ศัพทานุกรมจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ศัพทานุกรมจารึก

ผลลัพท์การค้นหา

"โนะ"

จำนวน 15 รายการ

ตัวอย่าง ปรากฏใน ด/บ จังหวัด ผู้ให้ความหมาย
โดง โนะ เทบ สฺดจ ลีลา จฺวล เสฺวย พฺระราช … ทย ไอศฺวรฺยฺยาธิปไตย ด สฺรุก สุโขทย เนะ โสฺนง พฺระชนก พระชี วิง รฺวด…กฺษตฺร โผง มาน ด จตุราทิศ สฺยง มาน …นำ..มกุต..ขนชยศฺรีย เสฺวตฉตฺร…อภิเษก โอย นาม พฺระบาท กมฺรเดงอญ ศฺรีศฺรฺยฺย พงฺศราม มหาธรฺมฺมราชาธิราช เสฺวย…
(บัดนั้น จึงเสด็จพระราชดำเนินเข้าเสวยราชย์…ไอสูรยาธิปัตย์ ในเมืองสุโขทัยนี้แทนพระบิดา พระอัยกา…กษัตริย์ทั้งหลาย ซึ่งมีในทิศทั้ง 4... นำ..มกุฏ..พระขรรค์ชัยศรี และเศวตฉัตร อภิเษกแล้วถวายพระนามว่า พระบาทกัมรเดงอัญ ศรีสุริยพงศรามมหาธรรมราชาธิราช เสวย…)
จารึกวัดป่ามะม่วง (ภาษาเขมร) 1/7 สุโขทัย อำไพ คำโท
ริ วฺระ วุทฺธโลเกศฺวร ต ปฺรํปฺวานฺน ติ กํเสฺตงฺ ศฺรีสตฺยวรฺม ต มานฺ สิทฺธิ สฺถาปนำ เวฺรงฺ  เล อภยคิริ เตํ กํ ปิ ชวา อากฺรานฺต  สฺรุกฺ เขฺมรฺ  วฺระ โนะ สฺยงฺ ตนุ ตฺวลฺล เทา โทงฺ
(ส่วนพระพุทธโลเกศวรองค์ประเสริฐ ที่กัมรเตง ศรีสัตยวรมัน ผู้มีความปรารถนาดี ได้สถาปนาไว้บนอภัยคีรีเป็นครั้งแรก เพื่อมิให้ชวามารุกรานสรุกเขมร และยกเอาพระนั้นไป)
จารึกบ้านซับบาก 1/32 บุรีรัมย์ ชะเอม คล้ายแก้ว และบุญเลิศ เสนานนท์
โลฺวะ ต ราช วฺระ ปาท ปรมนิรฺวฺวาณปท ต คิ 965 ศก โนะ โฉฺลญฺ มาธว ถฺวายฺ สํนฺวตฺต วฺระ ปาท ปรมนิรฺวฺวาณปท โอยฺ จํณตฺ โนะ นุ ขฺญุํ โนะ โผงฺ ต ธูลิ เชงฺ วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ศฺรีชเยนฺทฺรวรฺมฺม สิทฺธิ.
(ในรัชสมัยของพระบาทบรมนิรวาณบท (สูรยวรมันที่ 1) ศักราช 965 มาธวะได้กราบบังคมทูลขอให้พระองค์ทรงพระราชทานเทวสถานคืนให้แก่ชเยนทรวรมัน)
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 4/79 สระแก้ว ศานติ ภักดีคำ
มนฺ วฺระปาท ปรเมศฺวร ปฺรติษฺฐา กมฺรเตงฺ ชคตฺ ต ราช อฺเนา นครศฺรีมาเหนฺทฺรปรฺวฺวต o วฺระปาท ปรเมศฺวร กลฺปนา สนฺตาน อฺนกฺ สฺตุกฺ รนฺสิ . ภทฺรปตฺตน คิ ต ชา สฺมิงฺ นา กมฺรเตงฺ ชคตฺ ต ราช ปฺรทฺวนฺนฺ เทา o วฺระ วรศาป วฺวมฺ อาจฺ ติ มานฺ อฺนกฺกฺ ต ใท ติ ต สิงฺ นา กมฺรเตงฺ ชคตฺ ต ราช ปฺร . เลงฺ สนฺตาน อฺนกฺ โนะ คุสฺสฺ .
(พระบาทปรเมศวร (พระเจ้าชัยวรมันที่ 2) ได้ประดิษฐานพระเทวราชไว้ในนครศรีมเหนทรบรรพต แล้วทรงสถาปนาสกุล สตุก รันสิ และภัทรปัตตนะ ไว้ในฐานะผู้ปฏิบัติพระเทวราช พระองค์ทรงมีพระบรมราชโองการว่า นอกจากสกุลนี้แล้ว สกุลอื่นจะอยู่ปฏิบัติพระเทวราชไม่ได้)
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 3/58 สระแก้ว พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
...วฺนุรฺ ทฺนงฺ ...
...งฺ ปริปาลนจํ...
...(ปฺร) ติษฺฐา ... อฺนกฺ
...สฺวรฺคฺ คาปฺ วรฺคฺคฺค o ริตจิห...
...(สฺต) มฺภ เนะ อฺนกฺ โนะ เทา...
...ต นรก ตราปฺ วฺระจนฺทฺรา ทิตฺย มานฺ เลยฺ
(...พะนุรทะนง...
...รักษาไว้...
...ประดิษฐานไว้...
...ได้ขึ้นสวรรค์ และหลุดพ้น
...(ผู้ใดทำลาย) หลักศิลานี้ ผู้นั้นจงไป
...ตกนรก ตราปเท่าที่พระจันทร์ พระอาทิตย์ยังมีอยู่)
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 2/5 ศรีสะเกษ อำไพ คำโท
กมฺรเตงฺ ชคตฺ ศฺรีภเทฺรศฺวร คิ โระหฺ วฺระ โศฺลก วฺระ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ศฺรีสูรฺยฺยวรฺมฺมเทว ทุกฺ ปิ เปฺร จารฺ ต เหมโทลา โนะ นุ ทฺรวฺย ต โระหฺ โนะ โผงฺ ปิ ชฺวนฺ ต เทวตาเกฺษตฺร โผงฺ สปฺ อนฺเล
(กัมรเตงชคตศรีภัทเรศวร ดังพระราชนิพนธ์ของพระบาทกัมรเตงอัญศรีสุริยวรมันเทวะ ทรงนิพนธ์ไว้ และทรงรับสั่งให้จารไว้ที่เสลี่ยงทอง และพร้อมทั้งถวายทรัพย์สินเหล่านี้ด้วย เพื่อที่จะส่งไปถวายแก่เทวสถานทุกๆ แห่ง)
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 1/40 ศรีสะเกษ อำไพ คำโท
รงฺโก เช 1 ขฺญุํ เถฺว กลฺปณา โนะ ไต กนฺโส ไต กนฺโส โสตฺ ไต กํวฺฤกฺ
(ข้าวสาร 1 กระบุง ข้าที่ทำกัลปนานั้น มีไตกันโส ไตกันโสอีก  ไตกำพฤก)
จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ 1/9 ศรีสะเกษ อำไพ คำโท
มนฺ โนะ รตฺ วาปฺ เรา โยกฺ ใต กํปิตฺ โอยฺ ปํเร ต ปนฺลาสฺ ใต กนฺหฺยงฺ ... ปฺรติเษธ คิ อรฺถี ต โระหฺ เนะหฺ
(เมื่อกันไตเหียงหนีไปแล้ว วาบเราได้ยกไตกำบิดให้ไปรับใช้แทนไตกันเหียง ... ปฏิเสธคำกล่าวหาในเรื่องนั้น)
จารึกทวลระลมทิม 1/10 สระแก้ว อุไรศรี วรศะริน
กลฺปนา กํมฺรเตงฺ อญฺ วฺระ คุรุ ต จตุราจารฺยฺย โนะ เทา ต กํมฺรเตงฺ ชคตฺ ลิงฺคปุร
(ควรกัลปนา กัมรเตงอัญ พระคุรุ ผู้เป็นจตุราจารย์เหล่านี้ ที่ไปสู่ กัมรเตงชคัตลิงคปุระ)
จารึกปราสาทเมืองแขก 1 1/21 นครราชสีมา พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับพระยาอนุมานราชธน
วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ศฺรีปรมวาสุ(เทว) เนาว โนะ ผล มนฺ อญฺ อุนฺมิ ลิต วฺระ (ะ ก)มรเตงฺ อญฺ ปิ เถฺว ปูชา อญฺ โอยฺ - - -
((พระเทวรูป) พระกัมรเตงอัญศรีบรมวาสุเทพ ซึ่งอยู่นั้น แลผลประโยชน์ซึ่งข้าพเจ้าได้ถวายพระกัมรเตงอัญ (ศรีบรมวาสุเทพ) เมื่อได้ทำสักการบูชาฉลอง (พระรูปนั้น))
จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี 1/6 ลพบุรี อุไรศรี วรศะริน
เถฺลงฺ ต ชา วฺระ รุํ ต โวลฺ  โนะ  นุ อฺนกฺ ต วฺวํ เถฺว โตยฺ วฺระ กรุณา ต ปรมปวิตฺร  ปิ นุ วิวิธทานฺฑ
(บทแถลง เป็นประกาศที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งประชาชนไม่ควรฝ่าฝืน (เพราะออก) โดยพระกรุณาบรมบพิตร พร้อมทั้งระบุโทษต่างๆ)
จารึกปราสาทโตนตวล 1 1/5 ศรีสะเกษ ชะเอม คล้ายแก้ว
สงฺ สฺวตฺ วฺระ ธรฺมฺมศาสฺตฺร ปนฺทฺวลฺ วฺระ อาลกฺษณ ต ผํ โขฺลญฺ สฺวายฺ ต วฺระ สภา นุ ปฺรติหร เปฺร เทา สงฺโคลฺ ต ภูมิ โนะ จุญฺ กํเสฺตง ศฺรีราเชนฺทฺราทิตฺย ต มานฺ ปฺรมานฺ . .
((ให้) ตั้งสาธยายพระธรรมศาสตร์ประกาศพระอาลักษณ์แก่โขลญสวายทั้งปวงที่พระสภาและพระปรติหระ  ให้ไปปักเขตที่ดินครั้งนี้ (ให้) เอาใจใส่งาน กัมเสตง ศรีราเชนทราทิตยซึ่งได้รับที่ดิน)
จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 1/10 สุรินทร์ ศานติ ภักดีคำ
1105 ศก โถะ นกฺษตฺร ต ตปะสกฺติ กมฺรเตงฺ อญฺ มหาราช ศฺรีมตฺไตฺรโลกฺยราชเมาลิภูษฺณพรฺมฺมเทว ปิ เกตฺ เชฺยษฺฐ โนะ พุทฺธพาร
(ศักราช 1105 เถาะนักษัตร มีพระราชโองการ กัมรเดงอัญ มหาราช ศรีมัตไตรโลกยราชเมาลิภูษณวรรมเทวะ  ขึ้น 3 ค่ำ เชฏฐมาส (เดือน 7) วันพุธ)
จารึกบนฐานพระพุทธรูปวัดหัวเวียง 1/2 กรุงเทพมหานคร พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน
เนา รุวฺ อฺนกฺ ต จฺวลฺ สำ ปิ ตมะ ตโปวนาวาส โนะ ปิ เถฺว กงฺวลฺ ปิ วฺวํ อํปานฺ ปิ ตปสฺวิ โยคิ. โผงฺ สฺวตฺ มนฺตฺร ปิ นุ ถฺวายฺ ตปะ ต วฺระ ปาท กํมฺรเตงฺ กํตฺวนฺ อญฺ ศฺรี สูรฺยฺยวรฺมฺมเทว ติ เปฺร จาปฺ ปิ นำ จุญฺ ต สภา สฺตปฺ วฺยวหาร นิรฺณฺณย โตยฺ อุตฺตมสาห
(ถ้าผู้ใดเข้ามาทำทุราจารใน “ตโบวนาวาส” ต่างๆ และมารบกวนดาบสซึ่งถือโยคธรรม ไม่ให้เขาสวดมนต์ถวายตปะแด่พระบาทกัมรเตงกำตวนอัญศรีสุริยวรรมเทวะ โปรดเกล้าฯ ให้จับผู้นั้นมานำขึ้น ศาลสภา เพื่อจะได้ฟังคดีที่ควรจะถูกตัดสินอย่างเคร่งที่สุด)
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1) 1/10 ลพบุรี พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับพระยาอนุมานราชธน
ขญุํ ต อาศฺรม โนะ คิ ต ตํตำมฺ ยชฺญ โนะจุะ วิงฺ ต อาศฺรม
(ข้าสำหรับอาศรมอยู่ประจำที่บูชา สิ่งของเหล่านี้เป็นของอาศรม)
จารึกอุบมุง 1/18 อุบลราชธานี พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน