จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดศรีสุทธาวาส

จารึก

จารึกวัดศรีสุทธาวาส ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 12 ส.ค. 2564 23:04:10

ชื่อจารึก

จารึกวัดศรีสุทธาวาส

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ชร. 5 จารึกวัดศรีสุทธาวาส พ.ศ. 2045, ชร. 5

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2045

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 37 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 21 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 16 บรรทัด

ผู้อ่าน

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ปริวรรต

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ตรวจ

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

เชิงอรรถอธิบาย

1. โครงการวิจัยฯ (2534) : (ศุภมัสดุ ศักราช) ได้ 864 = เป็นปีจุลศักราช ตรงกับพุทธศักราช 2045
2. โครงการวิจัยฯ (2534) : ปีเต่าเส็ด = ชื่อปีไทยแบบโบราณ ตรงกับปีจอ จัตวาศก ตามจุลศักราช
3. โครงการวิจัยฯ (2534) : เดิน 7 = เดือน 7 ภาคเหนือ ตรงกับเดือน 5 ภาคกลาง
4. โครงการวิจัยฯ (2534) : พุทธศาสน์ = คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า โดยปริยายทางราชการมักใช้หมายถึงพระราชหัตถเลขาและลิขิตของพระสังฆราช เช่น พระราชสาสน์, สมณสาสน์
5. โครงการวิจัยฯ (2534) : เต่าไจ้ = ชื่อวันไทยแบบโบราณ รอบหนึ่งมี 60 วัน
6. โครงการวิจัยฯ (2534) : รืก = ฤกษ์
7. โครงการวิจัยฯ (2534) : ผลคุน = เป็นชื่อเดือน 4 ภาคกลาง
8. โครงการวิจัยฯ (2534) : เจ้าพัน = ชื่อตำแหน่งข้าราชการเหนือนายร้อย
9. โครงการวิจัยฯ (2534) : เอ้ย = เอื้อย ลูกสาวคนที่หนึ่ง, พี่สาวคนโต
10. โครงการวิจัยฯ (2534) : หื้อ = ให้
11. โครงการวิจัยฯ (2534) : ขา = สรรพนามบุรุษที่ 3 แทนคำว่า เขาสองคน
12. โครงการวิจัยฯ (2534) : ยิง, ยึง = หญิง
13. โครงการวิจัยฯ (2534) : อ้าย = ลูกชายคนที่หนึ่ง, พี่ชายคนโต
14. โครงการวิจัยฯ (2534) : ยอ = ยก
15. โครงการวิจัยฯ (2534) : ฝูง = พวก, หมู่
16. โครงการวิจัยฯ (2534) : พระเจ้า = พระพุทธรูป, พระพุทธเจ้า
17. โครงการวิจัยฯ (2534) : ผิว่า = ถ้า, หาก, แม้น
18. โครงการวิจัยฯ (2534) : เย = เยีย คือ ทำ, กระทำ, จง
19. โครงการวิจัยฯ (2534) : เจ้าหมื่น = ชื่อตำแหน่งข้าราชการ เหนือกว่าตำแหน่งพันขึ้นไป
20. โครงการวิจัยฯ (2534) : ชู่ = ทุก เช่น ชู่คน = ทุกคน
21. โครงการวิจัยฯ (2534) : ซาว = ยี่สิบ
22. โครงการวิจัยฯ (2534) : ดาย = เป็นคำลงท้ายบอกให้ทราบว่า สิ้นประโยค เช่นเดียวกับคำว่า แล, นา, เทียว, ทีเดียว