จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด)

จารึก

จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด) ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 14 ก.ค. 2564 22:29:58

ชื่อจารึก

จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ลพ. 2, inscription de Văt Kŭkŭt, Vat Kukut (I), ศิลาจารึกมอญวัดกู่กุด หรือ วัดจามเทวี, จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ (วัดกู่กุด) (ลพ./2, พช. 21, 354), จารึกวัดกู่กุฏหรือจามเทวี หลักที่ 1,

อักษรที่มีในจารึก

มอญโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 17

ภาษา

บาลี, มอญโบราณ

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 38 บรรทัด แต่ละด้านมี 19 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และชาร์ลส์ อ๊อตโต บล็ากเด็น (พ.ศ. 2473)
2) เทิม มีเต็ม (พ.ศ. 2522), (พ.ศ. 2533)

ผู้แปล

1) โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และชาร์ลส์ อ๊อตโต บล็ากเด็น (พ.ศ. 2473)
2) จำปา เยื้องเจริญ (พ.ศ. 2522), (พ.ศ. 2533)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529), (พ.ศ. 2533)

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึก คิดว่าน่าจะเป็นอักษร “ม” มากกว่า “ล”
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ในสำเนาจารึกปรากฏสระ   ิ บนพยัญชนะต้น ป อย่างชัดเจน จึงควรเป็น “ปฺริป์”
3. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : น่าจะเป็นคำว่า “จฺวส์” เนื่องจากในสำเนาจารึกปรากฏอักษรตัวเชิง “ว” อย่างชัดเจน
4-5. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึกแล้ว น่าจะเป็น “ทินฺจิต์” และ “ทินฺจาม์” ตามลำดับ
6. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : น่าจะเป็น “กิร์” เนื่องจากในสำเนาจารึกปรากฏเครื่องหมายวิรามอย่างชัดเจนบนอักษร “ร”
7. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากรูปอักษรที่ปรากฏในสำเนาจารึก คิดว่าน่าจะเป็นอักษร “ญ”
8. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึกแล้ว น่าจะเป็น “พิสฺสุ”
9-10, 12. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : น่าจะเป็น “สุ ํ” และ “กุ ํ” ตามลำดับ เนื่องจากปรากฏนิคหิต ( ํ) บนอักษรอย่างชัดเจน
11. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ตกคำว่า ตฺรล ซึ่งในสำเนาจารึกปรากฏชัดเจน
13. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึกแล้ว น่าจะเป็น “กินฺต”
14. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึกแล้ว น่าจะเป็นอักษร “ฑ” และ “ย”