จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค

จารึก

จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2564 เวลา 23:14:13

ชื่อจารึก

จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ชร. 6, ประติมากรรมฤาษีกัมมะโล, ชร. 6 จารึกฐานพระฤาษีวัชมฤค พ.ศ. 2157, 1.4.3.2 ดอยตุง พ.ศ. 2148

อักษรที่มีในจารึก

ธรรมล้านนา, ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2147

ภาษา

บาลี, ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 18 บรรทัด มี 3 ส่วน ส่วนบนด้านหน้า มี 6 บรรทัด ส่วนบนด้านหลังมี 5 บรรทัด ส่วนล่างมี 7 บรรทัด

ผู้อ่าน

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ปริวรรต

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ตรวจ

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

เชิงอรรถอธิบาย

1. โครงการวิจัยฯ (2534) : ศักราชได้ 966 ตัว = เป็นปีจุลศักราช ตรงกับพุทธศักราช 2147
2. โครงการวิจัยฯ (2534) : ปีกาบสี = ชื่อปีไทยแบบโบราณ ตรงกับปีมะโรง ฉศก ตามจุลศักราช
3. โครงการวิจัยฯ (2534) : เดือน 5 = ภาคเหนือ ตรงกับเดือน 3 ภาคกลาง
4. โครงการวิจัยฯ (2534) : ออก = ขึ้น, ข้างขึ้น
5. โครงการวิจัยฯ (2534) : เม็ง = มอญ
6. โครงการวิจัยฯ (2534) : วัน 7 = วันเสาร์
7. โครงการวิจัยฯ (2534) : ไทยกาบสัน = ชื่อวันไทยแบบโบราณ รอบหนึ่งมี 60 วัน
8. โครงการวิจัยฯ (2534) : กลองงาย = ยามตีกลองเช้า คือเวลา 7.30 น.-9.00 น.
9. โครงการวิจัยฯ (2534) : ติดถิ, ติดถี = ดิถี, วันตามจันทรคติ อย่างใช้ ค่ำหนึ่ง สองค่ำ
10. โครงการวิจัยฯ (2534) : ฤ = ฤกษ์, เวลาที่เป็นมงคล
11. โครงการวิจัยฯ (2534) : เมิง = เมือง
12. โครงการวิจัยฯ (2534) : เผิก = เผือก
13. โครงการวิจัยฯ (2534) : ทำนวาย = ทำนาย
14. โครงการวิจัยฯ (2534) : หื้อ = ให้
15. โครงการวิจัยฯ (2534) : เมื่อลุน, เมื่อลูน = เมื่อภายหลัง
16. โครงการวิจัยฯ (2534) : เบิ้ง = เบื้อง
17. โครงการวิจัยฯ (2534) : ทุง = ธง
18. โครงการวิจัยฯ (2534) : ตน = รูป (ลักษณะนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
19. โครงการวิจัยฯ (2534) : ชุบชิง = แย่งชิง
20. โครงการวิจัยฯ (2534) : คามเขต = กำหนดเป็นเขตบ้าน