ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี
ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเนินสระบัว |
หลังปัลลวะ |
เป็นคำสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย การทำบุญ และการประดิษฐานเทวรูป |
จารึกเนินสระบัว, หลักที่ 56 ศิลาจารึกเนินสระบัว, หลักที่ 56 ศิลาจารึกเนินสระบัว, ปจ. 14, ปจ. 14, พุทธศักราช 1304, มหาศักราช 683, พ.ศ. 1304, ม.ศ. 683, ศิลา, หินทรายสีเขียว, ใบเสมา, เนินสระบัว, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมโหสถ, อำเภอศรีมหาโพธิ, จังหวัดปราจีนบุรี, เจนละ, มรเตงพุทธศิริ, พระศาสดา, พระพุทธเจ้า, กมรเตง, กัมรเตง, พระบาทนระ, พระทศพล, โคตรกูลปาทวะ, พระสงฆ์, พระโค, เกริน,ไทยธรรม, รัตนะ, เรือน, สะพาน, ทะเล, โลก, พุทธศาสนา, พระธรรม, นิรยภูมิ, ศีล, ปัญญา, บาป, คบะ, พระรัตนตรัย, การประดิษฐานเทวรูป, การทำบุญ, ตรงใจ หุตางกูร, ประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1304, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรเจนละ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระพุทธเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญพระรัตนตรัย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสัตว์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานเทวรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
ข้อมูลเดิมระบุว่าอยู่ที่ วัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ ตำบลโคกปีบ อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี จากการสำรวจพบว่าจารึกอยู่ที่ โบราณสถานสระมรกต อาคารศรีมโหสถ (24 กรกฎาคม 2554) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7 พฤศจิกายน 2563) |
พุทธศักราช 1304 |
บาลี,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/321?lang=th |
2 |
จารึกเชิงเทียนสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า เชิงเทียนอันนี้เป็นของที่พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมัน (ชัยวรมันที่ 7) ถวายแด่พระอาโรคยสาล (อโรคยาศาลา) ในมหาศักราช 1115 |
จารึกเชิงเทียนสัมฤทธิ์, ปจ. 23, ปจ. 23, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, พ.ศ. 1736, พ.ศ. 1736, พุทธศักราช 1736, พุทธศักราช 1736, ม.ศ. 1115, ม.ศ. 1115, มหาศักราช 1115, มหาศักราช 1115, สัมฤทธิ์, เชิงเทียน, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระไทยธรรม, ตำบลสังโวก, ตำบลสังโวกต, ตำบลสังโวกต์, อาโรคยสาล, อโรคยาศาลา, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรกัมพูชา, จารึกอักษรขอมโบราณ, จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, อาณาจักรกัมพูชาสมัยเมืองพระนคร, จารึกพบที่โบราณสถานหมายเลข 11, จารึกพบที่ปราจีนบุรี, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, จารึกภาษาเขมร, จารึก พ.ศ. 1736, อายุ-จารึก พ.ศ. 1736, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนเชิงเทียน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, บุคคล-พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมัน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1736 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/451?lang=th |
3 |
จารึกเขาน้อย |
ปัลลวะ |
(1) เนื้อหาส่วนที่เป็นภาษาสันสกฤต กล่าวสรรเสริญพระวิษณุ และพระศรีภววรมัน นอกจากนี้ยังกล่าวถึง เชยษฐปุรสวามี ว่าเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับพระเวทเพื่อบูชาพระวิษณุ |
ปจ. 16, ปจ. 16, K. 506, จารึกวัดเขาน้อยสีชมพู, จารึกเขาน้อย, พ.ศ. 1180, พ.ศ. 1180, ม.ศ. 559, ม.ศ. 559, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, บ้านคลองน้ำใส, ตำบลคลองน้ำใส, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดปราจีนบุรี, วัดเขาน้อยสีชมพู, สระแก้ว, เจนละ, เศรษฐปุระ, ก่อนเมืองพระนคร, พระวิษณุ, พระนารายณ์, อีสานวรมัน, ภววรมันที่ 2, ภววรมันที่ 2, ศรีภววรมัน, เชยษฐปุรสวามี, ศรีมานิหะ, ศรีมันทาระ, ศรีมันทารสวามี, พระสมเรศวร, วา, กุ, ใต, ยศ, โกลญ, พระกัมรเตง, กัมรตางอัญ, กัมรตางอัญกุมาร, มรตาญ, โขลญ, อาทุ, อัมวก, โญ, ปิต, กุมารตาง, อัมทะโร, สวีย, กะยาย, ปรง, โชตจิตต์, วะโร, โปญ, ลางใต, โปใต, สะเมกันเตก, เหง, นาย, เอมภะยัม, กัลปิต, กวน, ใตฐ, ลัมโต, ต, ลา, เทวตหริ, ไวรย, กัญชา, อมัม, โลญ, ลาญ, โก, โจรมาน, สาย, อันโรก, โนจพระ, เชยษฐปุระ, ไวษณพนิกาย, พราหมณ์, ฮินดู, สิ่งของ: จักร, เกราะพิธีกรรม: กัลปนา, การถวายทาส, พิธีพระเวท, ราชสมบัติ, ทรัพย์, สงคราม, โลกวิธี, ตรงใจ หุตางกูร, G. Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. V, ยอร์ช เซเดส์, ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ชะเอม แก้วคล้าย, บุญเลิศ เสนานนท์, ปราสาทเขาน้อย, จังหวัดปราจีนบุรี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1180, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ, ยุคสมัย-จารึกสมัยเจนละ-พระเจ้าภววรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกเขาน้อยสีชมพู สระแก้ว, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไวษณพนิกาย, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า, เรื่อง-การสรรเสริญเทพเจ้า-พระวิษณุ, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระศรีภววรมัน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระศรีภววรมัน, บุคคล-เชยษฐปุรสวามี, บุคคล-โกลญเชยษฐปุระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพสำเนาจารึกจาก : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545 (เลขทะเบียน CD; INS-TH-02, ไฟล์; PJ_007) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/2563) |
พุทธศักราช 1180 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/62?lang=th |
4 |
จารึกสังข์สัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่าสังข์อันนี้เป็นของถวายจากพระวรโลง (?) |
จารึกสังข์สัมฤทธิ์, ปจ. 22, ปจ. 22, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 110 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, สัมฤทธิ์, รูปสังข์, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, พระวรโลง, พระไทยธรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกรูปสังข์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-พระวรโลง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศตวรรษ 18 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/449?lang=th |
5 |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 |
ขอมโบราณ |
เนื้อหาโดยสังเขป ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการพระศิวะ พระพรหม พระนารายณ์ ตามด้วยการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ว่ารูปงามเหมือนกามเทพ มีปัญญาดุจพระพรหม และทรงปกครองแผ่นดินด้วยความยุติธรรม จากนั้นก็กล่าวถึงพราหมณ์ศิวไกวัลย์ ว่าเป็นผู้ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมุนี ผู้ประกอบพิธีกรรมตามประเพณี หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องเวทมนตร์จากพราหมณ์หิรัณยทามะแล้ว ตอนท้ายของจารึกด้านนี้ได้กล่าวสรรเสริญ ชเยนทรวรมัน ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ผู้มีบรรพบุรุษต้นตระกูลคือ “พราหมณ์ศิวไกวัลย์” ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมตามประเพณี ด้านที่ 2 เป็นการลำดับความสัมพันธ์ และผลงานของผู้ที่อยู่ในสายตระกูล ที่มีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมในราชสำนักกัมพูชา เริ่มตั้งแต่พราหมณ์ศิวไกวัลย์เรื่อยมาจนถึง ชเยนทรวรมัน หรือ สทาศิวะ ด้านที่ 3 กล่าวสรรเสริญพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 แจงรายการสิ่งของจำนวนมาก ที่พระองค์ทรงถวายแด่เทวสถาน ณ เมืองภัทรนิเกตนะ จากนั้นก็กล่าวถึงการบริจาคที่ดินของพระราชครูชเยนทรวรมัน ตามด้วยการลำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรมในราชสำนัก ของแต่ละรัชกาล ด้านที่ 4 เป็นการลำดับสายสกุล และผลงานของผู้ประกอบพิธีกรรมในราชสำนัก ของแต่ละรัชกาลต่อจากจารึกด้านที่ 3 |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2, จารึกสด๊กก๊อกธม 2, ปจ. 4, ปจ. 4, หลักที่ 57 จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม ณ อรัญประเทศ, หลักที่ 57 จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม ณ อรัญประเทศ, มหาศักราช 965, พุทธศักราช 1586, มหาศักราช 968, พุทธศักราช 1588, มหาศักราช 971, พุทธศักราช 1592, มหาศักราช 974, พุทธศักราช 1595, มหาศักราช 894, พุทธศักราช 1515, มหาศักราช 901, พุทธศักราช 1522, ม.ศ. 965, พ.ศ. 1586, ม.ศ. 968, พ.ศ. 1588, ม.ศ. 971, พ.ศ. 1592, ม.ศ. 974, พ.ศ. 1595, ม.ศ. 894, พ.ศ. 1515, ม.ศ. 901, พ.ศ. 1522, ศิลา, หินชนวน, หลักสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองพร้าว, ตำบลโคกสูง, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, กิ่งอำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, พระศิวะ, พระอัคนี, พระพรหม, พระนารายณ์, พระลักษมี, กามเทพ, พระอิศวร, พระอุมา, เทพดา, พระอินทร์, พระวิษณุ, พระมนู, เทพเจ้ากาละ, เทพแห่งสมุทร, คเณศวระ, พระศัมภวะ, พระนางสรัสวตี, พระอังคีรส, อิศวระ, พระตนูนปาตะ, พระษฏตนู, พระลักษมี, เทพภัทราทริ, กัศยปะ, อัตริ, อินทระ, จันทระ, พระนางทุรคาเทวี, พระคเณศวร, ศรุติ, อีศานมูรติ, พระศังกร นารายนะ, พระภควตี, พระศิวลึงค์, รูปพระนารายณ์, รูปของพระวิษณุ, รูปของพระสรัสวตี, รูปพระปฏิมา, พระปฏิมาภควดี, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, พระเจ้าสุริยวรมันที่,1พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, พระเจ้ายโศวรมัน, พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1, พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2, พระเจ้าศรีหรรษวรมัน, พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2, พระเจ้าชเยนทรวรเมศวร, พระกัมรเตงอัญศรีชเยนทรวรมัน, พพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าชัยวรมันที่ 2, พระเจ้าชัยวรมันที่ 3, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, พระบาทปรเมศวร, พระบาทวิษณุโลก, พระเจ้าวิษณุโลก, พระบาทอีศวรโลก, พระบาทนิรวาณบท, พระบาทบรมนิรวาณบท, พระบาทรุทรโลก, พระบาทพรหมโลก, พระบาทบรมวีรโลก, พระบาทบรมรุทรโลก, พระบาทบรมศิวบท, พราหมณ์ศิวะไกวัลยะ, ปุโรหิตศิวไกวัลยะ, เสตงอัญศิวไกวัลยะ, พราหมณ์คงคาธระ, พราหมณ์หิรัณยรุจิ, พราหมณ์หิรัณยทามะ, หิรัณยทามะพราหมณ์, หิรัณยพราหมณ์, พราหมณ์วามศิวะ, ศิวไกวัลยพราหมณ์, ศิวไกวัลยะ, ศรีชเยนทรบัณฑิต, กัมรเตงอัญศรีวาคินทรบัณฑิต, พราหมณ์สังกรษะ, ท่านศิวาศรมผู้อาวุโส, ท่านศิวาศรมผู้เยาว์, กัมรเตงศิวาศรม, เสตงอัญศิวโสมะ, พระภคินีอีศานมูรติ, พระศรวะ, เสตงอัญกุมารสวา, นวพรรณ ภัทรมูล, R.C. Majumdar, Inscription of Kambuja, Adhir Chakravarti, The Sdok Kak Thom Inscription Part II, ปรีดา ศรีชลาลัย, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึก พ.ศ. 1595, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-ชเยนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, บุคคล-ชเยนทรวรมัน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจ 7 พฤศจิกายน 2563) |
พุทธศตวรรษ 1595 |
สันสกฤต,เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/498?lang=th |
6 |
จารึกสด๊กก๊อกธม 1 |
ขอมโบราณ |
เสตญอาจารย์โขลญสันดับ และเสตญอาจารย์โขลญพนม ซึ่งเป็นผู้ดูแลพระเทวรูป ได้แจ้งให้พระบุณย์มรเตญมัทยมศิวะ วาบบรม พรหม และแม่บส ให้ร่วมกันดูแลพระเทวรูป โดยการถวายข้าวสาร และน้ำมัน ตลอดหนึ่งปี นอกจากนั้นยังแจ้งพระบรมราชโองการถึง กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน ให้ใช้เจ้าหน้าที่มาตั้งหลักศิลาจารึกไว้ในเมืองนี้ และห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลน้ำมัน ริบเอาน้ำมันเป็นของตนเอง ห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเรื่องข้าว ริบเอาข้าวเป็นของตนเอง และห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลเทวสถานเรียกใช้ทาสพระให้ไปทำงานอื่น ให้ใช้ทาสพระเหล่านั้น ในการดูแลพระเทวรูปและพระศิวลึงค์เท่านั้น ข้อความต่อจากนั้นเป็นรายนามทาสพระ |
จารึกสด๊กก๊กธม 1, จารึกสด๊กก๊กธม 1, ปจ. 2, ปจ. 2, Stele dite de Sdok Kok Thom, K. 1087, พ.ศ. 1480, พุทธศักราช 1480, พ.ศ. 1480, พุทธศักราช 1480, ม.ศ. 859, มหาศักราช 859, พ.ศ. 859, พุทธศักราช 859, ศิลา, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านสระแจง, ตำบลโคกสูง, อำเภออรัญประเทศ, จังหวัดสระแก้ว, อำเภอโคกสูง, ขอมสมัยพระนคร, ปรเมศวร, ศิวลิงค์, พระกัมรเตงอัญปรเมศวร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงค์, ศิวลึงค์, มรเตญมัทวยมศิวะ, วาบ, วีเรนทรวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, บรม, พรหม, แม่บส, กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน, โฆ, ควาล, ข้าพระ, คนบำเรอ, ไต, ข้าวสาร, น้ำมัน, สรุ, ข้าวเปลือก, ศิลาจารึก, โขลญ, โขลญพนม, โขลญสรู, โขลญวิยะ, โขลญวรีหิ, โขลญวริหิ, พระบุณย์, ปรัตยยะ, เสตญอาจารย์โขลญสันดับ, เสตญอาจารย์โขลญพนม, พระกัมรเตงอัญ, ปรัตยยะ, ปรัตยะ, ปรัตยยะเปรียง, ปรัตยะเปรียง, วิษัย, วิปย, สันดับถะเมียง, กำบิด, ถะเกบ, สระเง, ชมะ, กันโส, ฉะโนง, เทวยาณี, สุภาสา, สรจา, องโอง, ละคาย, กำบิด, ถะเกบ, กันเดม, กันจน, กำไพ, เสน่ห์, สรัจ, เทวทาส, สำอุย, อนี, ดังกุ, ธุลีพระบาท, ธุลีเชง, พระราชดำรัส, ตรงใจ หุตางกูร, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, Saveros Pou, Nouvelles Inscriptions du Cambodge II, อายุ-จารึก พ.ศ.1480, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าวสาร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายน้ำมัน, เรื่อง-การปกครองข้าทาส, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-เสตญอาจารย์โขลญสันดับ, บุคคล-เสตญอาจารย์โขลญพนม, บุคคล-พระบุณย์มรเตญมัทยมศิวะ, บุคคล-วาบบรม, บุคคล-พรหม, บุคคล-แม่บส, บุคคล-กำเสตญอัญศรีวีเรนทรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจ 7 พฤศจิกายน 2563) |
พุทธศักราช 1480 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/310?lang=th |
7 |
จารึกดวงตราประทับจากปราสาทเขาน้อย |
ขอมโบราณ |
เป็นจารึกบนดวงตราประทับ มีจารึกคำเดียวคือ “เกฺษะ” ซึ่งแปลความหมายได้หลายอย่าง แต่ความหมายที่เหมาะสมและกลมกลืนที่สุดคือ พึงอนุญาต, ควรอนุญาต สันนิษฐานว่าดวงตราประทับนี้น่าจะใช้เป็นคำสั่งของผู้มีอำนาจ เพื่ออนุญาตให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งทำกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นต้น |
จารึกดวงตราประทับจากปราสาทเขาน้อย, ปจ. 28, ปจ. 28, เหล็กหุ้มสำริด, เหล็กหุ้มสัมฤทธิ์, ดวงตราประทับ สถานที่พบ: ปราสาทเขาน้อย วัดเขาน้อยสีชมพู บ้านเขาน้อย ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ (ข้อมูลเดิมว่า จังหวัดปราจีนบุรี) จังหวัดสระแก้ว, เขอมสมัยพระนคร, เกษะ, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนเหล็กหุ้มสำริด, ลักษณะ-จารึกบนตราประทับ, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (บันทึกข้อมูลวันที่ 7/11/2563) |
พุทธศตวรรษ 16 |
สันสกฤต |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1166?lang=th |
8 |
จารึกขันทรงวงรีสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า ขันใบนี้เป็นของที่พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน ถวายแด่กมรเตงชคตศรีวิเรศวร (เทวรูป) ในมหาศักราช 1109 |
จารึกขันทรงวงรีสัมฤทธิ์, ปจ. 20, ปจ. 20, หลักที่ 112 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 112 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, สัมฤทธิ์, สำริด, ขันทรงวงรี, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีวิเรศวร, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, พระไทยธรรม, ตำบลสังโวกต, ตำบลสังโวกต์, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1730, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนขัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1730 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/445?lang=th |
9 |
จารึกขันทรงกลมสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า ขันใบนี้เป็นของที่พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน ถวายแด่กมรเตงชคตศรีวิเรศวร (เทวรูป) ในมหาศักราช 1109 |
จารึกขันทรงกลมสัมฤทธิ์, ปจ. 24, ปจ. 24, หลักที่ 111 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 111 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, พ.ศ. 1730, พ.ศ. 1730, พุทธศักราช 1730, พุทธศักราช 1730, ม.ศ. 1109, ม.ศ. 1109, มหาศักราช 1109, มหาศักราช 1109, สัมฤทธิ์, สำริด, ขันทรงกลม, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนครเทวรูป, กมรเตงชคตศรีวิเรศวร, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ, พระกัมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีวีเรนทราธิบดีวรมัน, พระไทยธรรม, ตำบลสังโวกต์, ตำบลสังโวก, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1730, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนขัน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1730 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/443?lang=th |
10 |
จารึกกรอบคันฉ่องสัมฤทธิ์ |
ขอมโบราณ |
เป็นการบันทึกว่า กรอบคันฉ่องอันนี้เป็นของที่พระบาทกัมรเตงอัญศรีชยวรมัน (ชัยวรมันที่ 7) ถวายแด่พระอาโรคยสาล (อโรคยาศาลา) ในมหาศักราช 1115 |
จารึกกรอบคันฉ่องสัมฤทธิ์, ปจ. 21, ปจ. 21, หลักที่ 109 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, หลักที่ 109 จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, พ.ศ. 1736, พ.ศ. 1736, พุทธศักราช 1736, พุทธศักราช 1736, ม.ศ. 1115, ม.ศ. 1115, มหาศักราช 1115, มหาศักราช 1115, สัมฤทธิ์, สำริด, รูปกรอบคันฉ่อง โค้งเหมือนวงพระจันทร์เสี้ยว, โบราณสถานหมายเลข 11, เมืองพระรถ, ดงศรีมหาโพธิ์, ตำบลโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ์, จังหวัดปราจีนบุรี, อำเภอศรีมโหสถ, ขอมสมัยพระนคร, กมรเตงชคตศรีวิเรศวร, พระบาทกัมรเตงอัญศรีชัยวรมัน, พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, พระไทยธรรม, ศรีวัตสปุระ, อาโรคยสาล, อโรคยาศาลา, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 1736, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 18,ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 7, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกบนกรอบคันฉ่อง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายไทยธรรม, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (สำรวจเมื่อ 24 กรกฎาคม 2554) |
พุทธศักราช 1736 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/447?lang=th |