ชุดข้อมูลจารึกที่ปรากฏรายนามผู้ครองเมืองพะเยา
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเจ้าเหนือหัวหมื่นพระญาสองแคว |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2017 เจ้าสองแควเก่า ผู้ซึ่งพระเจ้าติโลกราชยกขึ้นเป็นลูก และให้เป็นเจ้าสี่หมื่นกินเมืองพะเยา มาสร้างบ้านพองเต่าให้เป็นที่อยู่ |
จารึกเจ้าเหนือหัวหมื่นพระญาสองแคว, ลพ. 24, ลพ./24, พช. 36, 333, ลพ. 24, ลพ./24, พช. 36, 333, จารึกพระยาสองแคว, หลักที่ 302 จารึกพระยาสองแคว, หลักที่ 302 จารึกพระยาสองแคว, พ.ศ. 2017, พุทธศักราช 2017, พ.ศ. 2017, พุทธศักราช 2017, จ.ศ. 826, จุลศักราช 826, จ.ศ. 826, จุลศักราช 826, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, อำเภอแม่ริม, จังหวัดเชียงใหม่, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าเหนือหรัว, เจ้าเหนือหัว, เจ้าสี่หมื่น, พระยาสองแควเก่า, พระเป็นเจ้า, เจ้ากินเมือง, เจ้าครองเมือง, เจ้าหมื่น, ช่างปู, พระยาสองแควยุธิษฐิระ, เจ้าเมืองพะเยา, พระยายุธิษฐิระ, พระเจ้าติโลกราช, เงินลาย, เมืองพะเยา, บ้านพองเต่า, พุทธศาสนา, สังฆาราม, อาราม, ปีมะเมีย, ปีกาบสง้า, ปีกาบซง้า, เดือนสราวัณ, เดือนเก้า, ออกเก้า, วันศุกร์, วันเต่าสี, ฤกษ์, วิสาขะ, วิศาขะ, ยามแตรเมื่อค่ำ, สาวนะ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2017, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, เรื่อง-ผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-เจ้าสองแคว, บุคคล-พระเจ้าติโลกราช, บุคคล-เจ้าสี่หมื่น, , มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2017 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2009?lang=th |
2 |
จารึกเจ้าหัวแสนญาณกัลยา |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2047 พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา เจ้าเมืองพะเยา ได้ให้ฝังศิลาจารึกไว้เพื่อประกาศห้ามไม่ให้ผู้ที่กระทำความผิด เข้าไปในวัด |
จารึกเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, พย. 29, พย. 29, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, พ.ศ. 2047, พุทธศักราช 2047, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, จ.ศ. 866, จุลศักราช 866, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดร้าง, ตำบลแม่ต๋ำ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, เจ้าเมืองพญาว, เจ้าเมืองพยาว, เจ้าเมืองพะเยา, เจ้าเมิงพญาว, เจ้าเมิงพยาว, เจ้าเมิงพะเยา, พ่ออยู่หัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, มหาสามีเจ้า, นายวัด, หมื่นนา, จ่าเมิง, จ่าเมือง, เจ้าผู้กินเมือง, เจ้าผู้กินเมิง, ผู้ครองเมือง, กำแพง, พุทธศาสนา, ฝังหินจารึก, ฝังศิลาจารึก, ปีกาบไจ้, เดินหก, เดือนหก, เดินสี่, เดือนสี่, วันศุกร์, วันเปิกสัน, ฤกษ์, อุตรผลคุนะ, คลองเมิง, คลองเมือง, ครรลองเมือง, เม็ง, อุตรผลคุณี, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2047, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-พ่อหญัวเจ้าหัวแสนญาณกัลยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2047 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1726?lang=th |
3 |
จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงมาเป็นเจ้าสี่หมื่น |
ฝักขาม |
ครั้นเมื่อเจ้าหมื่นเลี้ยงได้เป็นเจ้าสี่หมื่นปกครองเมืองพะเยา พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูป อุทิศที่ดินและข้าพระจำนวนมากให้แก่วัดแห่งหนึ่งซึ่งเป็นสาขาของวัดสุวรรณมหาพิหาร |
จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงมาเป็นเจ้าสี่หมื่น, พย. 47, พย. 47, จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงเป็นเจ้าสี่หมื่นเมืองพยาว, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 2104, พุทธศักราช 2104, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, หินทราย, รูปใบเสมา, โรงเรียนบุญสิทธิ์, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นเลี้ยง, เจ้าสี่หมื่น, ท้าว, พระยา, หมื่นน้อยหน่อ, มหาราชเทวี, ขุน, หม้อเพจี, สมบัติ, เมิงพยาว, เมืองพยาว, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, เมิงคน, เมิงฟ้า, เมืองคน, เมืองมนุษย์, เมืองสวรรค์ ศาสนา: พุทธศาสนา, วัดสุวันมหาพิหาร, วัดสุวรรณมหาพิหาร, วัดสุวันมหาวิหาร, วัดสุวรรณมหาวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, กะทำพระเจ้า, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, โอยทาน, ให้ทาน, เที่ยงวันจันทร์, เดือนสิบเอ็ด, เดินสิบเอ็ด, ออกอื่นๆ: ที่นา, ปีรวงเหม้า, เม็ง, ปีเถาะ, ปีโถะ, ข้าว, บ้าน, มอญ, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2014 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1759?lang=th |
4 |
จารึกเจ้าสี่หมื่นสร้างพระพุทธรูป |
ฝักขาม |
ครั้นเมื่อเจ้าหมื่นเลี้ยงได้เป็นเจ้าสี่หมื่นปกครองเมืองพะเยา พระองค์โปรดให้สร้างพระพุทธรูปเพื่อประดิษฐานไว้ และตกทอดแก่ลูกหลานผู้ที่จะมาปกครองบ้านเมืองต่อๆ ไป |
จารึกเจ้าสี่หมื่นสร้างพระพุทธรูป, พย. 52, พย. 52, จารึกวัดห้วยนาคศักราช: พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 2014, พุทธศักราช 2014, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954, พ.ศ. 1954, พุทธศักราช 1954วัตถุจารึก: หินทรายลักษณะวัตถุ: รูปใบเสมาสถานที่พบ: วัดลี, ตำบลในเวียง, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหมื่นเลี้ยง, เจ้าสี่หมื่น, หลานเหลน, ท้าว, พระญา, มหาราชะ, มหาเทวี, ขุนมั่น, พระเจ้า, ต้นยางชื่อ, เมิงพยาว, เมืองพะเยา, เมืองพยาว, บ้าน, หม้อเพจี, นรก, เมิงฟ้า, เมืองฟ้า, เมืองสวรรค์, พุทธศาสนา, กะทำพระเจ้า, สร้างพระพุทธรูป, กรวดน้ำ, หยาดน้ำ, โอยทาน, ให้ทาน, ปีรวงเหม้า, เม็ง, ปีโถะ, ปีเถาะ, พระพุทธรูป, วันเที่ยง, เดินสิบเอ้ด, เดือนสิบเอ็ด, ออก, วันจันทร์, ผลบุญ, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ฮันส์ เพนธ์, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2014, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเจ้าติโลกราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดลี พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, มีภาพจำลองอักษร |
วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2014 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1782?lang=th |
5 |
จารึกเจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยง |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2033 เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยงได้ขึ้นปกครองเมืองพะเยา เห็นเสมาเก่าหักมานาน จึงให้เอาออก แล้วทำเสมาอันใหม่ให้มั่นคงแข็งแรงขึ้น |
จารึกเจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยง, พย. 46, พย. 46, จารึกเจ้าสี่หมื่นฯ ให้จารสีมาใหม่, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, หินทราย, แผ่นรูปใบเสมา, วัดดงแล, วัดร้าง, ตำบลบ้านใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยงพระเป็นเจ้า, เจ้าเมิงพิง, เจ้าเมืองพิง, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นอาวเลี้ยงปู่พระ, มหาราชะ, มหาราชา, มหาเทวี, ผ้าขาว, หลานเชียง, เค้า, ข้าพระ, พระพุทธเจ้า, เจ้าขุน, พระเจ้า, กล้วย, เมิงพญาว, เมืองพญาว, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, ทำสีมาใหม่, พุทธศาสนา, กินเมิง, กินเมือง, ปกครองเมือง, ปกครองบ้านเมือง, ปีกดเส็ด, ขอม, ปีจอ, ออก, อารุณ, อรุณ, หรคุณ, ชระมัว, เม็ง, มอญ, สิทธิ, วันเต่าซง้า, ริกษ, ฤกษ์, อัศวันนี, โบราณ, อัศวินี, สิโนทก, ที่นา, ข้าว, พระพุทธรูป, อาธรรม, อธรรม, คำสาบาน, จารึกบนใบเสมา, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างใบเสมา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2033 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1756?lang=th |
6 |
จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2033 เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยงของกษัตริย์เมืองเชียงใหม่ ได้ขึ้นครองเมืองพะเยาสืบต่อจากพระเจ้าสามฝั่งแกน เห็นสีมาเก่าหักแล้วก็ให้ฟันออก แล้วทำสีมาใหม่มาใส่ |
จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่, พย. 3, พย. 3, ศิลาจารึกอักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่, พ.ย./3, พ.ย./3, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, พ.ศ. 2033, พุทธศักราช 2033, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, จ.ศ. 852, จุลศักราช 852, ศิลา, หินทราย, สีเทา, หลักสี่เหลี่ยม, วัดดงแล, วัดร้าง, ตำบลบ้านใหม่, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นปู่เลี้ยง, เจ้าสี่หมื่นผู้เป็นอาวเลี้ยงปู่พระแต่โบราณ, พระเป็นเจ้าเมิงพิง, พระเป็นเจ้าเมืองพิง, มหาราช, มหาเทวี, พระเจ้ายอดเชียงราย, พระเจ้าสามฝั่งแกน, บุตรหลาน, ลูกหลาน, เจ้าญาณสุนทร, เจ้าญาณสุนธร, มหาเถรสียาเจ้า, มหาเถรสิยาเจ้า, อีแม่ทุน,พระพุทธเจ้า, เจ้าขุน, เงิน, กล้วย, เมิงพิง, เมืองพิง, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, เมิงพญาว, เมืองพญาว, พุทธศาสนา, ขันธสีมา, ขันทเสมา, ใส่สีมา, ใส่เสมา, หยาดน้ำสิโนทก, อยาดน้ำสิโนทก, กรวดน้ำสิโนทก, ปีกดเส็ด, ขอม, ปีจอ, เม็ง, มอญ, วันอาทิตย์, ไทยสิทธิ, วันเต่าซง้า, วันเต่าสะง้า, อัศวนี, แผ่นดิน, นา, พระพุทธรูป, คำโอยพร, คำอวยพร, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2033, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ฝังสีมา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2033 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1557?lang=th |
7 |
จารึกหัวแสนญาณกัลยากินเมืองพยาว |
ฝักขาม |
กล่าวถึงพ่ออยู่หัวแสนญาณกัลยา กินเมืองพะเยา และทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา แล้วได้กล่าวถึงชื่อ ตำแหน่งข้าราชการในครั้งนั้น เช่น เจ้าพันสีนาค พันมงคล หมื่นนาหลัง เป็นต้น ความจารึกในตอนสุดท้าย กล่าวถึง ถ้าผู้ไทยใด ไม่ไว้คนในจารึก ตามอาชญาพระเป็นเจ้า และกลับทำลายเสีย ขอให้มีแต่ความหายนะ ตายไปขอให้ตกนรก เรื่องที่ได้จากจารึกหลักนี้ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเมืองพะเยา ที่มีเจ้าเมืองครอบครองอยู่ใน พ.ศ. 2045 มีชื่อว่า แสนญาณกัลยา ระยะเวลาดังกล่าวนี้ เป็นรัชสมัยพระเมืองแก้ว ดังนั้น “ตามอาชญาพระเป็นเจ้า” ก็หมายถึงพระเมืองแก้ว เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ อันเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาสมัยนั้น |
จารึกหัวแสนญาณกัลยากินเมืองพยาว, ลพ. 19, ลพ./19, พช. 32, 332, ลพ. 19, ลพ./19, พช. 32, 332, ศิลาจารึก ลพ./19 อักษรไทยฝักขาม, ภาษาไทย, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, พ.ศ. 2045, พุทธศักราช 2045, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, จ.ศ. 864, จุลศักราช 864, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, วัดบุญนาค, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เจ้าหัวแสนญาณกัลยา, นายหลาลี, สามเกิง, ฉางเลา, ปากโสม, ญาแก้ว, ญาแก่น, ญาอาบ, คำเหลา, ทิดสิน, เงิน, อัวมัน, อ้ายพั้น, อรรถทัสสี, สามลอด, บูน, นางลูน, สามจันทร์, เจ้าหมื่นนาหลัง, ญาแทนคำ, เจ้าปากวัน, ปากแก้ว, ปากสินพินเมือง, เจ้าพันศรีทาด, พันมงคล, พวกมงคล, ปากอานนท์, ปากสวนพสิม, หนังสือแคว้น, เฒ่าเมืองเกต, เฒ่าเมืองสิน, เจ้าไท, เคล้า, เค้า, เจ้าพันศรัทธา, เจ้าพันตูบเจียนสุวรรณ, เจ้าพันญางญากุน, เจ้าหัวแสนพะเยา, พุทธศาสนา, กินเมือง, กินเมิง, ปกครองบ้านเมือง, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระพุธ, พระศุกร์, ราศีเมถุน, พระอังคาร, ราศีกรกฎ, ลัคนา, ราศีกันย์, ปีเต่าเส็ด, เม็ง, มอญ, วันจันทร์, ฤกษ์, อุตตรภัทรปท, อุตตรภัทรบท, ราศีตุล, ราศีพฤษภ, ราศีสิงห์, ราศีเมถุน, ราศีเมษ, ราศีมังกร, ปีระวายยี่, ปีระวายยี, ปีรวายยี่, ปีรวายยี, ครัว, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2045, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา-แสนญาณกัลยา, บุคคล-พ่ออยู่หัวแสนญาณกัลยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ข้อมูลจากการสำรวจของคณะทำงานโครงการพัฒนาฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), สำรวจเมื่อ 31 กรกฏาคม 2557) |
พุทธศักราช 2045 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1997?lang=th |
8 |
จารึกสร้างมหามณฑป (เมืองพยาว) |
ฝักขาม |
เป็นการจารึกบันทึกเรื่องการสร้างมหามณฑปที่เมืองพะเยา |
จารึกสร้างมหามณฑป (เมืองพยาว), ลพ. 12 จารึกการสร้างพระมหามณฑป (พะเยา) พ.ศ. 2078, ลพ. 12 จารึกการสร้างพระมหามณฑป (พะเยา) พ.ศ. 2078, จารึกการสร้างมหามณฑป, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, พ.ศ. 2078, พุทธศักราช 2078, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, จ.ศ. 897, จุลศักราช 897, ลพ. 12, ลพ./12, พช. 15, 325, ลพ. 12, ลพ./12, พช. 15, 325, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระเป็นเจ้าอยู่หัว, ชาวยอดขระหนานดาบเรือนจัน, เจ้าขุนเมืองพยาว, เชียงคง, ชาวดาบเรือน, สุวัน, ข้าพระ, ไพร่, เมืองพยาว, เมืองพะเยา, พุทธศาสนา, วัด, ปลูกมหามณฑป, สร้างมหามณฑป, สร้างมณฑป, ปีดับเม็ด, ปีมะแม, เดือนภัทรมาส, ออก, ไทรวงเม็ด, ไทร้วงเม็ด, ติดถี, ดิถี, นาที, ฤกษ์, ยามตูดเช้า, พระราชโองการ, เรือน, พระอาชญา, มอญ, นวพรรณ ภัทรมูล, เกรียงศักดิ์ ชัยดรุณ, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, อายุ-จารึก พ.ศ. 2078, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเกษเกล้า, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างมณฑป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
วัดพระธาตุหริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
พุทธศักราช 2078 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1993?lang=th |
9 |
จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม |
ฝักขาม |
เจ้าสี่หมื่นเมืองพะเยาให้ฝังหินใหญ่สี่ก้อนไว้รอบบริเวณอารามทั้งสี่มุมให้เป็นหินคู่บ้านคู่เมือง แล้วประกาศให้ช่วยกันรักษาหินนี้มิให้หักหรือถูกทำลาย |
พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, พย. 40 จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม พุทธศตวรรษที่ 21-22, จารึกวัดโลกติลกสังฆาราม, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, หมื่นบาน, หมื่นพรม, หมื่นล่ามนา, พันเด็กชาย, สี่พันเชิงกูดี, นายร้อย, เจ้าเหนือหัว, เจ้าสี่หมื่น, เจ้าไท, เจ้านาย, เจ้าบ้านเจ้าเมือง, เจ้าเหนือหัว, สัปปุริส, สี่พันเชิงคดี, สัปปุรุษ, พุทธศาสนา, โลกติลกสังฆาราม, ฝังหิน, กินเมือง, อุปาจาร, แจ่ง, นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21-22, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังหินคู่บ้านคู่เมือง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (สำรวจเมื่อ 31 ตุลาคม 2564) |
พุทธศตวรรษ 21-22 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1746?lang=th |
10 |
จารึกวัดเก้ายอด |
ฝักขาม |
ข้อความที่จารึกนี้กล่าวถึง คือ การอุทิศส่วนกุศลในการสร้างวัดเก้ายอด ถวายแด่เจ้าเหนือหัวผู้ครองเมืองเชียงใหม่ในสมัยนั้น คือ พระเจ้าสามฝั่งแกน กล่าวถึงเจ้าสี่หมื่นพยาว (เมืองพะเยา) ให้คนมาฝังจารึกในวัดเก้ายอด บ่งบอกอาณาเขตของวัด โดยเอาบ้านพระยาร่วงและบ้านหมอช้างเป็นแดน จากข้อความเหล่านี้ จึงแน่ใจได้ว่า จารึกหลักนี้เป็นของที่อยู่ประจำกับวัดเก้ายอด และวัดนี้จะต้องอยู่ในเขตจังหวัดพะเยาปัจจุบันนี้อีกด้วย เพราะการอ้างถึง บ้านพระยาร่วงนั้นคงจะเป็นบริเวณที่ตั้งของวัดพระยาร่วง ในจังหวัดพะเยา ที่แห่งนี้ ได้ค้นพบจารึกศิลาจารึกกล่าวถึงวัดพระยาร่วง ซึ่งปัจจุบันนี้เรียกกันว่า วัดบุญนาค |
จารึกวัดเก้ายอด, ลพ. 27, ลพ./27, พช. 11, 338, ลพ. 27, ลพ./27, พช. 11, 338, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, พ.ศ. 1919, พุทธศักราช 1919, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, จ.ศ. 738, จุลศักราช 738, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ผ้าขาว, นักบุญ, เจ้าเหนือหัวเจ้าพระยาเติม, มหาเทวี, ลุงเจ้าโถด, พันยี่, มหาเถร, เจ้าวัด, ชาวเจ้า, ชีบามหาเถร, หมื่นแมนแสนเขาเฒ่าเมือง, ผู้เฒ่าผู้แก่, พันนาม่วง, เจ้าสี่หมื่นพะเยา, พระพุทธเจ้า, พันนาเชียงดี, สังฆเถรา, พระภิกษุ, หมาก, เบ้, เบี้ย, จังหัน, คือเวียง, คูเมือง, บ้านพญาร่วง, บ้านหมอช้าง, สุมกลาด, หมู่ตลาด, บ้านเก้ายอด, แดนขรางไม้, ถ้ำ, พุทธศาสนา, วิหาร, ชายคาวิหาร, สร้างวัด, ฝังจารึก, ฝังหิน, ปีระวายสี, ปีรวายสี, อนาบุญ, กุศล, วันตก, วันออก, แท่น, พายใต้, รางไม้, เทวดา, สัตว์ดิรัจฉาน, นรก, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, คงเดช ประพัฒน์ทอง, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 1955, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาสามฝั่งแกน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ฝังศิลาจารึก, เรื่อง-การปักปันเขตแดน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 1955 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2011?lang=th |
11 |
จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก) |
ฝักขาม |
จารึกหลักนี้ได้กล่าวถึงเรื่อง |
จารึกวัดวิสุทธาราม (ฝังจารึก), ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, ศิลาจารึก ลพ./22 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ลพ. 22, ลพ./22, พช. 9, 330, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, พ.ศ. 2049, พุทธศักราช 2049, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, จ.ศ. 868, จุลศักราช 868, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดวิสุทธาราม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, สมเด็จมหาสวามีศรีวิมลโพธิญาณเจ้า, อธิบดี, มหาเถรชยบาลรัตนปัญญา, มหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระเป็นเจ้า, มหาสวามีเจ้า, พวกญารัดดาบเรือน, แสนญาณ, ญาติมหาเถรสินประหยาเจ้า, ญาติมหาเถรสินปัญญาเจ้า, เจ้าแสน, เจ้าพันต่างเมิงมงคล, เจ้าพันต่างเมืองมงคล, ปากสิงขุนหมื่นเมิง, พันหนังสือทา, เจ้าแสนหน้า, ชาวทิตน้อย, ชาวทิดน้อย, พวกญาดาบเรือน, มหาเถรเจ้า, ลูกศิษย์, มหาเถรชมหนาน, หมื่นนาหลังแทนคำ, ปากเทพ, ขบคราว, กลอง, พันเชิงสมณะ, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันหนังสือสาคอน, นางหลาเม้, นางแพง, สุวรรณ, สู, นางคำพัน, นางแก้ว, บุญมาสูแก้ว, ขุนครัว, นางเพิงเม้, เอื้อยบุญ, อีแม่, อีคำบุญ, สีกุน, สีลา, ญาอี, นางแพง, หมอ, น้อย, ยี, เอีย, บุนหนำ, หลอย, เกิง, เม้กอง, ปู่เสียง, นางผิง, เม้นางลัวะ, นางโหะ, หลานจูลา, สูโหะคำพา, ออน, นางเอียเม้, นางอีแม่, นางอุ่น, พี่อ่อน, อีน้อง, ญาพาน, ไอ้, อุ่น, ประหญา, ประหยา, สามพอม, นางพอม, นางอามเม้, นางบุญสม, นางคำสุก, อีหลา, แก้วมหา, ทิดญา, นางเพิง, บุญ, สินแพง, นางบุญมี, นางอุ่น, ทอง, นางช้อยเม้ขวัญ, อ้อย, ช้อย, นางกาน, นางนิรัตนะ, นางอ่ำ, นางม้อย, เม้เอื้อย, กอน, นางไอ, นางอัว, นางสิน, ญาเทพชา, นางพริ้ง, วอน, ญอด, ซอ, เอื้อยชาย, แก้วเตา, บาเกา, เถรสินประหญา, มหาเถรเจ้า, เงิน, ป่าแดงหลวง, พุทธศาสนา, วัดวิสุทธาราม, เมิงพะเยา, เมืองพะเยา, ฝังจารึก, ฝังศิลาจารึก, กินเมิง, กินเมือง, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีตุล, พระจันทร์, ราศีกรกฎ, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีธนู, พระพฤหัสบดี, ราศีกันย์, พระเสาร์, ราศีสิงห์, ลัคนา, พระราหู, ราศีมังกร, ปีขาล, ปีรวายญี่, ปีระวายยี, เดินเจียง, เดือนเจียง, วันรวงเปล้า, วันรวงเป้า, เม็ง, วันอาทิตย์, ฤกษ์, สมณะพราหมณ์, ปิฎก, ครัว, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พุทธรักษา, มอญ, สมณฤกษ์, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2049, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-ประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-การปกครองสงฆ์, บุคคล-สมเด็จพระมหาสวามีศรีมงคลโพธิญาณเจ้า, บุคคล-มหาเถรชัยบาลรัตนปัญญา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2049 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2003?lang=th |
12 |
จารึกวัดพระคำ |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2039 พระราชมาดาของพระมหากษัตริย์ (พญาแก้ว) มีพระราชโองการมาถึงเจ้าเมืองพะเยาชื่อ ญี ซึ่งเป็นพระอัยกา เพื่อยืนยันกัลปนา มีคนและนา ที่พญาสามฝั่งแกน (เสวยราชย์ พ.ศ. 1944-1984) และคนอื่น เคยถวายไว้แด่วัดพระคำ ต่อมา ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในเมืองพะเยา ประชุมตกลงกันให้เป็นไปตามพระราชเสาวณีย์ และตั้งศิลาจารึกหลักนี้ขึ้น สุดท้ายเป็นรายชื่อของข้าทาสที่เป็นหนี้เงินของวัด ห้ามผู้ใดเอาข้าวัดออกไปใช้งานอื่น |
จารึกวัดพระคำ, ลพ. 10, ลพ./10, พช. 10, 326, ลพ. 10, ลพ./10, พช. 10, 326, 326/18, 326/18, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, พ.ศ. 2039, พุทธศักราช 2039, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, จ.ศ. 858, จุลศักราช 858, หินทราย, หลักสี่เหลี่ยม, ทรงกระโจม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พรม, พระสังฆ, พระสงฆ์, ข้าวัด, สมเด็จบพิตรพระมหาเทวีสรีรัตนจักรวรรดิ, พระราชมาตา, ปู่พระเจ้า, เจ้าเมืองญี่พยาว, หล้า, พระพยาว, ปู่หม่อน, พระพุทธเจ้า, เจ้าเมืองแม่ใน, น้ำ, หมื่นลำ, ลูกวัด, ปู่ทวด, เจ้าหมื่นอาดคราว, เพกประหญา, เพกปัญญา, เพ็ชรปัญญา, เพชรปัญญา, พระมหาเทวีเจ้า, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, หมื่นอุดมนาหลัง, พันนา, พันเถ้าเมิงสรีพัด, พันเถ้าเมืองสรีพัด, พันสุวันต้องแต้ม, พันหนังสือแคว้นฉาง, พันหนังสือพื้นเมิง, พันหนังสือพื้นเมือง, หมื่นเปล้าคำรองลูกขา, พันประหญาเชิงคดี, พันปัญญาเชิงคดี, หลวงนาย, พ่อน้อย, สรีมงคล, อุตมบัญฑิต, พระภูบาล, พระราชะราชา, เสนา, มนตรี, ไพร่ฝ้า, ไพร่ฟ้า, ราชกรงเสมา, เอกขษัตรา, มหาเถรพุทธสาครเจ้า, พันล่ามฉาง, พ่อแสง, ล่ามแดว, ทิดหมัว, ทิดเหม, เชียงลุน, สังคบาน, สังฆบาล, มุก, สีโคด, อุ่น, เกิง, กอน, เมิงพยาว, เมืองพะเยา, บาดาล, พรหมโลกา, เมิงสวรรค์, เมืองสวรรค์, คู, พุทธศาสนา, วัดพระคำ, ฝังเสมา, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, อุทิศข้าพระ, อุทิศที่ดิน, อุทิศที่นา, สมภาร, เทวดา, ศีลปัญญา, วิมุติปัญญา, ปีมะโรง, ปีระวายสี, เม็ง, วันอาทิตย์, กาบเม็ด, ริก, ฤกษ์, อัศวณี, พระราชโองการ, ครัว, พระพุทธรูป, พระราชองการ, พระราชองกาน, พระราชเสาวนีย์, บุญ, อนันจักราพาน, จักรวรรติภูมี, สีลบาล, สีลบาน, อุปถาก, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, พันเงิน, ลำนำ, ดิริฉาน, อเพจี, อเวจี, อุปัฏฐาก, เทวา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2039, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญาแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนเสาสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การประดิษฐานศิลาจารึก, เรื่อง-การสร้างศิลาจารึก, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองพะเยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองเชียงใหม่-พญาสามฝั่งแกน, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2039 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1975?lang=th |
13 |
จารึกวัดดอนคราม |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2031 พระมหาราชเทวีเจ้าให้คนนำตราสารทองคำมามอบแก่นางเมืองพะเยา นางเมืองพะเยาให้คนนำตราสารทองคำนั้นมาไว้ที่วัดดอนคราม พร้อมทั้งถวายข้าพระให้อยู่ดูแลพระพุทธรูปและพระภิกษุสงฆ์ |
จารึกวัดดอนคราม, พย. 2, พย. 2, ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย วัดศรีโคมคำ อ. พะเยา จ. เชียงราย, หลักที่ 100 ศิลาจารึกวัดดอนคราม, หลักที่ 100 ศิลาจารึกวัดดอนคราม, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, พ.ศ. 2031, พุทธศักราช 2031, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, จ.ศ. 850, จุลศักราช 850, หินทราย, รูปใบเสมา, วัดสันพระเจ้าดำ (วัดร้าง), ตำบลศรีถ้อย, อำเภอแม่ใจ, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระมหาราชเทวีเจ้าแผ่นดิน, ล่ามบุญ, พันคำ, แม่คีง, แม่คิง, เจ้าหมื่นจ่าบ้าน, นางเมืองพะเยา, นางเมืองพญาว, นางเมิงพญาว, พันนาหลัง, เถ้าเมิง, เถ้าเมือง, เฒ่าเมิง, เฒ่าเมือง, พันเขิงคดีแคว้น, พันเชิงคดีแคว้น, พันเขิงคดีหลวง, พันเชิงคดีหลวง, พันพอน, พันฟอน, นายหนังสือแคว้น, คนพันหนังสือพื้นเมืองพิง, พระพุทธเป็นเจ้า, พระมหาเถรเจ้า, พระพุทธเจ้า, ข้าพระ, ตราหลาบคำ, ตราสารทองคำ, บ้านทิดสึกใหม่, พุทธศาสนา, วัดดอนคราม, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระราหู, ราศีธนู, พระจันทร์, ราศีสิงห์, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฟหัสบดี, ราศีกุมภ์, ลัคนา, พระศุกร์, พระเสาร์, ราศีมังกร, ปีวอก, ปีเปิกสัน, วันกดเส็ด, เม็ง, วันอาทิตย์, สมณฤกษ์, ครัว, พระพุทธรูป, เรียบเรียงข้อมูลโดย : นวพรรณ ภัทรมูล, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ศมส., 2548, จาก : 1) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, ประสาร บุญประคอง, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2031, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-ราชวงศ์มังราย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พญายอดเชียงราย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, บุคคล-พระมหาราชเทวี, บุคคล-นางเมืองพะเยา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2031 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1555?lang=th |
14 |
จารึกวัดกลางพยาว |
ฝักขาม |
ด้านที่ 1 บรรทัดแรก ได้กล่าวถึง เดชานุภาพในศิริมงคลจงมีแด่พระศาสนาแห่งพระศากยะบุตรโคตมต่อเท่า 5,000 ปี กล่าวถึงการไว้ข้าพระเพื่อรักษาพระวัดกลางพะเยา และกล่าวถึงพระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด จากเนื้อความที่จารึกนี้แสดงว่า เป็นเรื่องของวัดกลางเมืองพะเยา ในปี พ.ศ. 2042 ซึ่งจารึกได้บ่งบอกศักราชไไว้เป็นจุลศักราช 861 ตรงกับรัชกาลพระเมืองแก้วนั่นเอง สำหรับนามของพระมหาเถระที่จารึกบันทึกไว้ว่า “พระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด” สงสัยว่า “พระเกิด” นั้นควรจะเป็นชื่อวัดที่ท่านครองอยู่ในฐานะเจ้าอาวาสก็ได้ และวัดในจังหวัดเชียงรายก็มีอยู่วัดหนึ่งเรียกว่า “วัดศรีเกิด” หรือ “วัดเกิดศรี” หากไม่เช่นนั้น ก็น่าจะเป็นนามเดิมของท่าน |
จารึกวัดกลางพยาว, ลพ. 33, ลพ./33, พช. 14, 337, ลพ. 33, ลพ./33, พช. 14, 337, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, พ.ศ. 2042, พุทธศักราช 2042, จ.ศ. 861, จุลศักราช 861, จ.ศ. 861, พุทธศักราช 861, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระศาสนาพระศากยมุนีโคตมเจ้า, สังฆมนีตะสัททาจาริย์นันทผระหญา, พ่อ, นัน, สินหล้า, สีร้อย, สีไอ, ลูกข้า, พระสงฆ์, มหาสามี, ธัมมเสนา, มหาสังฆราชาผระหญาวงวัดลี, ปากหนังสือเมิง, พันศรีพัด, เถ้าเมืองญี, เถ้าเมิงญี, เถ้าเมิงขวัญ, เถ้าเมืองขวัญ, ปากเทบพันขวัญ, พระพุทธเจ้า, สรีธรรมจักรวัติราชา, พระราชมาดา, เจ้าเมิงพยาวพ่อกลาง, เจ้าเมืองพะเยาพ่อกลาง, พุทธศาสนา, วัดพระเกิด, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, การบ้านการเมิง, การบ้านการเมือง, บุญ, ปีกัดเม็ด, เดินมาฆะ, เดือนมาฆะ, วันกัดเม้า, วันกัดเหม้า, เม็ง, มอญ, วันพุธ, พระพุทธรูป, เทวดา, ปัญญา, นวพรรณ ภัทรมูล, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2042, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-กรวดน้ำ,บุคคล-พระมหาสามีธรรมเสนาพระเกิด, บุคคล-มหาสังฆราชาผระหญาวงวัดลี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2042 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2020?lang=th |
15 |
จารึกมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด |
ฝักขาม |
พ.ศ. 2056 พระภิกษุฝ่ายสวนดอกไม้ จากวัด 19 วัด จำนวน 80 รูป มีมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิดเป็นประธาน ร่วมกับเจ้าเมืองพะเยา ได้มีบัญชาให้บรรดาข้าราชการช่วยกันพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับการชำระนครสีมา |
จารึกมหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด, พย. 12, พย. 12, ศิลาจารึกวัดพระเกิด, ศิลาจารึกวัดพระเกิด ชร. 6 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 875, ศิลาจารึกวัดพระเกิด ชร. 6 อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย จ.ศ. 875, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, พ.ศ. 2056, พุทธศักราช 2056, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, จ.ศ. 875, จุลศักราช 875, หินทรายสีเทา, รูปใบเสมา, วัดร้างบริเวณโรงเรียนพะเยาพิทยาคม, วัดร้างบริเวณโรงเรียนพะเยาวิทยาคม, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, ชาวเจ้า, พระภิกษุ, พระสงฆ์ฝ่ายสวนดอกไม้, มหาสามีญาณสุนทรเจ้าวัดพระเกิด, ประธาน, มหาสามีพระ, พ่อหญอเจ้า, พ่อหญัวเจ้า, เจ้าเมืองพยาว, เจ้าเมิงพยาว, เจ้าเมืองพะเยา, เจ้าเมิงพะเยา, จิต, เจ้าหมื่นนาหลังยอด, เจ้าหมื่นซ้ายมงคลประหญา, เจ้าพันเถ้าเมืองศรีนน, เจ้าพันเถ้าเมิงศรีนน, เจ้าหมื่นดอนแกว่น, เจ้าราชบัณฑิตตนชื่อมงคลประหญา, วิสุทธาดิเรก, อเนกปัญญา, นครสีมา, พุทธศาสนา, วัดมหาโพธิ์, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, พระพฤหัสบดี, ราศีเมษ, พระจันทร์, ราศีมังกร, พระอังคาร, พระศุกร์, ราศีพฤษภ, พระเสาร์, ราศีตุล, พระราหู, ราศีกันย์, ลัคนา, ราศีสิงห์, ปีระกา, ปีกาเร้า, เดือนจิตระ, โหสตระ, บุรพาษาฒ, บูรพาสาฒ, บุพพาสาฒ, เม็ง, วันอังคาร, วันเต่าเส็ด, สุทธศรัทธา, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1 : จารึกจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา แพร่, เทิม มีเต็ม, ประชุมจารึกเมืองพะเยา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2056, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดศรีโคมคำ พะเยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
วัดศรีโคมคำ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา |
พุทธศักราช 2056 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1614?lang=th |
16 |
จารึกมหาสังฆราชาศรีตรีปิฎก |
ฝักขาม |
ส่วนใหญ่เป็นการกล่าวถึง การอุทิศถวายข้าพระ เพื่อรักษาพระพุทธเจ้าและพระเจดีย์ ที่สำคัญที่สุดที่ได้จากจารึกหลักนี้ ได้แก่บรรดาพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายที่จารึกนี้ได้ออกนามไว้ ตลอดจนวัดที่ท่านสถิตอยู่ อันน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ คือ พระมหาสังฆราชาศรีตรีปิฏกอุตมญาณเทพเจ้า ป่ารวก พระมหาเถรสุวรรณเจ้า ป่าลังคะ พระมหาเถรธรรมโรจิเจ้า จอมทอง พระมหาสามีนันทปัญญาเจ้า วัดหมื่นไร่ พระมหาสามีจันทรังสีปานสุมงคล พระมหาสามีเจ้า วัดพระยาร่วง พระมหาเถรอินทรปัญญา วัดศรีชุม นอกจากนี้ ยังมีพระเถระลำดับรองลงมาจากพระมหาเถรทั้งนั้นอีก น่าสังเกตว่าท่านเหล่านี้ใช้คำว่า “ธ” คือ ท่าน ซึ่งใช้เป็นคำนำหน้าพระภิกษุสงฆ์ในสมัยนั้น และคำนี้ต่อมาคงจะออกเสียงเป็น “ธุ” แล้วกลายมาเป็น “ตุ๊” หรือ “ตุ๊เจ้า” ในภาษาเมืองเหนือไป บรรดาท่านพระเถระที่มีคำว่า “ธ” นำหน้านาม มีดังนี้ ธ เป็นเจ้าศรี วัดพระคำ ธ เป็นเจ้าสรีบุต วัดสุมนกูฏ ธ เป็นเจ้าฝูงนี้รู้ทุกตน จากหลักฐานที่ได้จากศิลาจารึกหลักนี้ สังเกตจากชื่อวัดต่างๆ แล้ว ล้วนแต่อยู่ในเขตจังหวัดพะเยาบัดนี้ทั้งสิ้น ดังนั้น จารึกหลักนี้ควรจะอยู่ที่จังหวัดพะเยา ซึ่งเคยเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงรายมาแต่เดิมนั่นเอง |
จารึกมหาสังฆราชาศรีตรีปิฎก, ลพ. 28, ลพ./28, พช. 12, 342, ลพ. 28, ลพ./28, พช. 28, 342, ศิลาจารึก ลพ./28 (12) อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, ศิลาจารึก ลพ./28 (12) อักษรไทยฝักขาม ภาษาไทย, หินทรายสีน้ำตาล, ชำรุด, รูปใบเสมา, จังหวัดเชียงราย, จังหวัดลำพูน, ไทย, ล้านนา, ลานนา, เม้, เมีย, นางคำ, ลูกหญิง, นางจำปา เด็กหญิง, ข้าชาย, ชาวเจ้า, สักขี, มหาสังฆราชาศรีปิฎกอุตมมญาณเทพาเจ้าป่ารวก, มหาสังฆราชาศรีปิฎกอุตมญาณเทพาเจ้าป่ารวก, มหาเถรสุวรรณเจ้าป่าสงัด, มหาเถรธรรมโรจิเจ้าจอมทอง, มหาสามีนันทประหญาเจ้าวัดหมื่นไร, มหาสามีจันทรังสีป่าญะสุมงคลมหาสามีเจ้าวัดพญาร่วง, มหาเถรอินทรประหญาเจ้าวัดศรีชุม, เจ้าศรีวัดพระคำ, เจ้าสารีบุตรวัดสุมนะกูฏ, แต่คฤหัสถ์, เจ้าเมืองเชียงราย, ท้าวมุย, หมื่นซ้ายสลวงพันพ่อน้อยต่างเมือง, เจ้าไทย, พระภิกษุ, มหาเถรอินทรปัญญาเจ้าวัดศรีชุม, พยาน, สำนักพระพุทธเมตไตรยเจ้า, กินเมืองเชียงราย, พุทธศาสนา, เจดีย์, หยาดน้ำ, กรวดน้ำ, ทำบุญ, กินเมือง, ปกครองเมือง พระพุทธรูป, ปีดับไส้, ออก, วันเต่ายี, เม็ง, วันพุธ, ดิถี, แผ่นดิน, อนันตจักรพาน, บุญ, อรหันตา, เทพดา, กฎหมาย, กดหมาย, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, จำปา เยื้องเจริญ, เทิม มีเต็ม, คงเดช ประพัฒน์ทอง, วิเคราะห์ศิลาจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีน้ำตาล, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2056?lang=th |
17 |
จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว |
ฝักขาม |
ในด้านที่ 1 ขึ้นต้นจารึกเป็นคำนมัสการแด่พระพุทธเจ้าด้วยภาษาบาลี ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงศาสนาแห่งพระโคตมเจ้าล่วงพ้นไปแล้ว 2067 ปี ในด้านที่ 2 จารึกได้บ่งบอกถึงพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เรื่องที่ได้จากศิลาจารึกนี้ ที่น่าสังเกตก็คือ การใช้จุลศักราชและพุทธศักราชนั้นเป็นหลักฐานที่ตรงกับหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ดังที่ท่านผู้ชำระชี้แจงไว้ ส่วนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในจารึกนี้ควรจะได้แก่พระเจ้าตนหลวง ที่วัดศรีโคมคำ จังหวัดพะเยา นั่นเอง เพราะทางภาคเหนือแล้วก็มีพระพุทธรูปที่ใหญ่ที่สุดเพียงองค์เดียวเท่านั้น ประกอบกับหลักฐานที่พบศิลาจารึกหลักนี้ก็รับรองอยู่แล้วว่า พบที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยาก็เคยเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงรายมาก่อน หากความเข้าใจดังนี้ไม่ผิด จารึกหลักนี้แต่เดิมก็ควรจะปักอยู่ที่วัดศรีโคมคำ หรือวัดพระเจ้าตนหลวง ซึ่งเป็นประวัติการก่อสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพระเมืองแก้ว ปีพุทธศักราช 2067 |
จารึกพระเจ้าตนหลวงเมืองพยาว, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, ลพ. 29, ลพ./29, พช. 6, 340, จารึกพระเจ้าตนหลวง (เมืองพยาว), พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, พ.ศ. 2067, พุทธศักราช 2067, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, จ.ศ. 885, จุลศักราช 885, ศิลา, หินทรายสีน้ำตาล, รูปใบเสมา ชำรุด, จังหวัดพะเยา, ไทย, ล้านนา, ลานนา, พระโคตม, พระโคดม, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, วงดวงชาตา, พระอาทิตย์, พระพุธ, ราศีพฤษภ, พระจันทร์, ราศีธนู, พระอังคาร, ราศีกันย์, พระพฤหัสบดี, พระเสาร์, ราศีกุมภ์, พระศุกร์, ราศีเมษ, พระราหู, ราศีมีน, ลัคนา, ราศีเมถุน, นิพพาน, หว่างคิ้ว, ศอก, ตา, วา, เค้าหน้า, หู, อก, คืบ, บ่า, คาง, หัวนม, แหล, สะดือ, แขน, เมาลีพระเจ้า, เมาลีพระพุทธรูป, หัวกลมหลวง, พระเศียรกลมใหญ่, ผม, เม็ดพระศก, เค้าพระพักตร์, วงพระพักตร์, พระขนง, พระเนตร, พระนาสิก, จมูก, พระโอษฐ์, ปาก, ดัง, พระกรรณ, พระอุระ, คอ, พระศอ, บ่า, พระอังสา, ดูกด่ำมีด, ดูกด้ามมีด, พระรากขวัญ, กระดูกไหปลาร้า, พระหนุ, เต้าพระถัน, พระกัจฉะ, รักแร้, สะดือ, พระนาภี, แขน, พระพาหา, อายุ-จารึก พ.ศ. 2067, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยล้านนา-พระเมืองแก้ว, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน เชียงราย, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, 1) ภาพถ่ายจารึกจาก : ประชุมจารึกเมืองพะเยา (กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม, 2538) |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (สำรวจเมื่อ 31 กรกฎาคม 2557) |
พุทธศักราช 2067 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2014?lang=th |