ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกแผ่นทองแดงวัดไชยวัฒนาราม |
ขอมอยุธยา |
เนื้อหาในจารึกแสดงหลักธรรมที่สำคัญที่สุดของพุทธศาสนา คือ ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งว่าด้วยกฎธรรมชาติของชีวิต ส่วนประกอบของปฏิจจสมุปบาท ได้แก่ อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ และชรามรณะ |
ปฏิจจสมุปบาท, พระพุทธเจ้า, พระสัมพุทธเจ้า, พระธรรม, พระสงฆ์, อวิชชา, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, อายตนหก, สฬายตน, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรา, มรณะ, โสกะ, ปริเทวะ, ทุกข์, โทมนัส, อุปายาสะ, อย. 76-80, อย. 76-80, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2192, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 22, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, วัตถุ-จารึกบนทองแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดไชยวัฒนาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2192 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/634?lang=th |
2 |
จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 3 |
ขอมอยุธยา |
ข้อความในจารึกด้านที่ 1 บอกนามผู้สร้างแผ่นทองคำนี้คือ ขุนศรีจูฬา ให้นามแก่บุคคลผู้หนึ่งคือ นายศรีกัณฐ ส่วนด้านที่ 2 บอกนามบุคคลคือ ขุนศรีรัตปัทราช |
จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 3, จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 3, อย. 41, อย. 41, จารึกเลขที่ ข 60 (15), จารึกเลขที่ ข 60 (15), ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, กรุพระปรางต์วัดราชบูรณะ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ขุนศรีจูฬา ขุนศรีจุฬา ขุนศรีจูลา ขุนศรีจุลา นายศรีกัณฐนาม ขุนศรีรัตปัทราช, สุพรรณบัฏ, พุทธศาสนา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างแผ่นทองคำ, บุคคล-ขุนศรีจูฬา, บุคคล-นายศรีกัณฐ, บุคคล-ขุนศรีรัตปัทราช, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/598?lang=th |
3 |
จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 2 |
ขอมอยุธยา |
ข้อความในจารึกบอกนามผู้สร้างแผ่นทองคำนี้คือ ขุนไวทยาธิบดี ให้นามแก่บุคคลผู้หนึ่งคือ หมอมุก |
จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 2, จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 2, อย. 40, อย. 40, จารึกขุนวัยทยาธิบดีให้นามหมอมุกข์, จารึกเลขที่ ข 40 (11), จารึกเลขที่ ข 40 (11), ทองคำ, พระพุทธรูปปรกโพธิ, ทับเกษตร, สมาธิ, ปางมารวิชัย, ทองคำ, กรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ขุนไวทยาธิบดี, หมอมุก, สุพรรณบัฏ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, ศิลปากร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างแผ่นทองคำ, บุคคล-ขุนไวทยาธิบดี, บุคคล-หมอมุก, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/596?lang=th |
4 |
จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 1 |
ขอมอยุธยา |
ข้อความในจารึกบอกนามผู้สร้างแผ่นทองคำนี้คือ ศรีจันทรภานุชัยวรรทธโหราธิบดี และนามบรรดาศักดิ์คือ กมรเตงธรรมาภินันทนาม |
จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 1, จารึกแผ่นทองคำจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ 1, อย. 39, อย. 39, จารึกพระเจ้าศรีจันทรภานุ, กพช. 4, กพช. 4, จารึกเลขที่ พ. 4, จารึกเลขที่ พ. 4, ทองคำ, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, กรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ศรีจันทรภานุชัยวรรทธโหราธิบดี, กมรเตงธรรมาภินันทนาม, กัมรเตงธรรมาภินันทนาม, สุพรรณบัฏ, พุทธศาสนา, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างแผ่นทองคำ, บุคคล-ศรีจันทรภานุชัยวรรทธโหราธิบดี, บุคคล-กมรเตงธรรมาภินันทนาม, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/594?lang=th |
5 |
จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 2 |
อาหรับ |
จารึกข้อความสรรเสริญพระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า ไซนุลอาบิดีน |
จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 2, จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 2, 1575/38 (3), 1574/38 (2), กรุวัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ณัฏฐภัทร จันทวิช, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 1963-2012 |
อาหรับ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18788?lang=th |
6 |
จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 1 |
อาหรับ |
จารึกข้อความสรรเสริญพระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า ไซนุลอาบิดีน |
จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 1, จารึกอักษรอาหรับบนเหรียญทองคำ 1, 1574/38 (2), 1574/38 (2), กรุวัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ณัฏฐภัทร จันทวิช, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญ, ลักษณะ-จารึกบนเหรียญทรงกลม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, เรื่อง-การสรรเสริญบุคคล-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองแคว้นกัษมีร์-สุลต่านไซนุลอาบิดีน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 1963-2012 |
อาหรับ |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/18785?lang=th |
7 |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม |
จีน |
กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็ง โดยชาวจีนแซ่ตั้ง แซ่เอี้ยและแซ่อื่นๆ ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศยอดมหาอุณาโลม, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20-22 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1956?lang=th |
8 |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ ในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ |
จีน |
กล่าวถึงการสร้างพระพิมพ์ในรัชสมัยไต้เหม็งด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา |
จารึกอักษรจีนหลังพระพิมพ์ซุ้มเสมาทิศ, พุทธศตวรรษที่ 20-22, 20-22, พุทธศาสนา, อยุธยา, เหม็ง, ไต้เหม็ง, พระพิมพ์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20-22 |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1954?lang=th |
9 |
จารึกอักษรจีนบนแผ่นทองรูปกลม ในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ |
จีน |
เนื้อหาจากการแปลของ หวัง จี้ หมิน จากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง มีด้วยกัน 3 แบบ แต่ค่อนข้างยากที่จะจับใจความได้ อย่างไรก็ตามมีบางแห่งสันนิษฐานว่าเป็นคำอธิษฐานขอให้ตนมีอายุยืนเหมือนภูเขาใต้ โดยผู้สร้างจารึกอาจเป็นชาวจีนที่อาศัยอยู่ในกรุงศรีอยุธยา เมื่อมีการสร้างพระธาตุจึงอุทิศแผ่นทองและสิ่งของต่างๆด้วยความศรัทธา (ดูรายละเอียดในเชิงอรรถอธิบาย) |
แผ่นทองจารึกอักษรจีน, จารึกแผ่นทองอักษรจีน, ทองคำ, แผ่นทองรูปร่างกลม แบน, กรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ, พระนครศรีอยุธยา, พุทธศาสนา, อยุธยา, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
ไม่ปรากฏศักราช |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1952?lang=th |
10 |
จารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ |
ไทยอยุธยา |
ขุนศรีรัตนากรและครอบครัวได้ร่วมกันสร้างพระพิมพ์ขึ้นจำนวน 76,152 องค์ โดยถวายอานิสงส์แด่พระรามาธิบดี พระศรีราชาธิราช ญาติพี่น้อง โยมอุปัฏฐาก พระสงฆ์และนักธรรมทั้งหลายให้ไปสู่นิพพาน ส่วนตน (ขุนศรีรัตนากร) ขอไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต และได้เฝ้าพระศรีอารย์ นอกจากนี้ยังมีการแสดงความปรารถนาอีกหลายอย่าง เช่น ขอให้ฉลาดเหมือนพระมโหสถ กล้าหาญเหมือนพระราม สามารถให้ทานได้เหมือนพระเวสสันดร สามารถระลึกชาติได้ เป็นต้น และสุดท้ายขอให้ตนถึงแก่นิพพาน อนึ่ง แนวความคิดดั้งเดิมในการสร้างพระพิมพ์นั้น เกิดขึ้นในประเทศอินเดีย โดยสร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกในการไปบูชาสังเวชนียสถานทางพุทธศาสนา 4 แห่ง ได้แก่ สถานที่ประสูติ (สวนลุมพินี) ตรัสรู้ (พุทธคยา) ปฐมเทศนา (สารนาถ) และปรินิพพาน (กุสินารา) ต่อมากลายเป็นวัตถุที่คนยากจนนิยมสร้างไว้เพื่อบูชา หลังจากนั้นได้เกิดความเชื่อที่ว่าพุทธศาสนาจะเสื่อมลงในพุทธศักราช 5000 ตามคัมภีร์ของลังกา จึงได้มีการสร้างพระพิมพ์และจารึกคาถาเย ธมฺมา ซึ่งเป็นหัวใจพุทธศาสนาขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยมีการฝังพระพิมพ์ไว้ตามเจดีย์ต่างๆ หากพุทธศาสนาเสื่อมไป ไม่มีใครรู้จักหลักธรรมต่างๆ อีก เมื่อมาพบพระพิมพ์เหล่านี้ ก็อาจมีการฟื้นฟูศาสนาขึ้นใหม่ แต่ในปัจจุบันพระพิมพ์กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คนนิยมมีไว้เป็นเครื่องราง ของขลัง เพื่อป้องกันอันตรายต่างๆซึ่งต่างไปจากแนวคิดเดิม |
หลักที่ 41 จารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ, หลักที่ 41 จารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ, อย. 9, อย. 9, เงิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, กรุฐานพระปรางค์วัดมหาธาตุ, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, พระกามเทพ, ขุนศรีรัตนากร, สรณ์สรรเพชญ์, สมเด็จพระพุทธเจ้า, สมเด็จพระรามาธิบดี, สมเด็จพระศรีราชาธิราช, พวกญาติ, พ่อออก, แม่ออก, พระไมตรี, พระศรีอารย์, มโหสถ, เวสสันดร, ชาวเจ้า, นักธรรม, พ่อขุน, บพิตร, พระศรีสรรเพชญ์, กษัตริย์, ท้าวมันธาตุ, ปราชญ์, พระมโหสถ์, ท้าวกิ่ง, ท้าวสุตโสม, ราม, พระเพศยันดร, มโหสถ, รชตบัตร, แผ่นเงิน, จีพร, จีวร, พุทธศาสนา, หล่อพระพิมพ์, นิรพานสถาน, นิพพานสถาน, สวรรค์, ดุสิต, พระพิมพ์, พระพุทธรูป, พระพุทธเจ้า, พระศรีสรรเพชญ์, สัปตรัตน, ทาน, ชาติสมร, สงสาร, สาธุ, ฟากฟ้า, อธิษฐาน, อรหัต, อรหันต์, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเงิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ขุนศรีรัตนากร, บุคคล-พระรามาธิบดี, บุคคล-พระศรีราชาธิราช |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/648?lang=th |