จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว)

จารึก

จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว) ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 14 ก.ค. 2564 21:55:11

ชื่อจารึก

จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ลพ. 1, Inscription de Văt Don, Vat Don, จารึกจากวัดดอน, ศิลาจารึกเลขทะเบียน ลพ./1, ารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ (วัดดอนแก้ว)” (ลพ./1, พช. 19, 353), ศิลาจารึกวัดดอน

อักษรที่มีในจารึก

มอญโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 17

ภาษา

บาลี, มอญโบราณ

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 35 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 18 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 17 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ยอร์ช เซเดส์ (อ่านภาษาบาลี) (พ.ศ. 2468)
2) โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และชาร์ลส์ อ๊อตโต บล็ากเด็น (อ่านภาษามอญ), (พ.ศ. 2473)
3) เทิม มีเต็ม (พ.ศ. 2522), (พ.ศ. 2533)

ผู้แปล

1) ยอร์ช เซเดส์ (แปลภาษาบาลี), (พ.ศ. 2468)
2) โรเบิร์ต ฮัลลิเดย์ และชาร์ลส อ๊อตโต บล็ากเด็น (แปลภาษามอญ), (พ.ศ. 2473)
3) บุญเลิศ เสนานนท์ (แปลภาษาบาลี), (พ.ศ. 2522), (พ.ศ. 2533)
4) จำปา เยื้องเจริญ (แปลภาษามอญ), (พ.ศ. 2522), (พ.ศ. 2533)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529), (พ.ศ. 2533)

เชิงอรรถอธิบาย

1.-3. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึกพบว่าน่าจะเป็น “เจตี”
4.-5. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ควรเป็น “สมฺภาร์” และ “กาล์” ตามลำดับ เนื่องจากปรากฏเครื่องหมาย วิราม บนอักษร “ร” และ “ล”
6. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : คงเป็น “สมฺวตฺสร” เพราะปรากฏอักษรตัวเชิง ว อย่างชัดเจน อีกทั้งในคำอธิบายศัพท์ก็เป็นเช่นนั้น(อาจผิดพลาดในการพิมพ์)
7. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : อาจเป็น “กาล์”
8.-10. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : ควรเป็น “เถร์” สามเณร์ และ “โมย์” ตามลำดับ เนื่องจากปรากฏเครื่องหมาย วิราม บนอักษร “ร” และ “ย”
11. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : เมื่อพิจารณาจากสำเนาจารึกพบว่าน่าจะเป็น “ตินฺโมอ์”
12. จำปา เยื้องเจริญ : “พระราชคุรุ” เทียบได้กับ สมเด็จมหาสังฆราชเจ้าในปัจจุบัน