ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม
ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกวัดเทพจันทร์ |
ไทยอยุธยา |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์พระวิหารวัดเทพจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2277 โดยกรมหลวงราชานุรัตน์และมหาเพชญผู้เป็นเจ้าอาวาส ตอนท้ายสาปแช่งผู้ที่จะทำอันตรายแก่พระพุทธรูปและวิหาร โดยขอให้ตกนรกอเวจี อย่าทันพบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และกล่าวถึงผู้บูรณะมณฑปพระพุทธบาทคือ พระสงฆ์ นามว่า เหมือน และสมภารวัดเทพจันทร์ การปฏิสังขรณ์ดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2279 |
ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, อย. 3, อย. 3, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, หลักที่ 91 ศิลาจารึกวัดเทพจันทร์, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2277, พุทธศักราช 2277, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, พ.ศ. 2288, พุทธศักราช 2288, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, จ.ศ. 1096, จุลศักราช 1096, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระราชวังจันทรเกษม, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, จันปัญญาอธิการ, มัคนายก, เจ้าพระองค์กรมหลวงราชานุรัตน์, มหาเพชญ, เจ้าอธิการวัดเทพจันทร์, ท่านทายก, เหมือน (พระสงฆ์),), สงฆ์, สมภาร, เงิน, ทองปิดพระประธาน, วัดเทพจันทร์, วัดจงกรม, พุทธศาสนา, ท้องพระวิหาร, เสาพระวิหาร, วัด, มณฑป, วัดจงกรม, มุข, ช่อฟ้า, หางหงส์, ดาวเพดาน, บูรณะมณฑป, ปฏิสังขรณ์พระวิหาร, ปิดทองพระประธาน, ปีขาล, ฉศก, วันอังคาร, พระพุทธรูป, รูปพระปฏิมากร, พระประธาน, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, นรก, อเวจี, อพิจี, อบายทุกข์, ชั่ง, ตำลึง, สลึง, เฟื้อง, ปัจจัย, เดือนยี่, ปีมะโรง, อัฐศก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2277, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, บุคคล-กรมหลวงราชานุรัตน์, บุคคล-มหาเพชญ, บุคคล-พระหมือน |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2277 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/650?lang=th |
2 |
จารึกวัดพระคันธกุฎี |
ไทยอยุธยา |
กล่าวถึงการสร้างวัดพระคันธกุฎีใน พ.ศ. 2298 มีการแผ่ส่วนบุญแด่บุพการีผู้มีพระคุณ รวมทั้งยักษ์ ปีศาจ และเทวดาทั้งหลาย ตอนท้ายสาปแช่งผู้คิดจะฉ้อโกงของวัด โดยขอให้ตกนรกอเวจี และระบุชื่อผู้ที่ถูกกัลปนาให้เป็นผู้ดูแลรักษาวัด (ข้าพระ) |
จารึกวัดพระคันธกุฎี, อย. 5, อย. 5, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, หินชนวนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, วัดพระคันธกุฎี, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, หมื่นสกลเขตรักษา, นายบุญเกิดฉาง, นายบุญทองบ้านไทร, นายคุมบ้าน, นายมาก, พระสรรเพชญพุทธเจ้า, พระอานนท์, ข้าพระ, พระแท่น, พระเขนย, หมอน, ผ้าชุบสรง, ผ้าอาบน้ำฝน, อาสนะ, เงิน, ทอง, ศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย์, บ้านคลอง, กรุงพาลี, พุทธศาสนา, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระวิหารน้อย, พระเจดีย์, พระอุโบสถ, การทำบุญ, เทศนา, วิสัชนา, ปัญหาเทวดา, ถวายผ้าชุบสรง, พระกัลปนา, พระวัสสา, พระพุทธรูป, เทวดาบรรพต, เทวดาพระธรณี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาฬวกยักษ์, มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ผี, ปีศาจ, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์, ส่วนบุญ, ปริศนาลายแทง, ทรัพย์, ถนน, มหานรก, กัลป์, บ้านคลอง, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระแท่น, พระเขนย(หมอน) , ผ้า, พระพุทธรูป, พระสรรเพชญ์, เทวดา, พระอานนท์,ผ้าชุบสรง (ผ้าอาบน้ำฝน) , วิหาร, เจดีย์, อุโบสถ, กุฎี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาทวกยักษ์, จิตรเสนยักษ์ มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ปีศาจ, กรุงพาลี, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์ 3 ประการ การทำบุญ, ส่วนบุญ, ข้าพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระคันธกุฎี พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2298 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/638?lang=th |
3 |
จารึกภาษาจีนที่ระฆังในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม |
จีน |
ข้อความกล่าวถึงรายนามของผู้สร้างระฆัง วัตถุประสงค์ วันเวลาที่สร้าง และมีคำอวยพรให้ประเทศสงบสุข ประชาชนร่มเย็น ฝนตกต้องตามฤดูกาล และพืชผลอุดมสมบูรณ์ เหมือนกับจารึกภาษาจีนที่ระฆังวัดไลย์ |
จารึกภาษาจีนที่ระฆังในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, คำอวยพร, ฝนตก, พืชผล, เหล็ก, ระฆังจีน, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, เทพเจ้ากวนอู, นายล่ายแยนว่าน, นายโอวเจิ้น, นายหลี่ลี่เสี่ยน, นายเฉินอี้เซิ้ง, นายล่ายช่านอว๋า, นายส้าวเหวินชิง, ม่อเหวินโจว, เฉินหงจง, ถงซิ่น, โจวกวานเหล่า, ปีอี๋อิ่ว, พระเจ้าเฉียนหลง, นวพรรณ ภัทรมูล, ศานติ ภักดีคำ, นวรัตน์ ภักดีคำ, เมืองโบราณ, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนเหล็ก, ลักษณะ-จารึกบนระฆัง, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม พระนครศรีอยุธยา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
ไม่ปรากฏศักราช |
จีน |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/19141?lang=th |
4 |
จารึกพลับพลาจตุรมุข |
ไทยอยุธยา |
สาปแช่งผู้ที่จะคดโกงเอาของสงฆ์และข้าพระไป โดยขอให้ยักษ์ทั้งหลายมาเอาชีวิต อย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย และตกนรกอเวจี ตอนท้ายบอกวันเดือนปีและศักราชซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2301 |
จารึกพลับพลาจตุรมุข, อย. 8, อย. 8, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, จ.ศ. 1120, จุลศักราช 1120, พ.ศ. 1120, พุทธศักราช 1120, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติวังจันทรเกษม, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, กรุงศรีอยุธยา, สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, เจ้าฟ้าดอกมะเดื่อ, ข้าพระ, มหาเถรเทวทัต, พระพุทธเจ้า, พระสงฆเจ้า, พุทธศาสนา, กัลปนา, พฤกษเทวดา, อารักษเทวดา, อากาศเทวดา, นรก, มหาเวจี, มหาอเวจี, กัลป, กัลป์, อนันตชาติ, บาป, กำม, กรรม, อเวจี, อนันตริยกรรม 5, อนันตริยกรรม 5, ปิตุฆาต, มาตุฆาตุ, โลหิตบาท, โลหิตุปปบาท, สังฆเภท, เทวดา, ท้าวเวสสุวรรณ, ยักษ์, สาตาคีรีย, เหมันตายักษ์, อาภัควยักษ์, จิตเสทธยักษ์, มากคบาทยักษ์, เวพัทธยักษ์, กามเสพปิทยักษ์, คินนุบาทยักษ์, กินนุบาท, ขันทยักษ์, บริวารยักษ์, ขันบาทยักษ์, พระรัตนตรัย, พระธรรมเจ้า, วันจันทร์, ปีขาล, สัมฤทธิศก, ฉ้อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2301, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2301 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/670?lang=th |
5 |
จารึกการชะลอพระพุทธรูปไสยาสน์ |
ไทยอยุธยา |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดมเหยงค์ และชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ เมืองอ่างทอง ให้ห่างจากที่ตั้งเดิม 4 เส้น 4 วา เนื่องจากถูกแม่น้ำเซาะ โดยมีการสถาปนาวิหารในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ อนึ่ง การชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์นั้น นอกจากจะปรากฏในจารึกหลักนี้ และ ในจารึกวัดป่าโมกข์ ซึ่งมีเนื้อความสัมพันธ์กันแล้ว ก็ยังมีหลักฐานด้านเอกสาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับต่างๆ เช่น ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งให้รายละเอียดต่างๆ มากกว่าที่ปรากฏในจารึก เช่น ขั้นตอนและวิธีการชะลอ เป็นต้น |
จารึกการชะลอพระพุทธรูปไสยาสน์, อย. 7, อย. 7, หิน, ลักษณะวัตถุ, พระราชวังจันทรเกษม, ตำบลหัวรอ, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, พระบาทสมเด็จบรมนาถบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว, สมเด็จพระอนุชาธิราชพระราชวังบวรสถานมงคล, สมเด็จพระวรโอรสาธิราช, พระบวรราชนัดดา, ราษฎรนิกร, พระพุทธเจ้าอยู่หัวพระเจ้าปราสาททอง, พระเจ้าช้างเนียม, บรมจักรพรรดิ์, พระราชสงคราม, มหาสุวรรณโชติ, พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ, ขุนโลกทีป, อธิการวัดพระพุทธไสยาสน์, พระสงฆ์อนุจร, พระราชสมภาร, พระองค์ธรรมิกราชาธิราชเจ้า, บรมอุปถัมภก, กำนัลนาง, พระบวรอนุชาธิราช, ขุนโลกทีป, มหาสุวรรณโชติสิ่งของ: เศวตรพัสตร์, ฆ้องชัย, แตร, ธง, กลองสถานที่: วัดป่าโมกข์, วัดตลาดใน, วัดมเหยงค์พุทธศาสนา, วัดมเหยงค์, พระมหาวิหาร, พระมหาพิหาร, อุโบสถ, วัดพระพุทธไสยาสน์ป่าโมกข์, พระตำหนัก, บำเพ็ญพระราชกุศลปฏิสังขรณ์วัด, สถาปนาพระมหาวิหาร, เจตรมาส, กาฬปักษ์, เอกมีดิถี, พุธวาร, พระพุทธรูป, กุศล, ลิขิตสาร, อุดร, กิจจานุกิจ, อุทกอันตราย, พระบัณฑูรสุรสีห์, อชสังวัจฉร, ไพสาขมาส, ไวสาขมาส, ศุกลปักษ์, อัฐมีดิถี, จันทวาร, พระพุทธมนต์, มหรสพสมโภช, ศอก, เส้น, วา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ดนัย ไชยโยธา, ประวัติศาสตร์ไทย : ยุคอาณาจักรอยุธยา, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, อยุธยา, สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะอยุธยา งานช่างหลวงแห่งแผ่นดิน, ธนากิต (นามแฝง), พระพุทธรูปปางต่างๆ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา, ประยุทธ สิทธิพันธ์, ต้นตระกูลขุนนางไทย, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ กับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด), ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ), วัตถุ-จารึกบนหิน, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การสร้างวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ชะลอพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, เรื่อง-การบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ชะลอพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/666?lang=th |