จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดมหาวัน (ลำพูน)

จารึก

จารึกวัดมหาวัน (ลำพูน) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 15 ก.ค. 2564 01:42:38

ชื่อจารึก

จารึกวัดมหาวัน (ลำพูน)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ลพ. 3, Vat Mahāvan, ศิลาจารึกมอญ วัดมหาวัน, 1.4.1.1 วัดมหาวัน พ.ศ. 2032

อักษรที่มีในจารึก

มอญโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 17

ภาษา

มอญโบราณ

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 85 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 22 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 22 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 21 บรรทัด ด้านที่ 4 มี 20 บรรทัด

ผู้อ่าน

โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และชาร์ลส์ อ๊อตโต บล็ากเด็น (พ.ศ. 2473)

ผู้แปล

1) โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และชาร์ลส์ อ๊อตโต บล็ากเด็น (พ.ศ. 2473)
2) จำปา เยื้องเจริญ (พ.ศ. 2533), (พ.ศ. 2533)

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : หลักการถ่ายถอดตัวอักษรในจารึกภาษามอญเป็นอักษรไทยของกองหอสมุดแห่งชาติ และการถ่ายถอดจากอักษรโรมันเป็นอักษรไทยของ ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล มีความแตกต่างกันเล็กน้อย คือ อักษรที่มีเครื่องหมาย วิราม กำกับ (ซึ่งแสดงถึงการเป็นตัวสะกด) นั้น กองหอสมุดแห่งชาติใช้เครื่องหมายการันต์ในการถ่ายถอด ส่วน ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงใช้การจุดใต้พยัญชนะ แต่หากเป็น สระลอย a ที่มีวิรามกำกับ จะใช้เครื่องหมายลูกน้ำเช่นเดียวกับที่ใช้ในอักษรโรมัน ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน อ่านเป็น duk, vo' กองหอสมุดแห่งชาติ อ่านเป็น ทุก์, โวอ์ ศ. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล อ่านเป็น ทุกฺ, โว'