จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดปราสาท

จารึก

จารึกวัดปราสาท ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2564 เวลา 21:45:03

ชื่อจารึก

จารึกวัดปราสาท

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ชร. 3, จารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 858 (พ.ศ. 2039), หลักที่ 69 ศิลาจารึกวัดปราสาท จังหวัดเชียงราย จ.ศ. 858 (พ.ศ. 2039), ชร. 3 จารึกวัดปราสาท พ.ศ. 2039, 1.4.1.1 วัดปราสาท พ.ศ. 2039, ชร. 3

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2039

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 28 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 17 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 11 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2481)
2) โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ปริวรรต

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2481)
2) โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

ผู้ตรวจ

1) คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)
2) โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2534)

เชิงอรรถอธิบาย

1. โครงการวิจัยฯ (2534) : ผ้าขาว = ชายผู้จำศีล นุ่งห่มผ้าขาว
2. โครงการวิจัยฯ (2534) : กลั้วเกล้า = คลุกคลี, เกี่ยวข้อง, ปะปน, ก้าวก่าย
3. โครงการวิจัยฯ (2534) : เถ้าเมือง, เถ้าเมิง= ชื่อตำแหน่ง
4. โครงการวิจัยฯ (2534) : พันหนังสือ = ตำแหน่งข้าราชการสมัยโบราณ
5. โครงการวิจัยฯ (2534) : เถิง = ถึง
6. โครงการวิจัยฯ (2534) : ปาก = หัวหน้าบังคับคนร้อยคน, ร้อย
7. โครงการวิจัยฯ (2534) : เจ้าไท = เจ้านาย
8. โครงการวิจัยฯ (2534) : ซู, ชู่ = ทุก เช่น ชู่คน = ทุกคน
9. โครงการวิจัยฯ (2534) : เมิง = เมือง
10. โครงการวิจัยฯ (2534) : เบ้ = เบี้ย