ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน

ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 14:15:31 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 14:15:31 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกหีบพระธรรม วัดสถารศ

ธรรมล้านนา

หนานดวงเป็นประธานในการสร้างหีบธรรมร่วมกับภรรยานามว่านางแพงและลูกทุกคนรวมถึงญาติและทาสชายหญิง เมื่อ พ.ศ. 2383

จารึกหีบพระธรรม วัดสถารศ, นน. 57, จารึกหีบพระธรรม วัดสถารศ, นน. 57, จุลศักราช 1202, พุทธศักราช 2383, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2383, จ.ศ. 1202, พ.ศ. 2383, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2383, ไม้, ขอบปากหีบพระธรรมลายรดน้ำ, วัดสถารศ ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พุทธ, การสร้างหีบพระธรรม, สุวรรณคำแดง, รักหางอย่าง, ชาด, ปิดทอง, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ,อายุ-จารึก พ.ศ. 2383, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนหีบพระธรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างหีบพระธรรม, บุคคล-หนานดวง, บุคคล-นางแพง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2383

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1920?lang=th

2

จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1157 พระสงฆ์นามว่าทิพพาลังการเป็นประธานแก่ศิษย์ทุกคน โดยมีมหาราชหลวงเป็นองค์อุปถัมภ์ พร้อมด้วยขุนนาง นางโนชาและชาวบ้านน้ำลัดร่วมกันสร้างหีบพระธรรม โดยขอให้ได้พบสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด

จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน, จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน, นน. 55, ย. 6, จารึกหีบพระธรรม วัดบุญยืน, นน. 55, ย. 6, จุลศักราช 1157, พุทธศักราช 2338, 1157, 2338, ไม้, ฝาหีบพระธรรม, วัดบุญยืน ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, สาธุเจ้าทิพลังการ, นางโนชา, ชาวบ้านน้ำลัด, เมืองน่าน, พุทธ, การสร้างหีบพระธรรม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2338, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนหีบพระธรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างหีบพระธรรม, บุคคล-ทิพพาลังการ, บุคคล-นางโนชา, บุคคล-ชาวบ้านน้ำลัด

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2338

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1873?lang=th

3

จารึกวัดเมืองพง (วัดพระเกิด)

ฝักขาม

พ.ศ. 2043 พระมหาราชเทวีผู้เป็นพระราชมารดา ได้มีพระราชดำรัสให้เจ้าพนักงานทำการฝังพระสีมา ณ วัดพระเกิด ทั้งนี้มีการถวายนาและข้าพระแด่วัดด้วย

จารึกวัดเมืองพง (วัดพระเกิด), นน. 2, นน. 2, หลักที่ 72 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ จังหวัดน่าน, หลักที่ 72 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ จังหวัดน่าน, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, พ.ศ. 2043, พุทธศักราช 2043, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, จ.ศ. 862, จุลศักราช 862, หินชนวน, รูปใบเสมา, วัดเมืองพระ, วัดพงษ์, อำเภอสันติสุข, จังหวัดน่าน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาราชเทวีเจ้า, เจ้าหน่วย, เจ้าพวกข้าคน, เจ้าพวกมงคล, หมื่นซ้ายเถา, ผ้าขาวเพิง, อ้ายคำ, หมื่นซ้ายยอด, แม่มิ่ง, หมื่นซ้ายเพก, แม่สิมวาง, กัลยา, พ่อเพ็ง, พ่อไข, นางพิม, มงคล, มหาสามีญานะสูธระเจ้า, ซ้ายสุวัน, นางบูน, ชาวกลอง, เจ้าแคว้น, ข้าวพระ, จามร, หนบางนา, นาพระ, นาจังหัน, พุทธศาสนา, ฝังสีมา, ฝังเสมา, ถวายที่ดิน, ถวายนา, ถวายข้าพระ, วงดวงชาตา, ลัคนา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีกรกฏ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีสิงห์, พระพฤหัสบดี, ราศีมีน, พระเสาร์, ราศีพฤษภ, พระราหู, ราศีเมถุน, ปีกดสัน, พุทธศาสน์, เพ็ง, เพ็ญ, วันพุธ, วันเมิงเหม้า, วันเมิงเม้า, ครัว, ทาน, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, สุรศักดิ์ ศรีสำอาง, เมืองน่าน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2043, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฝังสีมา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-ท้าวบุญแฝง, บุคคล-ท้าวบุญแฝง, บุคคล-พระมหาราชเทวี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2043

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1534?lang=th

4

จารึกพระกัญจนะมหาเถรสร้างพระไตรปิฎก

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1195 (พ.ศ. 2376) กัญจนะมหาเถรจากเมืองแพร่และลูกศิษย์ ได้เดินทางมาถึงเมืองน่าน แล้วร่วมกับพระสงฆ์ในเมือง เจ้าเมืองน่านและอุปราช ราชวงศ์ รวมทั้งเจ้านายทั้งหลายร่วมกันสร้างพระไตรปิฎก โดยมีการฉลองเมื่อจุลศักราช 1199 (พ.ศ. 2380)

จารึกพระกัญจนะมหาเถรสร้างไตรปิฎก, นน.8, นน.8, จารึก 1.7.1.1 เมืองน่าน 2380, จุลศักราช 1195, จุลศักราช 1199, พุทธศักราช 2376, พุทธศักราช 2380, 1195, 1199, 2376, หินชนวน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, กัญจนะมหาเถร, อุปราช, ราชวงศ์, น่าน, แพร่ศาสนาพุทธ, อรัญวาสี, พระไตรปิฎก, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2380, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนหินชนวน, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างพระไตรปิฎก, เจ้าเมืองน่าน, มหาเถร

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2380

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1777?lang=th

5

จารึกฝาหีบพระธรรมวัดดอนไชย

ธรรมล้านนา

กล่าวถึงการสร้างหีบพระธรรมเมื่อจุลศักราช 1211 (พ.ศ. 2403)

จารึกฝาหีบพระธรรมวัดดอนไชย, นน. 56, นน. 56, ย. 10, ย. 10, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนไชย พ.ศ. 2403, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนไชย พ.ศ. 2403, จารึกฝาหีบพระธรรม วัดดอนชัย, นน. 56, นน. 56, ย. 10, ย. 10, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนชัย พ.ศ. 2403, จารึก 1.7.2.1 วัดดอนชัย พ.ศ. 2403, Wat Don Chai A.D. 1860, Wat Don Chai A.D. 1860, จุลศักราช 1221, พุทธศักราช 2403, จุลศักราช 1221, พุทธศักราช 2403, จ.ศ. 1221, พ.ศ. 2403, จ.ศ. 1224, พ.ศ. 2403, ไม้, ฝาหีบพระธรรมลายรดน้ำ, วัดดอนไชย อำเภอเวียงเหนือ จังหวัดน่าน ตำบลกลางเวียง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, เมืองน่าน, พุทธ, การสร้างหีบพระธรรม, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2402, จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, จารึกบนไม้, จารึกรูปสี่เหลี่ยม, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, พิธีกรรมทางศาสนา, การสร้างหีบพระธรรม, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2402, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกบนหีบพระธรรม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหีบพระธรรม, บุคคล-นางบัวทิพย์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2402

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1922?lang=th

6

จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1256 (พ.ศ. 2437) นางขันแก้วและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้กับพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523, นน. 50, จารึกฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 324/2523, นน. 50, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางขันแก้ว, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, อายุ-จารึก พ.ศ. 2437,ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางขันแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2437

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1826?lang=th

7

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1233 (พ.ศ. 2414) พ่อแสนไชยนโรธาและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น?

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523, นน. 44, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 319/2523, นน. 44, จุลศักราช 1233, พุทธศักราช 2414, จุลศักราช 1233, พุทธศักราช 2414, จ.ศ. 1233, พ.ศ. 2414, จ.ศ. 1233, พ.ศ. 2414, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พ่อแสนไชยนโรธา, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2414

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1820?lang=th

8

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1249 (พ.ศ. 2430) พระสงฆ์นามว่าอภิวงศ์ นางขอดแก้ว แม่เฒ่าดีและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ตนถึงแก่นิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523, นน. 49, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 316/2523, นน. 49, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, อภิวงศ์, นางขอดแก้ว, แม่เฒ่าดี, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2430, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิวงศ์(พระสงฆ์), บุคคล-นางขอดแก้ว, บุคคล-แม่เฒ่าดี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2430

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1931?lang=th

9

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 315/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1228 (พ.ศ. 2409) หนานอุตตมะ บ้านดอน รวมทั้งลูกหลานและญาติทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อเป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน

อายุ-จารึก พ.ศ. 2409, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 4, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานอุตตมะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2409

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1835?lang=th

10

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1256 (พ.ศ. 2437) ภิกขุยาตวิคลไชและมารดาชื่อว่านางคำผา รวมทั้งแม่เอื้อย พี่น้องและลูกหลานทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523, นน. 51, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 310/2523, นน. 51, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จุลศักราช 1256, พุทธศักราช 2437, จ.ศ. 1256, พ.ศ. 2437, จ.ศ.1256, พ.ศ. 2437, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ภิกขุยาตวิคลไช, นางคำผาง, แม่เอื้อย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2437, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-ภิกขุยาตวิคลไช, บุคคล-นางคำผาง, บุคคล-แม่เอื้อย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2437

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1828?lang=th

11

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1177 (พ.ศ. 2358) หมื่นนาเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปร่วมกับภรรยานามว่านางภาและลูกทุกคน โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523, นน. 26, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 266/2523, นน. 26, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าสุมนเทวราช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หมื่นนา, นางภา, พุทธ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หมื่นนา, บุคคล-นางภา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2358

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1936?lang=th

12

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1230 (พ.ศ. 2411) พระสงฆ์นามว่า กาวิไชย พร้อมทั้งมารดาและพี่น้องทุกคน ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พ่อซึ่งมีชื่อว่า หนานไช และขอให้ได้ถึงแก่นิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523, นน. 41, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 195/2523, นน. 41, จุลศักราช 1230, พุทธศักราช 2411, จุลศักราช 1230, พุทธศักราช 2411, จ.ศ. 1230, พ.ศ. 2411, จ.ศ. 1230, พ.ศ. 2411, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ธุเจ้ากาวิไชย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2411, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-กาวิไชย(พระสงฆ์), บุคคล-หนานไช, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2411

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1811?lang=th

13

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1197 (พ.ศ. 2398) จินดาภิกขุได้จ้างครูท่านหนึ่งสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ค้ำชูพระศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523, นน. 30, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 190/2523, นน. 30, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2398, จุลศักราช 1197, พุทธศักราช 2398, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2398, จ.ศ. 1197, พ.ศ. 2398, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, จินดาภิกขุ, บา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทย, จารึก พ.ศ. 2378, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2398, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-จินดาภิกขุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2378

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1809?lang=th

14

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523

ธรรมล้านนา

หนานอภิวังสะและภรรยาชื่อว่านางบัวเรียมและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เมื่อจุลศักราช 1259 (พ.ศ. 2440) โดยขอให้ได้พบกับสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523, นน. 52, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 162/2523, นน. 52, จุลศักราช 1259, พุทธศักราช 2440, จุลศักราช 1259, พุทธศักราช 2440, จ.ศ. 1259, พ.ศ. 2440, จ.ศ.1259, พ.ศ. 2440, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานอภิวังสะ, นางบัวเรียม, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2440, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานอภิวังสะ, บุคคล-นางบัวเรียม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2440

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1854?lang=th

15

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1249 (พ.ศ. 2430) พระสงฆ์นามว่าอภิวงศ์ นางขอดแก้ว แม่เฒ่าดีและพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ โดยขอให้ตนถึงแก่นิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมาวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523, นน. 47, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมาวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 154/2523, นน. 47, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จุลศักราช 1249, พุทธศักราช 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, จ.ศ. 1249, พ.ศ. 2430, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา , เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, อภิวงศ์, นางขอดแก้ว, แม่เฒ่าดี, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2430, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิวงศ์ (พระสงฆ์), บุคคล-นางขอดแก้ว, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2430

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1830?lang=th

16

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2523

ธรรมล้านนา

หนานธนสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เมื่อจุลศักราช 1287 (พ.ศ. 2468)

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2523, นน. 53, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 144/2513, นน. 53, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จุลศักราช 1287, พุทธศักราช 2468, จ.ศ. 1287, พ.ศ. 2468, จ.ศ.1287, พ.ศ. 2468, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหาพรหมสุรธาดา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานธน, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2468, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจุบัน-จารึกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-หนานธน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2468, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 7, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 6-7, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-หนานธน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2468

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1842?lang=th

17

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1292 (พ.ศ. 2473) นางจันดีพร้อมทั้งสามีและลูกทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น โดยอุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดานามว่าตันไชและแก้ววัณณา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523, นน. 54, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 141/2523, นน. 54, จุลศักราช 1292, พุทธศักราช 2473, จุลศักราช 1292, พุทธศักราช 2473, จ.ศ. 1292, พ.ศ. 2473, จ.ศ.1292, พ.ศ. 2473, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหาพรหมสุรธาดา, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางจันดี, ตันไช, แก้ววัณณา, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, จารึกอักษรธรรมล้านนา, จารึกภาษาไทยและบาลี, จารึก พ.ศ. 2378, จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, จารึกบนไม้, จารึกบนฐานพระพุทธรูป, จารึกพบที่น่าน, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, จารึกพระพุทธศาสนา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2473, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 7, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-นางจันดี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2473

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1844?lang=th

18

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523

ธรรมล้านนา

พระสงฆ์นามว่าอภิไชยและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูป โดยขอให้ได้ขึ้นสวรรค์และถึงแก่นิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523, นน. 43, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 108/2523, นน. 43, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, ธุนายอภิไชย, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิไชย(พระสงฆ์), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-อภิไชย(พระสงฆ์), เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2412

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1813?lang=th

19

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1235 (พ.ศ. 2416) หนานมโนและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้เพื่อค้ำชูพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523, นน. 46, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 96/2523, นน. 46, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จุลศักราช 1235, พุทธศักราช 2416, จ.ศ. 1235, พ.ศ. 2416, จ.ศ.1235, จ.ศ. 2416, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานมโน, พุทธเหตุการณ์, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดีประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2416, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้าอินทรวิชยานนท์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-หนานมโน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2416

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1822?lang=th

20

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 23/2524

ธรรมล้านนา

พ่ออ้าย?ศรีเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ร่วมกับครอบครัวเมื่อจุลศักราช 1177 (พ.ศ. 2358) โดยขอให้เป็นปัจจัยแก่พระนิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เลขทะเบียน 23/2524, นน. 40, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เลขทะเบียน 23/2524, นน. 40, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1177, พุทธศักราช 2358, จ.ศ. 1177, พ.ศ. 2358, จ.ศ.1177, พ.ศ. 2358, ไม้, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าสุมนเทวราช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พ่ออ้ายศรี, เมืองน่าน,พุทธ, นิพพาน, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, อายุ-จารึก พ.ศ. 2358, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิละ, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่ออ้ายศรี, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2358

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1940?lang=th

21

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1231 (พ.ศ. 2412) หนานนางและครอบครัวร่วมกันสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่พ่อแม่นามว่า ปู่ขอร และนางน้อย ขอให้ได้ขึ้นสวรรค์ชั้นดาวดึงส์และถึงสุข 3 ประการซึ่งมีนิพพานเป็นยอด

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523, นน. 42, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 22/2523, นน. 42, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จุลศักราช 1231, พุทธศักราช 2412, จ.ศ. 1231, พ.ศ. 2412, จ.ศ.1231, พ.ศ. 2412, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูป, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, หนานนาง, ปู่ขอร, นางน้อ, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2412, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-หนานนาง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2412

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1815?lang=th

22

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3

ธรรมล้านนา

พ่อเจ้าฟ้าหลวงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นเพื่อเป็นที่กราบไหว้ของคนและเทวดา โดยขอให้เป็นปัจจัยไปสู่นิพพาน

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 3, นน. 35, ย. 3, นน. 35, ย. 3, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอัตถวรปัญโญ, พ่อเจ้าฟ้าหลวง, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พ่อเจ้าฟ้าหลวง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน, บุคคล-เจ้าอัตถวรปัญโญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองน่าน-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ, บุคคล-พ่อเจ้าฟ้าหลวง, บุคคล-เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศตวรรษ 24

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1797?lang=th

23

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2

ธรรมล้านนา

จุลศักราช 1247 (พ.ศ. 2428) สุริยภิกขุและญาติพี่น้องทุกคนร่วมกันสร้างพระพุทธรูปและทำพิธีพุทธาภิเษกเพื่อค้ำชูพุทธศาสนา

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 (นน. 33, จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 2 (นน. 33), นน. 33, นน. 33, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, จุลศักราช 1247, พุทธศักราช 2428, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้าอนันตวรฤทธิเดช, หลวงติ๋นมหาวงศ์, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, สุริยภิกขุ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2428, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 25, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-พุทธาภิเษก, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, บุคคล-สุริยภิกขุ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2428

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1824?lang=th

24

จารึกฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1

ธรรมล้านนา

แสนอินทวิไชยเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูปนั่ง 1 องค์ ยืน 2 องค์ ร่วมกับภรรยาชื่อว่านางพรมและครอบครัวเมื่อจุลศักราช 1194 (พ.ศ. 2375)

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1, นน. 28, จารึกฐานพระพุทธรูปวัดปางมารวิชัย วัดพระธาตุแช่แห้ง 1, นน. 28, พ.ศ. 2375, จุลศักราช 1194, พ.ศ. 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ.1194, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, แสนอินทวิไชย, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การสร้างพระพุทธรูป, บุคคล-แสนอินทวิไชย, บุคคล-นางพรม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2375

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2386?lang=th

25

จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523

ธรรมล้านนา

คัมภีร์? และนางขอดเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบท เมื่อจุลศักราช 1194 (พ.ศ. 2375)

จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523, นน. 29, จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เลขทะเบียน 82/2523, นน. 29, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จุลศักราช 1194, พุทธศักราช 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, จ.ศ. 1194, พ.ศ. 2375, ไม้ลงรักปิดทอง, ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, เจ้ามหายศ, หลวงติ๋นมหาวงศ์, นางขอด, แม่เฒ่า, พุทธศาสนา, การสร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึก พ.ศ. 2375, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนาภายใต้สยาม-พระยาพุทธวงศ์, วัตถุ-จารึกบนไม้, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-นางขอด

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2375

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1859?lang=th

26

จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

ธรรมล้านนา

ระบุจุลศักราช 889 ปีเมิงไก๊ ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2070

จารึกฐานพระพุทธรูปประทับยืน วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, นน. 18, นน. 18, จุลศักราช 889, พุทธศักราช 2070, จุลศักราช 889, พุทธศักราช 2070, จ.ศ. 889, พ.ศ. 2070, จ.ศ. 889, พ.ศ. 2070, สำริด, ฐานพระพุทธรูป, วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร, วัดช้างค้ำวรวิหาร ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ล้านนา, พญาเกศเชษฐราช, พระเกษเกล้า, มังราย, พุทธ, การสร้างพระพุทธรูป, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, เมืองน่าน : โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึก พ.ศ. 2070, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน

พุทธศักราช 2070

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1786?lang=th