺวนอญ ศฺรีชยวีรวรฺมฺมเทว ปนฺทฺวลฺตเสฺตงฺอญสินฺทูรสภาสิตฺ นุวาปฺรสฺยกฺวฺยวหาราธิการี นุวาปวรตมฺรฺวาจฺ รงฺวางฺ นา จตฺวาริปิ เปฺรเมากฺ สเคฺคลฺ ปฺรศสฺตตคีภูมิตฺรกฺวานฺสเทกฺ (มหาศักราช 930 ขึ้น 13 ค่ำ เดือนเชษฐ วันศุกร์ ด้วยมีพระบรมราชโองการ ธุลีพระบาทกมรเตงกำตวนอัญ ศรีชยวีรวรมันเทวะ ดำรัสสั่งให้เสตงอัญ สินทูรสภาสิต และวาปรัสยักเวียวหาราธิการี และวาปวรตะมะระวาจ วัดที่ดินทั้ง 4 ทิศแล้วให้ใช้ (คน) มาปักหลักจารึกที่หมู่บ้านกระวานสะเทก) |
จารึกวัดจงกอ | 1/4 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
944 ศก จตุรฺทฺศี เกตฺ ภทฺรปท อาทิตฺยวาร นุ วฺระ ปาท กํมฺรเตงฺ กํตฺวนฺ อญฺ ศฺรี สูรฺยฺยวรฺมฺมเทว ปนฺทฺวลฺ วฺระ นิยม รุ สมาจาร ต ตปฺร ปิ ภูวน โผงฺ ทฺวลฺ ปิ เถฺว โตยฺ ((มหา) ศักราช 944 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 10 วันอาทิตย์ พระบาทกัมรเตงกำตวน อัญศรีสุริยวรรมเทวะ มีพระบัณฑูรตรัส “พระนิยม” นี้ให้บุคคลทั้งหลายถือเป็น “สมาจาร” คือกฎที่ต้องประพฤติตามต่อไป) |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1) | 1/3 | ลพบุรี | ศานติ ภักดีคำ |
คิ นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ลกฺษมีนฺทฺร(ว)รฺมฺม ต ผฺอฺวนฺ เอกทา นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ภูเปนฺทฺรวรฺมฺม ติ วฺระ ปาท กํมรเตงฺ อญฺ ศรีชยวรฺมฺมเทว ปนฺทฺวลฺ ปิ เปฺร ปริปาลน เทวาศฺรม สมยุค นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ราเชนฺทรวรฺมฺม (คือที่พระกมรเตงอัญลักษมีนทรวรมัน ผู้น้องพร้อมด้วยพระกมรเตงอัญภูเบนทร วรมัน ได้รับพระบรมราชโองการจากพระบาทกมรเตงอัญ ศรีชยวรมันเทพ รับสั่งให้รักษาเทวาศรม ร่วมกับพระกมรเตงอัญราเชนทรวรมัน) |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 3 | 1/6 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
977 ศก มฺวายฺ โรจฺ กรฺตฺติก นุ วฺระ กํ...อาญฺ ส...คิ ปนฺทฺวลฺ ราชการฺยฺย ต มูล วล ติ เปฺร จารฺ ปฺรศสฺต (977 ศก ขึ้น 1 ค่ำ กฤติกา ฤกษ์ พระ... ดำรัสผ่าน... ให้จารึก....ไว้) |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 2 | 1/1 | นครราชสีมา | อุไรศรี วรศะริน |
978 ศก ทฺวาทศี เกตฺ มาฆ องฺคารวาร คิ นิ มานฺ ปนฺทฺวลฺ กํมฺรเตงฺ อญฺ ต เปา ไจฺรกฺ เทฺลงฺ นุ กํเสฺตงฺ อญฺ วฺระ ลํวางฺ เปฺร กํเสฺตงฺ มอางฺ ปาณฺฑิห (มหาศักราช 978 ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 3 วันอังคาร มีพระกระแสรับสั่งของกัมรเตงอัญ แก่ขุนนางผู้ใหญ่ไจรก ผู้ประกอบพิธีกรรมและกัมรเตงอัญผู้ปกครองมณฑล ให้กัมเสตงมะอางผู้เป็นบัณฑิต) |
จารึกปราสาทเขาดุม | 1/2 | บุรีรัมย์ | ศานติ ภักดีคำ |