จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดบ้านยาง

จารึก

จารึกวัดบ้านยาง ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 15 ส.ค. 2564 14:28:23

ชื่อจารึก

จารึกวัดบ้านยาง

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

พย. 53 จารึกวัดบ้านยาง พ.ศ. 2138, พย. 53 จารึกวัดบ้านยาง, พย. 53

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2138

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 46 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 16 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 18 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 19 ด้านที่ 4 มี 23 บรรทัด

ผู้อ่าน

โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ปริวรรต

โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ตรวจ

โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

เชิงอรรถอธิบาย

1. โครงการวิจัยฯ (2534) : จุลศักราชะได้ 946 ตัว = ตรงกับ พ.ศ. 2127 สมัยบุเรงนองครองเชียงใหม่
2. โครงการวิจัยฯ (2534) : ปีวานระ = ปีวอก
3. โครงการวิจัยฯ (2534) : ปีกาบสัน = ชื่อปีไทยแบบโบราณ
4. โครงการวิจัยฯ (2534) : เดินวิสาขะ = เดือน 6 ภาคกลาง
5. โครงการวิจัยฯ (2534) : เดิน 7 = เดือน 7 ภาคเหนือ ตรงกับเดือน 5 ภาคกลาง
6. โครงการวิจัยฯ (2534) : ลง = แรม เช่น ลง 9 ค่ำ หมายถึง แรม 9 ค่ำ
7. โครงการวิจัยฯ (2534) : วันกาบซง้า = ชื่อวันไทยแบบโบราณ รอบหนึ่งมี 60 วัน
8. โครงการวิจัยฯ (2534) : เม็ง = มอญ
9. โครงการวิจัยฯ (2534) : วัน 6 = วันศุกร์
10. โครงการวิจัยฯ (2534) : จันทร์กินฤกษ์ = พระจันทร์เสวยฤกษ์
11. โครงการวิจัยฯ (2534) : ภายใน = ผู้อุปถัมภ์ทางฝ่ายพระสงฆ์
12. โครงการวิจัยฯ (2534) : ตน = รูป (ลักษณนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
13. โครงการวิจัยฯ (2534) : เค้า = หัวหน้า, ประธาน, เป็นใหญ่
14. โครงการวิจัยฯ (2534) : ถาย = ถวาย
15. โครงการวิจัยฯ (2534) : “เลืนมละเสลงมามีธา” คงเป็นภาษาพม่า