ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น

ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2565 16:44:44 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 09:55:24 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกสำนักนางขาว

ขอมโบราณ

เนื้อหาในจารึกได้กล่าวว่า พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 หรือพระบาทบรมไกวัลยบท (พ.ศ. 1623-1650) มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้บรรดาข้าราชการผู้มีนามว่า ราชปติวรมัน ซึ่งเป็นนามซ้ำกันทั้ง 3 คนนี้ จารึกสุพรรณบัตร เพื่อนำไปเก็บรักษาไว้ในกัมรเตงชคตหรือเทวสถาน

จารึกสำนักนางขาว, ศิลาจารึกศาลานางขาว, ขก. 12, ขก. 12, ขก./13, ขก./13, Stele de Nadun, Inscription provement de Samnak Nang Khaw Nadun, Mahasarakham, K. 1094, K. 1094, ศิลาจารึกมรตาญศรีราชปติวรมัน, ศิลา, ประเภทหินทราย, อำเภอนาดูน, จังหวัดมหาสารคาม, ขอมสมัยพระนคร, มรตาญศรีราชปติวรมัน, พระกัมรเตงอัญศรีราชปติวรมัน, พระบาทกัมรเตงอัญศรี, พระบาทบรมไกวัลยบท, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, ชัยวรมันเทวะ, สุพรรณบัตร, กัมรเตงชคต, นวพรรณ ภัทรมูล, ประยูร ไพบูลย์สุวรรณ, โบราณวัตถุสถานในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดใกล้เคียง, อำไพ คำโท, ศิลปากร, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, นัยนา โปร่งธุระ, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 3 คุรุรำลึก, Naiyana Prongthura, ภาษา-จารึก ฉบับที่ 3 คุรุรำลึก, Saveros Pou, สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, นำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 17, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, บุคคล-พระเจ้าชัยวรมันที่ 6, บุคคล-ราชปติวรมัน, บุคคล-พระบาทบรมไกวัลยบท, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 6 กุมภาพันธ์ 2563)

พุทธศตวรรษ 17

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/414?lang=th

2

จารึกสถาปนาสีมา

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างสิ่งของอันใดอันหนึ่งเป็นกุศลทาน มีอานิสงส์ยังให้เกิดความสุขในโลกสวรรค์

จารึกสถาปนาสีมา, ขก. 2, ขก. 2, Vat Si That Pramancha, K. 981, K. 981, ศิลา, หินทรายสีเทา, เสากลม, อำเภอกุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์, ทวารวดี, พระเถระ, พระภิกษุ, สีมา, เสมา, ศิลา, พุทธศาสนา, สถาปนาศิลา, สถาปนาสีมา, สถาปนาเสมา, ตรงใจ หุตางกูร, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกอาณาจักรทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนเสา, ลักษณะ-จารึกบนเสากลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/878?lang=th

3

จารึกวัดวิชัยอาราม

ไทยน้อย,ธรรมอีสาน

เป็นพระบรมราชานุญาตให้ขุนนางสร้างวัด กัลปนาที่ดิน แก่วัดวิชัยอาราม เมื่อ พ.ศ. 2171 ภายหลังต่อมา พระสังฆราชาจตุปาริสุทธิศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนาลี ได้อุทิศข้าโอกาสแก่วัด 5 ครัว เมื่อ พ.ศ. 2172 พร้อมกับสาปแช่งผู้ที่มาทำลายทานวัตถุเหล่านั้น

ขก. 8, ขก. 9, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม ขก./9 อักษรไทย และธรรมภาคอีสาน ภาษาไทย และภาษาบาลี จ.ศ. 991, จารึกวัดวิชัยอาราม, ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), ศิลาจารึกวัดวิชัยอาราม (ขก. 9), พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, พ.ศ. 2172, พุทธศักราช 2172, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, จ.ศ. 991, จุลศักราช 991, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, พ.ศ. 2171, พุทธศักราช 2171, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, จ.ศ. 990, จุลศักราช 990, ศิลา ประเภทหินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตรพระเป็นเจ้า, สมเด็จพระมหาอัครวรราชครูวินัยธรวรชิโนรส, ท้าวมาลุน, สมเด็จสังฆราชาจตุปาริสุทธศีลบวรญาณอริยวงศามหาวนวาสีเจ้า, ศาสนูปถัมภก, พ่อแม่ญาติ, ตระกูลอุปฐาก, ข้าโอกาส, อารามิกทาส, ข้าพระ, ลูก, หลานเหลน, หมื่นจำเริญ, หมื่นนอง, ขุนหลวง, ขุนทอง, พันรักษา, ขุนคาน, มหาธรรมิกราชาธิราช, พระพุทธเจ้า, แก้ว, เม็ดหินเม็ดทรายชื่อ, นาหมอขาป, พุทธศาสนา, วัดวิชัยอาราม, อาราม, ถวายทาส, อุทิศข้าทาส, อุทิศข้าโอกาส, อุทิศข้าพระ, วงดวงชาตา, เพ็ง, เพ็ญ, ปีกาบไจ้, แถ, เที่ยงวัน, ปีกัดไส้, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีกุมภ์, พระจันทร์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, พระราหู, ราศีกันย์, พระศุกร์, ราศีมีน, พระเกตุ, ราศีเมษ, ราศีพิจิก, ราศีมังกร, ราศีมีน, ราศีตุล, ราศีเมถุน, ราศีกรกฎ, พระราชอาชญาลายจุ้ม, โลภตัณหา, พระราชอาชญา, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, ฤกษ์, บาปกรรม, ทานวัตถุ, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2172

บาลี,ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2164?lang=th

4

จารึกวัดพังเพา

ไทยน้อย

ข้อความจารึกกล่าวถึงลูกเจ้าหมื่นบอนและนางหมื่นบอนที่ได้ถวายที่นาดอนจันไว้กับวัดพังเพา

ขก. 6, ขก. 6, ศิลาจารึกซึ่งได้มาจากวัดศรีสะเกษ จ. หนองคาย อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, หลักที่ 89 ศิลาจารึกวัดศีรษะเกษ, หลักที่ 89 ศิลาจารึกวัดศีรษะเกษ, ศิลาจารึกวัดศรีสะเกษ, จารึกวัดพังเพา, พุทธศักราช 2112, พ.ศ. 2112, พุทธศักราช 2112, พ.ศ. 2112, จุลศักราช 931, จ.ศ. 931, จุลศักราช 931, จ.ศ. 931, ศิลา, รูปใบเสมา, วัดศรีสะเกษ, จังหวัดหนองคาย, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, ลูกพระยา, เจ้าหมื่นบอน, นางหมื่นบอน, นาสอนจัน, วัดพังเพา, พุทธศาสนา, ถวายนา, ปีกัดไส้, ศรีสุมังคลกถา, วันเสาร์, ฤกษ์กฤติกา, ออก, ปัญจานันตริยกรรม, เบญจ นันตริยะ, บาป, อปายคมนิยกรรม, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 : ประมวลจารึกที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลางของประเทศไทย อันจารึกด้วยอักษร และ ภาษาไทย, ขอม, มอญ, บาลีสันสกฤต, ประสาร บุญประคอง, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว : ศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน, สิลา วีระวงส์, สมหมาย เปรมจิตต์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2112, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, บุคคล-ลูกเจ้าหมื่นบอน, บุคคล-นางหมื่นบอน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2112

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2159?lang=th

5

จารึกมุจลินทอาราม 2

ไทยน้อย

ข้อความจารึกระบุเขตที่ดินและข้าโอกาสที่ถวายไว้แด่วัดมุจลินทอาราม เมืองห้วยหลวง ตอนท้ายได้มีการประกาศเขตปลอดอาญาแผ่นดินไว้เช่นเดียวกันกับศิลาจารึกมุจลินทอาราม 1 (ขก. 7)

ขก. 10, ขก. 10, ศิลาจารึก ขก./11 อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากบ้านเสมา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, ศิลาจารึก ขก./11 อักษรไทยเหนือ ภาษาไทย ได้มาจากบ้านเสมา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, จารึกมุจลินทอาราม 2, จารึกมุจลินทอาราม 2, จารึกวัดมุจลินทอาราม 2, จารึกวัดมุจลินทอาราม 2, พ.ศ. 2139, พุทธศักราช 2139, พ.ศ. 2139, พุทธศักราช 2139, จ.ศ. 958, จุลศักราช 958, จ.ศ. 958, จุลศักราช 958, ศิลา, รูปใบเสมา, บ้านเสมา, อำเภอกมลาไสย, จังหวัดกาฬสินธุ์, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จองค์เป็นเจ้า, พระเจ้าวัดมุจจลินทอารามเมืองห้วยหลวง, พระเจ้ามุจจลินทอาราม, โชดก, จ่าเฒ่า, มงคล, ท้าวเจ้า, ข้าโอกาส, ข้าทาส, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, ขุนนาย, ข้อย, โพธิ, อุปการแก้ว, นาสาน, พุทธศาสนา, ทาน, ถวายนา, อุทิศนา, ถวายที่นา, อุทิศที่นา, พระราชอาชญา, เขตดินไร่นา, พืชผล, โลภตัณหา, ทุกข์, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2139, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, บุคคล-พระหน่อเมือง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2139

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2166?lang=th

6

จารึกมุจลินทอาราม 1

ไทยน้อย

พระวรรัตนธรรมประโชติฯ หรือในพงศาวดารเรียกว่า พระหน่อเมือง (พ.ศ. 2134-2141) มีพระราชโองการเถราภิเษกพระสังฆราชมุจลินทมุนีจุฬาโลก วัดมุจลินทอาราม ที่เมืองห้วยหลวง และอุทิศที่ดิน นาจังหัน ที่สำคัญที่สุดคือ ได้กำหนดเขตวัดมุจลินทอารามเป็นเขตปลอดอาญาแผ่นดิน นั่นคือ ผู้ที่ถูกอาญาแผ่นดินหนีเข้ามาพึ่งศาสนาในบริเวณวัดจะได้รับอภัยโทษ คือจากโทษประหาร จองจำ โบยตี มาเป็นเพียงปรับไหม และยกให้เป็นข้าโอกาสของวัด

ขก. 7, ขก. 7, จารึกวัดมุจลินทอาราม 1 (ขก. 7), จารึกวัดมุจลินทอาราม 1 (ขก. 7), ศิลาจารึก ขก. 8 อักษรและภาษาไทย จ.ศ. 956, ศิลาจารึก ขก. 8 อักษรและภาษาไทย จ.ศ. 956, ศิลาจารึกเมืองห้วยหลวง (ขก. 8), ศิลาจารึกเมืองห้วยหลวง (ขก. 8), จารึกมุจลินทอาราม 1, จารึกมุจลินทอาราม 1, พ.ศ. 2137, พุทธศักราช 2137, พ.ศ. 2137, พุทธศักราช 2137, จ.ศ. 956, จุลศักราช 956, จ.ศ. 956, จุลศักราช 956, ศิลา ประเภทหินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จบรมบพิตร, พระเจ้าตนเป็นพระ, พระวรรัตนธรรมประโชติ, เสตคัชชอัศจรรย์, สุวรรณสมุคคขัคครัตนสารราชบพิตร, มหาสังฆราชามุจลินทมุนีจุฬาโลก, พระพุทธเจ้า, ภูมิปาล, ขุนนาย, ข้อย, ข้าทาส, ข่อย, โพธิ, ข้าวตอกดอกไม้, เผิง, แก้ว, สินไหม, เมืองห้วยหลวง, นาหอกลอง, นาจ่าน้อย, นาเริง, นากว้าน, นาส่วยหน้า, นาแขวงบอน, นาถิ่นตอง, นาต่อ, นาท่าเรือ, นาลองของ, นาแก้วสมคาม, นาหอหน้า, นาหมาตายดีก, นาพวกไก, นาพวกไก่, นาแพ, นาเจ้าน้อย, นาแควงบอน 1, นาล่องของ, พุทธศาสนา, มุจลินทอาราม, คามเขตมุจลินทอาราม, เถราภิเษกมหาสังฆนายก, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, พระราชอาชญาลายจุ้ม, เวียก, การงาน, นรหิต, พระศาสนา, โลภตัณหา, ไร่นา, ทุกข์, อบายทั้ง 4, อบายทั้ง 4, ฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, ธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว, สงวน รอดบุญ, จันทรเกษม, สิลา วีระวงส์, ประวัติศาสตร์ลาว, อายุ-จารึก พ.ศ. 2137, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรล้านช้าง-พระหน่อเมือง, บุคคล-พระวรรัตนธรรมประโชติฯ, บุคคล-พระหน่อเมือง, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2137

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2161?lang=th

7

จารึกบ้านเมย

ขอมโบราณ

ข้อความจารึกกล่าวถึงพระกัมรเตงอัญอนันตศรีย...ซึ่งเป็นหลานของภควัตปาท กัมรเตงอัญ จุงคะนัง ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้า (คงหมายถึงผู้สร้างจารึกบ้านเมยหลักนี้ บรรทัดที่ 10 บอกว่า ข้าพเจ้าคือ วะมา เพียง 1 คน รับผิดชอบเครื่องบูชาทุกวันๆ ละ 5 ลิ) ทำพลีกรรมบูชาพระกัมรเตงชคัด กันมยังศีลคุณ ในอาศรม ส่วนนาข้าวให้ข้าทาสอีกจำนวนหนึ่งเป็นผู้ดูแลและข้าพเจ้าคือวะมาเพียงผู้เดียว ดูแลจัดการเครื่องบูชาประจำวัน วันละ 5 ลิ ข้อความจารึกห้ามไม่ให้หน่วยงานใดๆ เรียกข้าทาสเหล่านี้ไปใช้งานอื่น นอกจากงานรับใช้พระกัมรเตงชคัตในอาศรมเท่านั้น นอกจากนั้น ข้อความจารึกได้จัดความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุและบุคคลสำคัญไว้อย่างเป็นระเบียบด้วย

จารึกบ้านเมย, ศิลา, หินทราย, กรอบประตูพระปรางค์, พ.ศ. 1596, พุทธศักราช 1596, ม.ศ. 975, มหาศักราช 975, พ.ศ. 1596, พุทธศักราช 1596, ม.ศ. 975, มหาศักราช 975, จารึกหินทราย, ชิ้นส่วนกรอบประตูพระปรางค์แบบลพบุรี, พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, บ้านเมย ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น, วัดบ้านเมย, พระกัมรเตงอัญอนันตศรีย, ภควัตปาท, กัมรเตงอัญ, จุงคะนัง, วะมา, เครื่องบูชา, พลีกรรม, พระกัมรเตงชคัด, กันมยังศีลคุณ, อาศรม, นาข้าว, ข้าทาส, พระกัมรเตง อัญ อนันตสรีย, เจ้าบาทกัมรเตง อัญ จุง คะนัง, ข้าวเปลือก, อาศรม, สิเตง, อวิละ, สังเตง, อัมวิละ, ใตพรหม ใตสิบท, แม่สังสัตยัง, สิขะโท, สิจงโธย, ไตกัณโฐง, กันฆาง, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1596, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดบ้านเมย ขอนแก่น, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 1596

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19153?lang=th

8

จารึกบ้านหนองห้าง

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงพระนามพระศรีพัชรวรมัน

จารึกบ้านหนองห้าง, กส. 6, กส. 6, Stele de Bua Khao, K. 511, บ้านหินแป้น, K. 511, ศิลา, หินทราย, รูปใบเสมา, บ้านหนองห้าง ตำบลหนองห้าง อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์, เจนละ, พระศรีพัชรวรมัน, นวพรรณ ภัทรมูล, George Cœdès, Inscriptions du Cambodge vol. VII, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 3, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 15, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, บุคคล-พระศรีพัชรวรมัน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศตวรรษ 15

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/335?lang=th

9

จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น

ธรรมอีสาน

เป็นพระบรมราชโองการพระมหากษัตริย์ล้านช้าง ได้ถวายข้าโอกาส เพื่อรักษาบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ และสาปแช่งผู้ที่มายึดเอาข้าโอกาสของพระพุทธรูป

จารึกฐานพระพุทธรูปพิพิธภัณฑ์ขอนแก่น, จารึกบนฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, จารึกฐานพระพุทธรูปสำริดพิพิธภัณฑสถานขอนแก่น, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, พ.ศ. 2336, พุทธศักราช 2336, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, จ.ศ. 1155, จุลศักราช 1155, ทองสัมฤทธิ์, ทองสำริด, ถ้ำ, ตำบลคำอาฮวน, จังหวัดมุกดาหาร, ไทย, ล้านช้าง, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, สมเด็จพระบรมบพิตรพระมหาธรรมมิกราชาธิราชชัยมหาจักรพรรดิภูมินทราธิราชเจ้า, ข้อย, ข้าทาส, ข้าพระ, แผ่นโลหะ, พุทธศาสนา, วิหาร, การอุทิศข้าทาส, การอุทิศข้าพระ, พระราชอาญา, พระเจ้า, พระพุทธรูปทอง, วัสสา, โลภ, ตัณหา, อบาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2336, อายุ-จารึกสมัยพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้าง, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, ยุคสมัย-จารึกสมัยอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์-พระเจ้านันทเสน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 1, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-สมเด็จพระมหาธรรมิกราชาธิราช, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจ 24 มีนาคม 2559)

พุทธศักราช 2336

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1958?lang=th

10

จารึกฐานพระพุทธรูป (วัดโคกกัมภ์ กาฬสินธุ์)

หลังปัลลวะ

กล่าวถึงการสร้างสิ่งของอันใดอันหนึ่งเป็นกุศลทาน มีอานิสงส์ยังให้เกิดความสุขในโลกสวรรค์

จารึกฐานพระพุทธรูป (จังหวัดกาฬสินธุ์), กส. 5, กส. 5, ศิลา, ฐานพระพุทธรูป, จังหวัดกาฬสินธุ์, นายกีฏะ, เจนละ, ตรงใจ หุตางกูร, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13-14, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูป, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปประทับยืน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สำรวจข้อมูลเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2563)

พุทธศตวรรษ 13-14

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/869?lang=th