ชุดข้อมูลจารึกคาถาเยธมฺมา
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเยธมฺมาฯ เมืองศรีเทพ |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 10 (เมืองศรีเทพ), จารึกเยธมฺมาฯ 10 (เมืองศรีเทพ), จารึกเยธมฺมาฯ จังหวัดเพชรบูรณ์, ลบ. 23, ลบ. 23, ศิลา, สี่เหลี่ยม, เมืองศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, เทิม มีเต็ม, แย้ม ประพัฒน์ทอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเสาธงทอง ลพบุรี, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2529) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/156?lang=th |
2 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ (สุพรรณบุรี) |
หลังปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 7 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 7 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, สพ. 4, สพ. 4, หลักที่ 30 จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, หลักที่ 30 จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นอิฐ, แผ่นอิฐ, สี่เหลี่ยมผืนผ้า, บ้านท่าม่วง, ตำบลจระเข้สามพัน, อำเภออู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 13-14 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/150?lang=th |
3 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนแผ่นดินเผา (สุพรรณบุรี) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกบนแผ่นดินเผา และที่ฐานพระพุทธรูป, จารึกเยธมฺมาฯ 12 (สุพรรณบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 12 (สุพรรณบุรี), สพ. 2, สพ. 2, ดินเผา, แผ่นดินเผา, ฐานพระพุทธรูป, เมืองเก่าอู่ทอง, จังหวัดสุพรรณบุรี, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ทุกข์, อริยมรรค, องค์ 8, องค์ 8, การดับทุกข์, นวพรรณ ภัทรมูล, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, Note sur les Inscriptions de Brah Pathamacetiya, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
พุทธศตวรรษ 11 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1170?lang=th |
4 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 2 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 2, จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 2), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 2), ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3203?lang=th |
5 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 1 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 1, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูปองค์เดียว) แบบที่ 1, จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 1), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ดินดิบแบบมีรูปสถูปองค์เดียว แบบที่ 1), ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/748?lang=th |
6 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 3 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ อักษรจารึกลบเลือนมาก อ่านไม่ได้ แต่เมื่อพิจารณารูปแบบของพระสถูปพิมพ์ดินดิบแล้ว เห็นได้ว่าคำจารึกน่าจะเหมือนกับ 2 ชิ้นแรก ที่มีต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 3, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 3, ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ,โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/743?lang=th |
7 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 2 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 2, ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/741?lang=th |
8 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 1 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 1, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง (แบบมีรูปสถูป 3 องค์) ชิ้นที่ 1, ดิน, พระสถูปพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/737?lang=th |
9 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปดินเผาเมืองยะรัง |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปดินเผาเมืองยะรัง, จารึกอักษรปัลลวะบนพระสถูปดินเผา (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (สถูปดินเผา), ดิน, พระสถูปดินเผา, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูป, ลักษณะ-จารึกบนพระสถูปดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/745?lang=th |
10 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา |
หลังปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), จารึกเยธมฺมาฯ 8 (ราชบุรี), หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, หลักที่ 31 จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพุทธรูปศิลา วัดมหาธาตุ ราชบุรี, รบ. 2, รบ. 2, ศิลาสีเขียว, พระพุทธรูปยืน ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, วัดเพลง, ตำบลหลุมดิน, จังหวัดราชบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
พระอุโบสถวัดมหาธาตุวรวิหาร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี |
พุทธศตวรรษ 13-14 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/152?lang=th |
11 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 3 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 3, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 3, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 3 (เมืองยะรัง), จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 3 (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 3), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 3), ดิน, พระพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/735?lang=th |
12 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 2 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 2, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 2 (เมืองยะรัง), จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 2 (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 2), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 2), ดิน, พระพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/733?lang=th |
13 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 1 |
ปัลลวะ |
จารึกบนพระพิมพ์นี้ ต้นประโยคชำรุดเล็กน้อย คำสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ 4 นั่นเอง พระอริยสัจ 4 นี้ ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 ไว้บนพระธรรมจักรด้วย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง ชิ้นที่ 1, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 1 (เมืองยะรัง), จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ดินดิบ 1 (เมืองยะรัง), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 1), จารึกเมืองยะรัง (พระพิมพ์ชิ้นที่ 1), ดิน, พระพิมพ์ดินดิบ, โบราณสถานเมืองยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, ตรงใจ หุตางกูร, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ชะเอม แก้วคล้าย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินดิบ, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินดิบ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา |
พุทธศตวรรษ 12 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/731?lang=th |
14 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 2 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 2, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 2, จารึกอักษรปัลลวะบนพระพิมพ์ 5 (เขาศรีวิชัย), พระเม็ดกระดุมศรีวิชัย, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผา, พิมพ์ต้อ, บริเวณวัดเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ทรงวิทย์ แก้วศรี, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12-13 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/752?lang=th |
15 |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 1 |
ปัลลวะ |
เป็นคาถาว่าด้วยเหตุเกิดและทางดับทุกข์ทั้งหลาย |
จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 1, จารึกเยธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย 1, พระเม็ดกระดุมศรีวิชัย, ดินเผา, พระพิมพ์ดินเผา, พิมพ์ต้อ, บริเวณวัดเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ศรีวิชัย, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม พระอริยสัจ 4, ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค, นวพรรณ ภัทรมูล, ทรงวิทย์ แก้วศรี, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12-13, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรศรีวิชัย, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์, ลักษณะ-จารึกบนพระพิมพ์ดินเผา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12-13 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/750?lang=th |
16 |
จารึกเยธมฺมาฯ ที่ศาลเจ้า |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ ที่ศาลเจ้า, นฐ. 10, นฐ. 10, จารึกบนแผ่นศิลาที่ศาลา ในบริเวณพระปฐมเจดีย์, ศิลา, แผ่นศิลา, บริเวณสถูปใกล้องค์พระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณะ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
ไม่ปรากฏหลักฐาน |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/148?lang=th |
17 |
จารึกเยธมฺมาฯ 5 (พระองค์ภาณุฯ 2) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 5 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 5 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 5 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 2), จารึกเยธมฺมาฯ 5 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 2), นฐ. 6, นฐ. 6, ศิลา, แม่หินบด, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณะ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแม่หินบด, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/146?lang=th |
18 |
จารึกเยธมฺมาฯ 4 (พระองค์ภาณุฯ 1) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 4 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 4 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 4 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 1), จารึกเยธมฺมาฯ 4 (พระองค์เจ้าภาณุฯ 1), นฐ. 5, นฐ. 5, ศิลา, แม่หินบด, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ประสาร บุญประคอง, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแม่หินบด, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/90?lang=th |
19 |
จารึกเยธมฺมาฯ 3 (หน้าศาลเจ้าฯ) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 3 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 3 (นครปฐม), ศิลาจารึกที่ศาลเจ้า พระปฐมเจดีย์, จารึกบนแผ่นศิลา ที่ศาลาในบริเวณพระปฐมเจดีย์, จารึกเยธมฺมาฯ 3 (หน้าศาลเจ้า), จารึกเยธมฺมาฯ 3 (หน้าศาลเจ้า), นฐ. 4, นฐ. 4, ศิลา, สี่เหลี่ยม, ศาลเจ้าหน้าพระอุโบสถ, พระปฐมเจดีย์, ตำบลพระปฐมเจดีย์, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณะ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 : จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ และประเทศราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
ศาลเจ้าหน้าพระอุโบสถ ข้างองค์พระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/88?lang=th |
20 |
จารึกเยธมฺมาฯ 2 บนสถูปศิลา |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217) |
จารึกเยธมฺมาฯ 2 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 2 (นครปฐม), หลักที่ 32 จารึกเยธมฺมาฯ บนสถูปศิลา, หลักที่ 32 จารึกเยธมฺมาฯ บนสถูปศิลา, นฐ. 3, นฐ. 3, ศิลาสีเขียว, สถูปทรงบาตรคว่ำ, คอระฆัง, พระปฐมเจดีย์, จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, ชะเอม แก้วคล้าย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสถูป, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/76?lang=th |
21 |
จารึกเยธมฺมาฯ 1 (ระเบียงด้านขวาองค์พระปฐมเจดีย์) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 1 (ระเบียงด้านขวาองค์พระปฐมเจดีย์), จารึกเยธมฺมาฯ 1 (ระเบียงด้านขวาองค์พระปฐมเจดีย์), นฐ. 2, นฐ. 2, จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม), จารึกเยธมฺมาฯ 1 (นครปฐม), จารึกเยธัมมาฯ 1 (นครปฐม), จารึกเยธัมมาฯ 1 (นครปฐม), หินอัคนี, ระเบียงองค์พระปฐมเจดีย์ บริเวณพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม, ทวารวดี, พระตถาคต, พระมหาสมณะ, พระพุทธเจ้า, พุทธศาสนา, ธรรม, เยธรรมมา, เยธัมมา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ชะเอม แก้วคล้าย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหินอัคนี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
วัดพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/54?lang=th |
22 |
จารึกเยธมฺมาฯ (พบ. 2) |
ปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ (พบ. 2), จารึกเยธมฺมาฯ (พบ. 2), จารึกเยธมฺมาฯ 11 (ภาพสำเนา), จารึกเยธมฺมาฯ 11 (ภาพสำเนา), พบ. 2, พบ. 2, สำเนากระดาษเพลา, ยาวรีอาณาจักร: ทวารวดี, พระตถาคต, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณ, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
งานทะเบียนและคลังพิพิธภัณฑ์ กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/158?lang=th |
23 |
จารึกเมืองพรหมทิน 1 |
หลังปัลลวะ |
คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นคาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา โดยมีเรื่องย่อว่า “สมัยนั้น สัญชัยปริพาชก (ปริพาชก คือ นักบวชที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชกหมู่ใหญ่ จำนวน 250 คน และสมัยนั้น สารีบุตรและโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสำนักสัญชัยปริพาชก ต่างทำกติกากันว่า ใครได้บรรลุอมตธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหนึ่ง สารีบุตรปริพาชกได้เห็นพระอัสสชิเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ เพื่อบิณฑบาต มีความเลื่อมใสในความสงบเสงี่ยมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึงหลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น สารีบุตรได้ฟังก็ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วนำมาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปริพาชก 250 คน เพื่อจะไปบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านั้นขอไปด้วย จึงพร้อมกันไปลาสัญชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง 3 ครั้ง แต่สาริบุตรกับโมคคัลลานะไม่ยอม คงลาไป พร้อมทั้งปริพาชก อีก 250 คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเป็นโลหิต เมื่อปริพาชกทั้งหลาย ได้ไปเฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก เล่ม 4, 2539, หน้า 217)” |
จารึกเยธมฺมาฯ 9 (เมืองพรหมทิน), จารึกเยธมฺมาฯ 9 (เมืองพรหมทิน), จารึกเมืองพรหมทิน 1, จารึกเมืองพรหมทิน 1, ลบ. 16, ลบ. 16, ศิลา, สี่เหลี่ยมผืนผ้า, บ้านพรหมทิน, ตำบลหลุมข้าว, อำเภอโคกสำโรง, จังหวัดลพบุรี, ทวารวดี, พระตถาคตเจ้า, พระพุทธเจ้า, พระมหาสมณเจ้า, พุทธศาสนา, เยธัมมา, เยธรรมมา, ธรรม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 : จารึกทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, เทิม มีเต็ม, แสง มนวิทูร, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, เทิม มีเต็ม, แสง มนวิทูร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14, สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน, มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์, พระวินัยปิฎก เล่ม 4 มหาวรรค ภาค 1 และ อรรถกถา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกบ้านพรหมทินใต้ ลพบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 13 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/154?lang=th |
24 |
จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน |
หลังปัลลวะ |
เนื้อหาของจารึกเป็นคาถา เย ธมฺมา ตอนท้ายเป็นภาษามอญกล่าวถึงพระบุญ ศาลา และวิหาร |
จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน, ดินเผา, สถูปจำลอง, ทวารวดี, พุทธศาสนา, คาถาเยธมฺมา, ธรรม, เหตุ, พระตถาคตเจ้า, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, พงศ์เกษม สนธิไทย, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 6, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนดิน, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนสถูปจำลอง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดหนองกระโดน นครสวรรค์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เย ธมฺมาฯ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, |
วัดหนองกระโดน ตำบลหนองกระโดน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ |
พุทธศตวรรษ 14 |
บาลี,มอญโบราณ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2427?lang=th |
25 |
จารึกซับจำปา 1 |
ปัลลวะ |
จารึกเสาแปดเหลี่ยมหลักนี้ ประกอบด้วยคาถาจากพระไตรปิฎกที่สำคัญ 4 คาถา คือ (1) คาถาเย ธมฺมาฯ (2) คำพรรณนาถึงพระอริยสัจ 4 (3) พุทธอุทาน (4) คาถาธรรมบท |
จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา), จารึกเสาแปดเหลี่ยม 1 (ซับจำปา), ลบ. 17, ลบ.17, จารึกหลักใหม่จากบริเวณจังหวัดลพบุรี, จารึกเมืองซับจำปา 1, จารึกซับจำปา 1, จารึกเมืองซับจำปา 1, จารึกซับจำปา 1, ศิลา, เสาแปดเหลี่ยม, บ้านซับจำปา, ตำบลซับจำปา, อำเภอท่าหลวง, จังหวัดลพบุรี, อำเภอชัยบาดาล , ทวารวดี, พระคถาคต, พระมหาสมณะ, พระพุทธเจ้า, พราหมณ์, มาร, เสนา, นายช่าง, พุทธศาสนา, เย ธมฺมาฯ, เย ธมมาฯ, เย ธัมมาฯ, อริยสัจ 4, อริยสัจ 4, พุทธอุทาน, ปฏิจจสมุปบาท, ธรรมบท, ธรรม, เหตุ, ทุกข์, ธรรมจักร, ญาณ, ความหยั่งรู้, ความจริง, กิจ, อาการ 12, อาการ 12, ปัจจัย, สังสารวัฏ, ชาติ, จันทัน, นิพพาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, อุไรศรี วรศะริน, อัญชนา จิตสุทธิญาณ, ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย เล่ม 2, จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-อริยสัจ 4, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-เยธมฺมาฯ, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-พุทธอุทาน, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (สำรวจเมื่อ 17-20 มีนาคม 2560) |
พุทธศตวรรษ 12 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/290?lang=th |