817 |
กมรเตงชคต (5)
|
กมฺรเตงฺชคตฺ |
น. |
คำว่า “กมรเตง” เป็นภาษาขอมแปลว่า เป็นเจ้า โดยปริยายหมายว่าเป็นที่เคารพนับถือเช่นพระเจ้าแผ่นดินและครูอาจารย์เป็นต้น ส่วนคำว่า “ชคต” นั้นเป็นภาษาสันสกฤตแปลว่า สัตว์โลกหรือปวงชน “กมรเตงชคต” แปลว่า เป็นเจ้าแห่งสัตว์โลกหรือเป็นเจ้าแห่งปวงชน (ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อรูปเคารพประจำศาสนสถาน เช่น กมรเตงชคตวิมาย หมายถึง เทพเจ้าแห่งวิมาย หรือพระผู้เป็นเจ้าแห่งวิมาย) |
ส. |
818 |
ปิ (8)
|
ปิ, ปี |
สัน. |
แล้ว, แล้วก็ |
ข. |
819 |
บัญชี (7)
|
ปาญชีย, ปาญฺชี, ปาญฺชีย |
น. |
บัญชี |
ข. |
820 |
เนะ (29)
|
เนะ |
ว. |
นี้ |
ข. |
821 |
บาทมูล (2)
|
ปาทมูล |
น. |
ข้าบาทมูล = ข้าราชการในพระราชสำนัก, ข้ารองบาท, ข้ารับใช้ |
ข. |
822 |
อฺนกฺ (18)
|
อฺนกฺ |
น. |
คน, ท่าน, ผู้ |
ข. |
823 |
เพงฺ (1)
|
เพงฺ |
น. |
ถ้วย |
ข. |
824 |
ปราก (12)
|
ปฺราก, ปฺรกฺ, ปฺรากฺ |
น. |
เงิน |
ข. |
825 |
ดำรี (5)
|
ตมฺรฺย, ตํมฺรฺฤ |
น. |
ช้าง |
ข. |
826 |
สต มฺวยฺ (1)
|
สต มฺวยฺ |
น. |
(สต = 100, มฺวยฺ = 1) เห็นว่าน่าจะแปลว่า 100 มากกว่า |
ข. |
827 |
ผู้มีวรรณทุกเหล่า (1)
|
ผู้มีวรรณทุกเหล่า |
น. |
วรรณทั้ง 4 คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร |
ท. |
828 |
ชุม (2)
|
ชุํ |
น. |
รอบ |
ข. |
829 |
ศิวิกา (1)
|
ศีวิกา |
น. |
วอ, เสลี่ยง, คานหาม |
ส. |
830 |
อังกร (1)
|
องฺกร |
น. |
ข้าวสาร |
ข. |
831 |
ลิ (6)
|
ลิ, ลิะ |
น. |
มาตราชั่งตวงของขอมในสมัยโบราณ |
ข. |
832 |
ปวน ตป (1)
|
ปฺวนฺ ตปฺ |
น. |
(ปฺวนฺ = 4, ตปฺ = 10) คือ 40, สี่สิบ |
ข. |
833 |
เสนาบดี (6)
|
เสนาปตี |
น. |
บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งเสนา, บุคคลผู้เป็นเจ้าแห่งเสนา, ขุนพล, นายพล, เสนาผู้ใหญ่ |
ส. |
834 |
ศาสน (14)
|
ศาสน |
น. |
พระบรมราชโองการ |
ข. |
835 |
โมก (10)
|
โมกฺ |
ก. |
มา |
ข. |
836 |
กรุงสุนัต (1)
|
กุรุงฺ สุนตฺ |
น. |
พระเจ้าสุนัต |
ข. |
837 |
นา (25)
|
นา |
บ. |
ณ, หน้า, ใน |
ข. |
838 |
บัณฑูร (27)
|
ปนฺทฺวลฺ, บนฺทฺวล, ปนฺฑูล, บนฺทูล, บันทูล |
น. |
บัณฑูร, สั่ง, พระราชบัณฑูร, พระราชดำรัส, พระบรมราชโองการ, พระดำรัส |
ข. |
839 |
เปร (25)
|
เปฺร |
ก. |
บำเรอ; ใช้ |
ข. |
840 |
ทิก (3)
|
ทิก, ทิกฺ |
น. |
“ทิก” ซึ่งขอมเขียน “ทึก” เขาอ่านว่า “ตึ๊ก” แปลว่า “น้ำ” เช่น “น้ำสอง” ก็หมายความว่า “น้ำสอง (จำนวน)” และคำว่า “น้ำ” หรือ “ตึ๊ก” นี้ ขอมอาจใช้เป็นมาตรานับอย่างนาฬิกาก็ได้ เช่น “น้ำสอง” ก็หมายความว่า “เวลาสองชั่วโมง” ที่แปลเช่นนี้ก็เพราะในจารึกไม่มีคำกริยา จึงไม่ทราบว่า “ตึ๊ก” จะแปลว่าอะไรจึงจะได้ความ คือถ้ามีคำกริยาว่า “ถวาย” เราก็แปลว่า “ถวายน้ำสอง (จำนวน) ในเพลาวันหนึ่ง” หรือมีคำว่า “สักการ” เราก็จะแปลว่า “สักการสองชั่วโมงในเพลาวันหนึ่ง” หรือ “สักการวันละสองชั่วโมง” |
ข. |