ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่

ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2565 15:03:44 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 09:55:41 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกเจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2102 เจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้วและเจ้าพวกดาบเรือนลอนพญาได้ไหว้พระเป็นเจ้า ณ โรงคำ บ้านหลอง กราบทูลเรื่องการถวายทานของชาวบ้านบ้านออกแพ และมีการให้ประดิษฐานแผ่นศิลาจารึกรายนามผู้บริจาคและสักขีพยาน หากผู้ใดมายักยอกลักเสียซึ่งของบริจาคเหล่านี้ขอให้ตกนรกอเวจี

ชม. 5 จารึกกานโถมเวียงกุมกาม, ชม. 5 จารึกกานโถมเวียงกุมกาม, ชม. 5 จารึกเจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว พ.ศ. 2102, ชม. 5 จารึกเจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว พ.ศ. 2102, ชม. 5, ชม. 5, 1.2.1.1 วัดหลวง พ.ศ. 2103, 1.2.1.1 วัดหลวง พ.ศ. 2103, วัดช้างค้ำเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงแสน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2102, อายุ-จารึก พ.ศ. 2103, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าแสนดาบเรือนหน่อแก้ว, บุคคล-เจ้าพวกดาบเรือนลอนพญา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2102

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13050?lang=th

2

จารึกสุวรรณปราสาท

ธรรมล้านนา,ฝักขาม

ข้อความจารึกด้านที่ 1 กล่าวถึงพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, พระอัครราชเทวี และพระราชโอรส ว่าทรงมีความเลื่อมใสในพุทธศาสนา จึงมีบัญชาให้สร้างปราสาทตกแต่งด้วยทองคำ, สร้างพระพุทธรูป และนิมนต์พระพุทธธาตุเจ้ามาประดิษฐานไว้ ณ สุวรรณปราสาท ส่วนข้อความจารึกด้านที่สอง เป็นคำอธิษฐาน ภาษาบาลี

ชม. 8 จารึกพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, ชม. 8 จารึกพระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, จารึกบนแผ่นไม้สัก ในพุทธสถาน อักษรไทย (ฝักขาม) และไทยเหนือ ภาษาไทยและบาลี จ.ศ. 1166, จารึกบนแผ่นไม้สัก ในพุทธสถาน อักษรไทย (ฝักขาม) และไทยเหนือ ภาษาไทยและบาลี จ.ศ. 1166, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, พ.ศ. 2347, พุทธศักราช 2347, จ.ศ. 1166, จุลศักราชได้ 1166, ไม้สัก, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จเสฏฐาบรมบพิตรราชาราชเจ้า, พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, องค์สุรศักดิ์สมญามหาอุติตยราชชาติราไชยศาคต, เจ้าขันธเสมาพิงตราเชียงใหม่, ราชโอรสาบุตรอุตมสิเนหา, อัครราชเทวี, พระอรหัต, สุวรรณคำ, ผอบแก้ว, พระพุทธธาตุเจ้า, ทอง, อริยทรัพย์, อวโกธะ, โภคทรัพย์, แก้วมณี, พิงไชย, พุทธศาสนา, สุวรรณปราสาท, พระตำนงค์, ทำทาน, สร้างปราสาท, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระศุกร์, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, พระพุธ, พระราหู, ราศีมังกร, พระพฤหัสบดี, ราศีพิจิก, พระเสาร์, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีเมษ, ดิถี, นาที, ฤกษ์, ปีกาบไจ้, มาฆมาส, ปุรณมี, ไทยภาษา, เพ็ง, เม็ง, กดไจ้, เทวดา, เตโช, ราศีมีน, ราชธรรม, จิตรกรรม, ลายดอก, สังสารวัฏ, มงคลสามสิบแปด, บุญ, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ทองสืบ ศุภะมาร์ค, ศิลปากร, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2347, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การสร้างปราสาท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพสำเนารึกจาก : วารสารศิลปากร ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 (มีนาคม 2515)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2347

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2156?lang=th

3

จารึกวัดแก้วหลาด

ฝักขาม

ปี พ.ศ. 2040 พระมหาราชเทวีเป็นเจ้า ได้แต่งตั้งข้าพระไว้เพื่อปฏิบัติดูแลพระพุทธรูป ณ วัดแก้วหลาด

ชม. 4 จารึกวัดแก้วหลาด, ชม. 4 จารึกวัดแก้วหลาด, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามภาษาไทย จ.ศ. 859, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขามภาษาไทย จ.ศ. 859, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, พ.ศ. 2040, พุทธศักราช 2040, จ.ศ. 859, จุลศักราช 859, จ.ศ. 859, พุทธศักราช 859, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พุทธสถานเชียงใหม่, ตำบลช้างคลาน, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาเทวีเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, พันรักสา, เจ้าพวกต้องแต้มญานคงคำ, พระมหาราชเทวีเป็นเจ้า, ช่างดาบเรือน, ชาวหนอย, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าขุน, พระเป็นเจ้า, คำพลอย, ควาญช้าง, ข้าหมื่นดง, เฒ่า, ปากรัตนาเรือน, เจ้าวัดแก้วหลาด, มหาเถรเจ้าญาณรังสี, แสเขาพัน, ห้าสิบนารอด, ข้าพระ, พุทธศาสนา, วัดแก้วหลาด, ฝังจารึก, ขัตตฤกษ์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีพิจิก, ลัคนา, พระเสาร์, ราศีมีน, พระราหู, ราศีกรกฎ, ปีมะเส็ง, วันเมิงไส้, วันเปลิกสง้า, วันเปิกสง้า, ครัว, พระพุทธรูป, อาชญา, บุญ, ปีระวายสี, ออก, วันไทยเมิงไก๊, เม็ง, มอญ, วันเปิกซง้า, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, กรรณิการ์ วิมลเกษม, อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2040, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2040

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1430?lang=th

4

จารึกวัดเชียงสา

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2096 สมเด็จพระบรมบพิตรองค์เสวยราชย์ทั้ง 2 แผ่นดินล้านช้าง-ล้านนา ได้ถวายที่ดินและข้าวัดแด่วัดเชียงสา ที่ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขง

ชม. 7 จารึกกษัตริย์ล้านช้างล้านนา, ชม. 7 จารึกกษัตริย์ล้านช้างล้านนา, ชม. 7 จารึกวัดเชียงสา พ.ศ. 2096, ชม. 7 จารึกวัดเชียงสา พ.ศ. 2096, 1.4.1.1 วัดเชียงสา พ.ศ. 2097, 1.4.1.1 วัดเชียงสา พ.ศ. 2097, พุทธสถานเชียงใหม่ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 4 : จารึกในพิพิธภัณฑ์ฯ เชียงใหม่, อายุ-จารึก พ.ศ. 2096, อายุ-จารึก พ.ศ. 2097, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้พม่า-พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-มหาสามีญาณคัมภีระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2096

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/13074?lang=th

5

จารึกวัดอุทุมพรอาราม

ฝักขาม

เมื่อ พ.ศ. 2045 สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีเจ้าได้ให้น้องพระเป็นเจ้า เจ้าพวกญานะคงคาต้องแต้ม และเจ้าพันเชาพุดร่วมกันประดิษฐานศิลาจารึกเพื่อประกาศรายชื่อข้าพระที่ถวายวัดอุทุมพร ห้ามมิให้ผู้ใดนำไปใช้ในงานอื่น

ชม. 175 จารึกวัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, ชม. 175 จารึกวัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, ชม. 175, ชม. 175, 1.4.1.1 วัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, 1.4.1.1 วัดอุทุมพรอาราม พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พุทธศักราช 2045, จุลศักราช 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จ.ศ. 864, ปูนหล่อ, เศษชิ้นส่วน, สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว, เจ้าพวกญาณะคงคาต้องแต้ม, เจ้าพันเชาพุด, นายไส, เจ้าสิบคำดาบเริน, เจ้าพันนาหลังญาณะวิสารอด, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนปูนหล่อ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นชิ้นส่วน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2045

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15675?lang=th

6

จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรพิตร

ฝักขาม

พ.ศ. 2005 พระมหาเถรสัทธรรมไตรพิตรวิจิตรปิฎกสารเป็งโญเจ้า ประธานฝ่ายสงฆ์ ได้แจ้งเจ้าพันจ่าบ้านให้ขออนุญาตใครบางคนเพื่อทำกิจอะไรบางอย่าง ข้อความจารึกต่อจากนี้ขาดหายไปไม่สมบูรณ์

ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรฯ, ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรฯ, 1.5.1.1 วัดดงตุ้มหลุ้ม พ.ศ. 2005, 1.5.1.1 วัดดงตุ้มหลุ้ม พ.ศ. 2005, ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรพิตร พ.ศ. 2005, ชม. 52 จารึกมหาเถรสัทธรรมไตรพิตร พ.ศ. 2005, ชม. 52, ชม. 21, พ.ศ. 2005, พุทธศักราช 2005, พ.ศ. 2005, พุทธศักราช 2005, จ.ศ. 824, จุลศักราช 824, จ.ศ. 824, จุลศักราช 824, หินทรายสีเทา, รูบใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2005, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระมหาเถรสัทธรรมไตรพิตรวิจิตรปิฎกสารเป็งโญเจ้า

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2005

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15630?lang=th

7

จารึกพุทธศตวรรษที่ 21

ฝักขาม

กล่าวถึงการถวายข้าพระและที่นาให้กับวัดนี้ โดยมีรายชื่อผู้ถวายและจำนวนข้าพระที่ถวายในจารึกด้วย
(เนื้อหาของจารึกเหมือนกับจารึกวัดกู่เสาหิน ด้านที่ 2)

ชม. 10 จารึกแสนเข้าไสแสนเข้าอิน, ชม. 10 จารึกแสนเข้าไสแสนเข้าอิน, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ชม. 10, ชม. 10, พุทธศตวรรษที่ 21, พุทธศตวรรษที่ 21, วัดขันทอง (หรือขันหอม?) ตำบลวังเหนือ อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง, หินทรายสีเทา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศตวรรษ 21

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/12891?lang=th

8

จารึกพระพุทธบาทไม้มุก

ธรรมล้านนา,มอญ,เทวนาครี

ด้านที่ 1 พระนามของอดีตพุทธ ได้แก่ พระพุทธกกุสนธ์ กัสสปะ และโกนาคมน์ ชื่อของสวรรค์ชั้นต่างๆและชื่อสัตว์หิมพานต์ เป็นต้น ด้านที่ 2 กล่าวถึงการบูรณะพระพุทธบาทในจุลศักราช 1156 (พ.ศ. 2337)

จารึกพระพุทธบาทไม้มุก, ชม. 65, ชม. 65, พุทธศตวรรษที่ 21, จุลศักราช 1156, พุทธศักราช 2337, พ.ศ. 1337, จ.ศ. 1337, พุทธศตวรรษที่ 21, จุลศักราช 1156, พุทธศักราช 2337, พ.ศ. 1337, จ.ศ. 1337, ไม้, พระพุทธบาท, วิหารลายคำ วัดพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่, ล้านนา, พระเจ้ากาวิละ, เจ้าเจ็ดตน, กาวิละ, คำฝั้น, ธรรมลังกา, ภิกษุคัมภีร์, สาธุคัมภีร์, เจ้าอาวาสวัดพระสิงห์, ชาวบ้านหนองควาย, เมืองเชียงใหม่, พุทธ, การบูรณะพระพุทธบาท, พระพุทธบาท, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฮันส์ เพนธ์, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2337, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-พุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระยาธรรมลังกา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พระยาคำฝั้น, บุคคล-พระเจ้ากาวิละ, บุคคล-พระยาธรรมลังกา, บุคคล-พระยาคำฝั้น, ไม่มีรูป, จารึกสามอักษร, จารึกสามภาษา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2337

สันสกฤต,บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1764?lang=th

9

จารึกถ้ำเด่นงัว 4

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุว่า พระเป็นเจ้าอยู่หัวซึ่งมีความกรุณาแก่คราวทั้งหลาย ได้ประกาศให้ตั้งศิลาจารึก(ว่าด้วยอำนาจของคราว) ไว้เพื่อคราวทั้งมวล และให้ทุกคนยึดตามคำสั่งในศิลาจารึกนั้น ห้ามรื้อถอนและละเมิดโดยเด็ดขาด

จารึกถ้ำเด่นงัว 4, จารึกถ้ำเด่นงัว 4, ลป. 45 จารึกถ้ำเด่นงัว 4 พ.ศ. 2058, ลป. 44 จารึกถ้ำเด่นงัว 4 พ.ศ. 2058, 1.6.2.1 ประตูผา (3), 1.6.2.1 ประตูผา (3), ลป. 45, ลป. 44, ถ้ำเด่นงัว อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 2058, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-จัดเก็บภาษี, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าหมื่นญี่พิง, บุคคล-เจ้าหมื่นญี่สามลาน, บุคคล-เจ้าหมื่นคราวญี่พิง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

พุทธศักราช 2058

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15983?lang=th

10

จารึกถ้ำเด่นงัว 3

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุว่า เจ้าหมื่นตีนเชียง เจ้าหมื่นพิง และเจ้าพันคราวซ้ายน้อมรับบัญชาจากเจ้าเหนือหัว ให้คราวที่มีตำแหน่งใหญ่กินที่นาจำนวนหกแสน พร้อมข้าพระ 20 คน ส่วนคราวที่มีตำแหน่งเล็กกว่าให้กินที่นาจำนวนสี่แสน พร้อมข้าพระ 14 คน ทั้งนี้ เจ้าเมืองเจ้าแคว้นทั้งหลายอย่าได้ขัดขวางหรือรบกวนการปฏิบัติงานของคราว หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ เจ้าเหนือหัวได้มีบัญชาให้จารึกเรื่องราวนี้ไว้ทุกหนแห่งเพื่อให้ทราบด้วยทั่วกัน

จารึกถ้ำเด่นงัว 3, จารึกถ้ำเด่นงัว 3, ลป. 44 จารึกถ้ำเด่นงัว 3, ลป. 44 จารึกถ้ำเด่นงัว 3, 1.6.2.1 ประตูผา, 1.6.2.1 ประตูผา, ลป. 44, ลป. 44, ถ้ำเด่นงัว อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-จัดเก็บภาษี, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-เจ้าหมื่นตีนเชียง, บุคคล-เจ้าหมื่นพิง, บุคคล-เจ้าพันคราวซ้าย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

ไม่ปรากฏศักราช

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15955?lang=th

11

จารึกถ้ำเด่นงัว 2

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุว่า จ่าทองแสนลีนให้คราวหาหญ้าให้ช้างและม้า แล้วให้บรรทุกของ 4 หาบ คราวว่าหนักเกินไป จ่าทองแสนลีนก็ตีคราว ความทราบถึงเจ้าเหนือหัว เจ้าเหนือหัวสั่งห้ามว่า ในภายหน้า หากผู้ใดทำร้ายคราว หรือให้ช้างม้าบรรทุกของน้ำหนักเกินอีก จะถูกทำโทษ

จารึกถ้ำเด่นงัว 2, จารึกถ้ำเด่นงัว 2, ลป. 43 จารึกถ้ำเด่นงัว 2, ลป. 43 จารึกถ้ำเด่นงัว 2, 1.6.2.1 ประตูผา (2), 1.6.2.1 ประตูผา (2), ลป. 43, ลป. 43, ถ้ำเด่นงัว อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-จัดเก็บภาษี, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-ลงโทษ, บุคคล-จ่าทองแสนลีน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

ไม่ปรากฏศักราช

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15946?lang=th

12

จารึกถ้ำเด่นงัว 1

ฝักขาม

ข้อความจารึกระบุว่า พระเป็นเจ้าอยู่หัวได้รับสั่งห้ามเจ้าเมืองทั้งหลายไม่ให้ไปก้าวก่ายการปฏิบัติงานของ “คราว” หรือเจ้าหน้าที่ที่เก็บและดูแลการขนส่งส่วยไปยังเมือง

จารึกถ้ำเด่นงัว 1, จารึกถ้ำเด่นงัว 1, ลป. 42 จารึกถ้ำเด่นงัว 1, ลป. 42 จารึกถ้ำเด่นงัว 1, 1.6.2.1 ประตูผา (4), 1.6.2.1 ประตูผา (4), ลป. 42, ลป. 42, ถ้ำเด่นงัว อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, เรื่อง-การเมืองการปกครอง, เรื่อง-การเมืองการปกครอง-จัดเก็บภาษี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

ไม่ปรากฏศักราช

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15944?lang=th

13

จารึกกู่วัดเสาหิน

ฝักขาม

ข้อความจารึกกล่าวถึงการถวายข้าพระ ที่นา ข้าวเปลือก และโค ให้แก่ศาสนสถาน มีการสาปแช่งไว้ด้วยว่าหากผู้ใดมารบกวนที่ดินและทรัพย์สินเหล่านี้ ขอให้ตกนรกอเวจี

ชม. 24 จารึกกู่วัดเสาหิน, ชม. 24 จารึกกู่วัดเสาหิน, ชม. 24, ชม. 24, 1.2.1.1 กู่วัดเสาหิน พ.ศ. 2020, 1.2.1.1 กู่วัดเสาหิน พ.ศ. 2020, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ที่นา, ข้าวเปลือก, โค, อเวจี, ยักขิณี, พระเมตไตย, หินศิลาบาท, แสนข้าวไส, แสนข้าวอิน, ลำพันเชียงชาด, คนหมื่นหนังสือ, ปากอ้ายงาว, คนหมื่นด้ามพร้า, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 2 เล่ม 1, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าวเปลือก, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายโค, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพจำลองอักษร, ไม่มีที่อยู่ปัจจุบัน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (สำรวจเมื่อ 29 สิงหาคม 2561)

ไม่ปรากฏศักราช

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/15624?lang=th