จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดช้างค้ำ 1

จารึก

จารึกวัดช้างค้ำ 1 ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2564 เวลา 04:19:56

ชื่อจารึก

จารึกวัดช้างค้ำ 1

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นน. 3, หลักที่ 74 ศิลาจารึกพบที่วัดช้างค้ำ, นน. 3 จารึกวัดช้างค้ำ พ.ศ. 209, นน. 3 จารึกพระยาพลเทพฤาชัย, ศิลาจารึกอักษรไทยฝ่ายเหนือ : จ.ศ. 910 (พ.ศ. 2091) ได้มาจากวัดช้างค้ำ ต. เวียง อ. เมือง จ. น่าน,

อักษรที่มีในจารึก

ธรรมล้านนา

ศักราช

พุทธศักราช 2091

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 39 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 18 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 21 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2503)
2) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้แปล

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2503)
2) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ตรวจ

1) คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)
2) โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : จ.ศ. 910 = พ.ศ. 2091
2. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ขอมพิสัย = เรียกอย่างขอม โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “ขอมพิสัย” หมายถึง ถิ่นขอม
3. โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “ไทยภาษา” หมายถึง ธรรมเนียมอย่างไทย, แบบไทย
4. โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “เปิกสัน”, “เปลิกสัน” เป็นชื่อปีไทยแบบโบราณ ตรงกับปีวอก สัมฤทธิ์ศก ตามจุลศักราช
5. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : เดือนมาฆะ คือ เดือนสาม
6. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : เดือน 5 ของไทยฝ่ายเหนือตรงกับเดือนสามของไทยฝ่ายใต้
7. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : พร่ำ = ตรงกับ
8. โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “วันเมิงไก๊” เป็นชื่อวันไทยแบบโบราณซึ่งรอบหนึ่งมี 60 วัน
9. โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “มูล” เป็นชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ 19 (ดาวช้างน้อย)
10. โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “ติถี” = ดิถี
11. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ชราชิณ, ชราชิณณะ = เก่าคร่ำคร่า
12. โครงการวิจัยการปริวรรตฯ : “ประสาท” หมายถึง ความเลื่อมใส, ยินดีให้