จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกสมิงสิริมะโนราชา

จารึก

จารึกสมิงสิริมะโนราชา ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 เวลา 23:48:35

ชื่อจารึก

จารึกสมิงสิริมะโนราชา

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

กท. 27, จารึกลานทองแดง อักษรและภาษารามัญ, หลักที่ 53 จารึกลานทองแดง อักษรและภาษามอญ

อักษรที่มีในจารึก

มอญโบราณ

ศักราช

พุทธศักราช 2048

ภาษา

มอญโบราณ

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 12 บรรทัด ด้านละ 6 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2504), (พ.ศ. 2508)
2) เทิม มีเต็ม (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2504), (พ.ศ. 2508)
2) จำปา เยื้องเจริญ (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

1) คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)
2) กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “นี”
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “จนามฺ (จนาม์)”
3. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “โลกฺย”
4-5. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “เตา”
6. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “มีน์”
7. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “หํงฺ (หํง์)”
8. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “กา”
9. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “นวงฺ (นวง์)”
10. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “เคาอฺ (เคาอ์)”
11. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ฉ่ำ ทองคำวรรณ, เทิม มีเต็ม และ จำปา เยื้องเจริญ มีความเห็นตรงกันว่าน่าจะเป็น “เมียะ” แม้ว่าอักษรที่ปรากฏในจารึกจะมีความชัดเจนว่าเป็น “บ” เนื่องจาก “เบี้ยะ” แปลว่า “ไอ้” ส่วน “เมี้ยะ” แปลว่า “พ่อ” ซึ่งเหมาะสมกับข้อความในจารึกมากกว่า
12. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : หลักการถ่ายถอดตัวอักษรในจารึกภาษามอญเป็นอักษรไทยของกองหอสมุดแห่งชาติ โดยเทิม มีเต็ม และของ ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508) มีความแตกต่างกันเล็กน้อย คือ อักษรที่มีเครื่องหมาย วิราม กำกับ (ซึ่งแสดงถึงการเป็นตัวสะกด) นั้น เทิม มีเต็ม ใช้เครื่องหมายการันต์ในการถ่ายถอด ส่วน ฉ่ำ ทองคำวรรณ ใช้การจุดใต้พยัญชนะ