ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกที่อยู่ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

ชุดข้อมูลจารึกที่อยู่ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2564 01:15:50 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2565 17:27:31 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกแม่อักษรขอมขุดปรอท

ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา

ข้อความในจารึกแสดงการสะกดคำในแม่ ก กา

จารึกแม่อักษรขอมขุดปรอท, อย. 43 อย. 43 สามเณร พระภิกษุ พระพุทธศาสนา พระคัมภีร์ เจ้าฟ้ากุ้ง สุริยวงษ์ สมเด็จพระราชโอรสาธิราชเจ้า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐา พระราชวังบวรสถานมงคล แม่อักษรขอมขุดปรอท จารึกแผ่นแม่อักษรพระราชนิพนธ์ฯ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์, นวพรรณ ภัทรมูล, เทิม มีเต็ม, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 2290, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนโลหะ, วัตถุ-จารึกบนทองแดง, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-วรรณกรรม-แบบเรียนสะกดคำ, เรื่อง-วรรณกรรม-พระราชนิพนธ์, เรื่อง-วรรณกรรม-พระราชนิพนธ์-เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศไชยเชษฐสุริยวงศ์, บุคคล-เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศไชยเชษฐสุริยวงศ์

หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พุทธศักราช 2290

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/627?lang=th

2

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 13 (จ. 44)

ขอมอยุธยา

พ.ศ. 2290 ทิดบุนมีนำแหวนขึ้นถวายพระบรมธาตุ โดยขอให้เกิดในชาติใดอย่ายากจนตราบเท่านิพพาน ส่วนเจ้าทิดอินทองถวายทองสองสลึง และเจ้าคงอินถวายทอง 1 เฟื้อง

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 13 (จ. 44), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 13 (จ. 44), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2290, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา,ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายแหวน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-ทิดบุนมี, บุคคล-เจ้าทิดอินทอง, บุคคล-เจ้าคงอิน

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2290

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1356?lang=th

3

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 12 (จ. 11)

ขอมอยุธยา

พ.ศ. 2277 เจ้าคุณข้างใน และเจ้าคุณเสน่ห์มนตรี มีศรัทธานำทองคำแผ่หุ้มยอดพระบรมธาตุ โดยตั้งความปรารถนาให้ถึงแก่นิพพาน

จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 12 (จ. 11), จารึกแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช 12 (จ. 11), พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา,ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนทองคำ, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายทองคำ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ปิดทององค์พระธาตุ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, บุคคล-เจ้าคุณข้างใน, บุคคล-เจ้าคุณเสน่ห์มนตรี

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พุทธศักราช 2277

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1340?lang=th

4

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2

ไทยอยุธยา

พ.ศ. 2298 ท้าวพรมกันดาลถวายผู้คนเป็นข้าพระดูแลวัด ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะนำคนเหล่านั้นไปเป็นบ่าวไพร่ โดยขอให้ตกนรกและไม่ได้พบพระพุทธเจ้า

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2, จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 2, อย. 4, อย. 4, จารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทยสมัยอยุธยา (พระเจ้าบรมโกศ), พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, จ.ศ. 1117, จุลศักราช 1117, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, จ.ศ. 1117, จุลศักราช 1117, อิฐถือปูน, ฝาผนัง, พระอุโบสถวัดพรหมกัลยาราม, ตำบลคลองสระบัว, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, ท้าวพรหมกันดาล, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, นายนาก, นายมา, อ้ายบุญใหญ่, อ้ายบุญน้อย, อ้ายชีย์, อ้ายเกิด, อ้ายสน, อ้ายสี, อ้ายบุญมาก, อีฉิม, อีทองมาก, อีกุ, อีเขียว, พระพุทธเจ้า, ข้าพระ, บ่าวไพร่, พุทธศาสนา, อาราม, นรก, มหาวิจิ, อเวจี, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, ลักษณะ-จารึกบนผนัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพรหมกัลยาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-ท้าวพรหมกันดาล, ไม่มีรูป, วัดศรีโพธิ์, วัดใหม่ศรีโพธิ์, วัดพรหมกัลยาราม

พระอุโบสถวัดวัดศรีโพธิ์ (วัดใหม่ศรีโพธิ์) ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2298

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/664?lang=th

5

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1

ไทยอยุธยา

1) พ.ศ. 2292 ท้าวพรหมกันดาล ทูลขอที่ดินเพิ่มแก่วัด ในปีเดียวกัน กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์และกรมขุนอนุรักษ์มนตรีทรงผนวช ณ วัดแห่งนี้ ต่อมาใน พ.ศ. 2296 การสร้างจึงเสร็จสมบูรณ์
2) บอกรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย และกล่าวถึงการตั้งชื่อวัดดังกล่าวว่า “วัดพรมกัลยาราม”
3) ตอนท้ายมีการตั้งความปรารถนาให้ได้พบพระศรีอารย์และเข้าสู่นิพพาน

จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1, จารึกวัดใหม่ศรีโพธิ์ 1, อย. 4/ก, อย. 4/ก, จารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทยสมัยอยุธยา (พระเจ้าบรมโกศ) , พ.ศ. 2296, พุทธศักราช 2296, พ.ศ. 2296, พุทธศักราช 2296, พ.ศ. 2292, พุทธศักราช 2292, พ.ศ. 2292, พุทธศักราช 2292 , อิฐถือปูน , ฝาผนัง , พระอุโบสถวัดพรหมกัลยาราม, ตำบลคลองสระบัว, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา , ไทย, อยุธยา, ประธาน, ท้าวพรหมกันดาล, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, นายนาก, นายกอง, กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์, กรมขุนอนุรักษ์มนตรี, พระเจ้าเอกทัศน์, พระมงคลเทพ, สัปบุรุษ, พระราชโอรสา, พระสงฆ์, คณะปรก, ภิกษุ, พระพุทธเจ้า, พระสรรเพชร, พระศรีอาริยไมตรี, พระศรีอารยเมไตรย์, พระศรีอารย์ อนาคตพุทธเจ้า, ไพร่, เจ้าฟ้านเรนทร์, ไม้, อิฐ, ปูน, รัก, ระฆัง, เพลา , เงินตรา, ผ้าพรรณนุ่งห่ม, ทอง, รัก, ปากใต้ , ปักษ์ใต้, พุทธศาสนา, คันธาราม, อาราม, อุโบสถ, พัทธเสมา, พัทธสีมา, หอระฆัง, ธรรมาสน์, วัดพรมกัลยาราม, ก่อรากพระอุโบสถ, ผนวช, ผูกพัทธเสมา, ผูกพัทธสีมา, ทำบุญ, แจกทาน, สวดเทศนา, อุปสมบท, ทาน, บาป, กรรม, พระนิพพาน, สังฆกิจ, พุทธโอวาท, กำ, ชาติ, อนาคตกาล, ธรรม, ปีมะเส็ง, เอกศก, ชั่ง, บาท, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ไพ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, เทิม มีเต็ม, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2296, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนอิฐ, วัตถุ-จารึกบนอิฐถือปูน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนผนัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพรหมกัลยาราม พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-อุปสมบท, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายที่ดิน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-ท้าวพรหมกันดาล, บุคคล-กรมขุนสุเรนทราพิทักษ์, บุคคล-กรมขุนอนุรักษ์มนตรี, วัดศรีโพธิ์, วัดพรหมกัลยาราม, วัดใหม่ศรีโพธิ์

พระอุโบสถวัดศรีโพธิ์ (วัดใหม่ศรีโพธิ์) ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2296

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/677?lang=th

6

จารึกวัดเทพจันทร์

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระวิหารวัดเทพจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2277 โดยกรมหลวงราชานุรัตน์และมหาเพชญผู้เป็นเจ้าอาวาส ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะทำอันตรายแก่พระพุทธรูปและวิหาร โดยขอให้ตกนรกอเวจี อย่าทันพบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และกล่าวถึงผู้บูรณะมณฑปพระพุทธบาทคือ พระสงฆ์ นามว่า เหมือน และสมภารวัดเทพจันทร์ การปฏิสังขรณ์ดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2279

ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, อย. 3, อย. 3, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระราชวังจันทรเกษม, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, จันปัญญาอธิการ, มัคนายก, เจ้าพระองค์กรมหลวงราชานุรัตน์, มหาเพชญ, เจ้าอธิการวัดเทพจันทร์, ท่านทายก, เหมือน (พระสงฆ์),), สงฆ์, สมภาร, เงิน, ทองปิดพระประธาน, วัดเทพจันทร์, วัดจงกรม, พุทธศาสนา, ท้องพระวิหาร, เสาพระวิหาร, วัด, มณฑป, วัดจงกรม, มุข, ช่อฟ้า, หางหงส์, ดาวเพดาน, บูรณะมณฑป, ปฏิสังขรณ์พระวิหาร, ปิดทองพระประธาน, ปีขาล, ฉศก, วันอังคาร, พระพุทธรูป, รูปพระปฏิมากร, พระประธาน, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, นรก, อเวจี, อพิจี, อบายทุกข์, ชั่ง, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ปัจจัย, เดือนยี่, ปีมะโรง, อัฐศก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2277

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/650?lang=th

7

จารึกวัดพระคันธกุฎี

ไทยอยุธยา

กล่าวถึงการสร้างวัดพระคันธกุฎีใน พ.ศ. 2298 มีการแผ่ส่วนบุญแด่บุพการีผู้มีพระคุณ รวมทั้งยักษ์ ปีศาจ และเทวดาทั้งหลาย ตอนท้ายสาปแช่งผู้คิดจะฉ้อโกงของวัด โดยขอให้ตกนรกอเวจี และระบุชื่อผู้ที่ถูกกัลปนาให้เป็นผู้ดูแลรักษาวัด (ข้าพระ)

จารึกวัดพระคันธกุฎี, อย. 5, อย. 5, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, หินชนวนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, วัดพระคันธกุฎี, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, หมื่นสกลเขตรักษา, นายบุญเกิดฉาง, นายบุญทองบ้านไทร, นายคุมบ้าน, นายมาก, พระสรรเพชญพุทธเจ้า, พระอานนท์, ข้าพระ, พระแท่น, พระเขนย, หมอน, ผ้าชุบสรง, ผ้าอาบน้ำฝน, อาสนะ, เงิน, ทอง, ศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย์, บ้านคลอง, กรุงพาลี, พุทธศาสนา, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระวิหารน้อย, พระเจดีย์, พระอุโบสถ, การทำบุญ, เทศนา, วิสัชนา, ปัญหาเทวดา, ถวายผ้าชุบสรง, พระกัลปนา, พระวัสสา, พระพุทธรูป, เทวดาบรรพต, เทวดาพระธรณี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาฬวกยักษ์, มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ผี, ปีศาจ, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์, ส่วนบุญ, ปริศนาลายแทง, ทรัพย์, ถนน, มหานรก, กัลป์, บ้านคลอง, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระแท่น, พระเขนย(หมอน) , ผ้า, พระพุทธรูป, พระสรรเพชญ์, เทวดา, พระอานนท์,ผ้าชุบสรง (ผ้าอาบน้ำฝน) , วิหาร, เจดีย์, อุโบสถ, กุฎี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาทวกยักษ์, จิตรเสนยักษ์ มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ปีศาจ, กรุงพาลี, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์ 3 ประการ การทำบุญ, ส่วนบุญ, ข้าพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระคันธกุฎี พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2298

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/638?lang=th

8

จารึกพลับพลาจตุรมุข

ไทยอยุธยา

สาปแช่งผู้ที่จะคดโกงเอาของสงฆ์และข้าพระไป โดยขอให้ยักษ์ทั้งหลายมาเอาชีวิต อย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย และตกนรกอเวจี ตอนท้ายบอกวันเดือนปีและศักราชซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2301

จารึกพลับพลาจตุรมุข, อย. 8, อย. 8, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, จ.ศ. 1120, จุลศักราช 1120, พ.ศ. 1120, พุทธศักราช 1120, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติวังจันทรเกษม, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, กรุงศรีอยุธยา, สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, เจ้าฟ้าดอกมะเดื่อ, ข้าพระ, มหาเถรเทวทัต, พระพุทธเจ้า, พระสงฆเจ้า, พุทธศาสนา, กัลปนา, พฤกษเทวดา, อารักษเทวดา, อากาศเทวดา, นรก, มหาเวจี, มหาอเวจี, กัลป, กัลป์, อนันตชาติ, บาป, กำม, กรรม, อเวจี, อนันตริยกรรม 5, อนันตริยกรรม 5, ปิตุฆาต, มาตุฆาตุ, โลหิตบาท, โลหิตุปปบาท, สังฆเภท, เทวดา, ท้าวเวสสุวรรณ, ยักษ์, สาตาคีรีย, เหมันตายักษ์, อาภัควยักษ์, จิตเสทธยักษ์, มากคบาทยักษ์, เวพัทธยักษ์, กามเสพปิทยักษ์, คินนุบาทยักษ์, กินนุบาท, ขันทยักษ์, บริวารยักษ์, ขันบาทยักษ์, พระรัตนตรัย, พระธรรมเจ้า, วันจันทร์, ปีขาล, สัมฤทธิศก, ฉ้อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2301, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565)

พุทธศักราช 2301

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/670?lang=th

9

จารึกที่ปากระฆังวัดเพชร อำเภอเสาไห้

ไทยอยุธยา

ข้อความในจารึกกล่าวถึงเจ้าอธิการวัดวัดศรีสรรเพชญ์และหมื่นสุวรรณที่ร่วมกันสร้างระฆังไว้สำหรับศาสนาเพื่อส่งวัดการ้อง

จารึกที่ปากระฆังวัดเพชร อำเภอเสาไห้, ปีเถาะ, วัดการ้อง, ทองคำ, วัดเพชร ตำบลบ้านยาง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี, นวพรรณ ภัทรมูล, ก่องแก้ว วีระประจักษ์, ศิลปากร, พ.ศ. 2290, พุทธศักราช 2290, พ.ศ. 2290, พุทธศักราช 2290, อายุ-จารึก พ.ศ. 2290, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, ลักษณะ-จารึกรูประฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดเพชร สระบุรี, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างระฆัง, บุคคล-เจ้าอธิการวัดวัดศรีสรรเพชญ์, บุคคล-หมื่นสุวรรณ

วัดเพชร ตำบลบ้านยาง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี

พุทธศักราช 2290

ไทย

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19150?lang=th